The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย 1 สถาบันครอบครัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tharika phumsathan, 2020-08-16 20:45:05

หน่วย 1 สถาบันครอบครัว

หน่วย 1 สถาบันครอบครัว

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1

สถาบนั ครอบครัว

สาระการเรียนรู้

1. สถาบนั ครอบครวั
2. ปัญหาครอบครัวและแนวทางแก้ไข
3. การสร้างสัมพันธภาพท่ีดกี ับบคุ คลใน

ครอบครวั และสังคม
4. กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั ครอบครัว

สถาบนั ครอบครัว

สถาบันหน่วยท่เี ล็กทส่ี ดุ ของสังคม ประกอบดว้ ย
คน 2 คนขน้ึ ไปอาศัยอยรู่ ่วมครัวเรอื นเดยี วกนั
เป็นสถาบันพ้ืนฐานท่เี ป็นหลกั สาคญั ทส่ี ุดของสงั คม

หลกั ในการปรับตัวของสมาชกิ ในครอบครวั

เอาใจเขา ชว่ ยเหลอื ไวว้ างใจ มีเหตผุ ล
มาใส่ใจเรา เสยี สละ กนั และกัน

บทบาทและหนา้ ทข่ี องสมาชกิ ในครอบครวั

บทบาทหน้าท่ขี อง บทบาทหนา้ ท่ขี อง
หัวหนา้ ครอบครัว สามีภรรยา

1. เป็นผู้มคี วามประพฤติดี 1. มจี ติ ใจหนกั แนน่
เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี รจู้ ักปรับตัวเขาหากนั

2. เป็นผู้มีภาวะทางอารมณ์ 2. มจี ติ ใจเออ้ื เฟ้ อื เผือ่ แผ่
ม่ันคง มคี วามยุติธรรม โอบออ้ มอารี เสยี สละ

3. ดูแลเล้ยี งดสู มาชกิ ใน 3. มเี หตุผล เขา้ ใจกัน
ครอบครัวอย่างเตม็ กาลงั ไมข่ ัดแยง้ กนั

4. มคี วามรอบร้แู ละพัฒนา 4. ยกยอ่ ง ไม่ดหู มนิ่
ตนเองให้ทันสมยั เสมอ ไม่นอกใจ

บทบาทและหนา้ ท่ขี องสมาชิกในครอบครัว

บทบาทหน้าท่ขี องสมาชิกในครอบครวั

1. กตัญญู ชว่ ยเหลือบิดามารดาและญาติผใู้ หญ่
2. ช่วยเหลือบิดามารดาทางานบ้านด้วยความเต็มใจ
3. ขยันและรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ขี องตนเอง
4. ประหยัดอดออม ไมฟ่ ุม่ เฟอื ย
5. ไมป่ ระพฤตติ นใหเ้ ป็นท่ีเส่อื มเสยี ช่อื เสยี ง

ปัญหาครอบครัว

ความยากจน เดก็ ถกู ทอดทิ้ง

การระบาดของ สัมพันธภาพใน
สารเสพติด ครอบครัวนอ้ ยลง

การติดเชือ้ เอดส์ ผู้สูงอายถุ ูกละเลย

ความรนุ แรง ปฏิสัมพันธ์ของ
ในครอบครวั ครอบครวั ต่อ
ชุมชนลดลง

แนวทางแก้ไขปัญหาครอบครวั

1. ร่วมกนั วางแผนทางการเงนิ ใช้จา่ ยอย่างประหยัด
2. ให้ความรกั และดูแลเอาใจใสก่ นั อยู่เสมอ
3. หวั หนา้ ครอบครวั ต้องเป็นตวั อยา่ งท่ีดี

ซ่อื สัตย์ต่อภรรยา
4. รักใคร่ปรองดองกนั ไม่ทะเลาะวิวาท รบั ฟงั ผ้อู ่นื
5. พ่อแม่ตอ้ งรจู้ ักวางแผนครอบครัว
6. สมาชกิ ในครอบครัวรับผิดชอบหน้าทีข่ องตน
7. มีสมั พันธภาพท่ีดีกับเพ่ือนบ้านและชุมชน

การสร้างสมั พันธภาพท่ดี กี ับบคุ คลในครอบครวั และสังคม

1. ทากิจกรรมรว่ มกันในครอบครัว : หาเวลาพูดคุยปรกึ ษาหารอื
2. ช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน : ทางานในบ้านดว้ ยความเตม็ ใจ
3. มีน้าใจต่อกนั : แบ่งปันส่ิงของเครื่องใช้ ใส่ใจยามเจ็บป่วย
4. ร้จู กั การใหอ้ ภัย : รู้จักประนีประนอม ไมเ่ อาชนะกนั
5. พูดคุยกนั ดว้ ยถ้อยคาสภุ าพไพเราะ

กฎหมายท่เี กีย่ วข้องกับครอบครวั

1 กฎหมายการทะเบยี นราษฎร 3 การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

1. การแจ้งเกิด
2. การแจง้ ตาย
3. การย้ายทีอ่ ยู่
4. การทาบตั รประจาตวั ประชาชน

2 กฎหมายการทะเบยี นครอบครัว

1. การจดทะเบยี นสมรส
2. การจดทะเบยี นหยา่
3. การจดทะเบียนรบั รองบตุ ร

กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกับครอบครวั

1 กฎหมายการทะเบียนราษฎร

1. การแจง้ เกดิ

เด็กทุกคนตอ้ งมี “ใบสูตบิ ตั ร” เป็นเอกสารแสดงชาตกิ าเนิด วัน เดอื น
ปที ่เี กดิ ช่อื บิดามารดาและรายละเอยี ดสาคัญต่าง ๆ

หากไมแ่ จง้ เกดิ ตามกฎหมายตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ 1,000 บาท

หลักฐานที่ตอ้ งใช้ 1. สาเนาทะเบียนบา้ นฉบับเจา้ บา้ น
2. บัตรประจาตวั ประชาชนเจา้ ของบ้าน บิดามารดา หรือผู้แจ้ง

3. หนังสือรับรองการเกิดท่โี รงพยาบาลหรืออนามัยออกให้ (ถ้ามี)

กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกับครอบครัว

1 กฎหมายการทะเบียนราษฎร

2. การแจง้ ตาย

หากมผี ู้เสียชีวติ ต้องไปแจ้งตายต่อนายทะเบียนภายใน 24 ชั่วโมง
จะไดร้ บั “ใบมรณบตั ร” เพ่ือใช้ในการทาธรุ กรรม

หากไมแ่ จง้ ตายตามท่กี าหนดตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

หลกั ฐานที่ตอ้ งใช้ 1. สาเนาทะเบียนบ้านผ้ตู ายซ่ึงมชี อื่ อยู่
2. บัตรประจาตัวประชาชนของผู้แจ้ง
3. หนังสอื รบั รองการเสียชวี ิตซ่ึงทางโรงพยาบาลออกให้

กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับครอบครวั

1 กฎหมายการทะเบียนราษฎร

3. การย้ายท่อี ยู่

เม่อื มีผู้ยา้ ยเขา้ ให้เจ้าบ้านแจง้ การยา้ ยเข้าภายใน 15 วนั นับแต่วันท่ี
ยา้ ยเข้ามาอยใู่ นบ้าน

หากไม่ปฏิบตั ิตามต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท

หลกั ฐานทต่ี อ้ งใช้ 1. สาเนาทะเบยี นบา้ นฉบับเจา้ บา้ น
2. บัตรประจาตวั ประชาชนเจ้าของบา้ น
3. หนงั สอื มอบหมายจากเจ้าบา้ น (กรณีผแู้ จ้งย้ายไม่ใชเ่ จ้าบา้ น)
4. บตั รประจาตวั ประชาชนผไู้ ด้รบั มอบหมายจากเจา้ บา้ น
5. ใบแจง้ การยา้ ยท่ีอยู่ (ท.ร.6) ตอนที่ 1 และตอนที่ 2

กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั ครอบครวั

1 กฎหมายการทะเบียนราษฎร

4. การทาบัตรประจาตวั ประชาชน

เปน็ เอกสารสาคญั ในการแสดงตัวตนเม่อื ตอ้ งตดิ ตอ่ ราชการใด ๆ
โดยบตั รมีอายกุ ารใชง้ านได้ 6 ปี และผมู้ อี ายุ 64 ปีขึ้นไป บตั รจะระบุว่า
“ใช้ไดต้ ลอดชพี ”

หลักฐานทต่ี ้องใช้ 1. สาเนาทะเบียนบ้าน
2. สตู ิบัตร (ถ้าขอคร้ังแรก) หรอื บตั รประชาชนใบเดิม (ต่ออายุ)
3. ใบแจง้ ความบัตรหาย (กรณที าบัตรใหมแ่ ทนบตั รที่หาย)

กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องกับครอบครัว

2 กฎหมายการทะเบียนครอบครวั 1. การจดทะเบยี นสมรส

เปน็ หลกั ฐานแสดงว่าชายและหญงิ เป็นสามภี รรยากนั อยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย

คุณสมบตั ิ หลักฐาน

1. ต้องมอี ายไุ มต่ า่ กว่า 17 ปบี รบิ ูรณ์ 1. บตั รประจาตวั ประชาชนหรอื บตั รอน่ื
2. ไมเ่ ปน็ คนวกิ ลจริต หรือไรค้ วามสามารถ ท่รี าชการออกให้ทง้ั สองฝ่าย
3. ไมเ่ ป็นพ่ีนอ้ งร่วมบิดามารดา หรอื รว่ มแตบ่ ดิ ามารดา 2. สาเนาทะเบียนบ้านของท้งั สองฝ่าย
4. ไม่เปน็ ญาติสบื สายเลือดโดยตรง 3. บคุ คลผ้มู ีอานาจยินยอม
5. ลูกบญุ ธรรมของบดิ ามารดาเดียวกันจะสมรสกนั ไม่ได้ หรอื หนังสอื ยนิ ยอมจากบิดามารดา
6. ไมเ่ ปน็ คสู่ มรสของบุคคลอน่ื (กรณยี ังไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะ)
7. หญิงหมา้ ยต้องรอใหค้ รบ 310 วันหลงั สิ้นสดุ ชวี ิตสมรส

กฎหมายที่เก่ียวข้องกับครอบครวั

2 กฎหมายการทะเบยี นครอบครวั 2. การจดทะเบียนหยา่

การส้นิ สดุ การสมรสมี 3 วิธี คอื ฝา่ ยใดฝ่ายหน่งึ ถึงแกค่ วามตาย การจด
ทะเบียนหย่าหรือศาลเพิกถอนการสมรส

หลักฐาน 1. บัตรประจาตวั ประชาชนของทั้งสองฝา่ ย
2. หลักฐานการจดทะเบียนสมรส
3. สาเนาทะเบยี นบา้ นของท้ังสองฝา่ ย
4. หนงั สอื สญั ญาหย่า

กฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกับครอบครวั

2 กฎหมายการทะเบียนครอบครวั 3. การจดทะเบยี นรบั รองบตุ ร

เดก็ ท่ีเกดิ มาโดยบิดามารดาไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นสมรสกนั จะเปน็ บุตรท่ชี อบด้วย

กฎหมายของมารดาฝา่ ยเดยี ว ตอ่ มาหากมกี ารจดทะเบียนสมรสกนั จะตอ้ งมกี าร

จดทะเบยี นรบั รองบตุ รดว้ ย ซงึ่ การจดทะเบยี นรับรองบตุ รน้สี ามารถทาไดเ้ ฉพาะ

ฝ่ายชายเท่านัน้ 1. ใบสูติบตั รและสาเนาทะเบียนบ้านทเี่ ดก็ อยู่

2. บตั รประจาตวั ประชาชนของเด็ก

หลักฐาน 3. บตั รประจาตัวประชาชนและสาเนาทะเบียน
บา้ นของมารดาเดก็

4. บัตรประจาตัวประชาชนและสาเนาทะเบียน

บ้านของบดิ า (ผูย้ ่ืนคารอ้ ง)

กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับครอบครวั

3 การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 1. ประชาชนทุกคนควรได้รับการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานไมน่ อ้ ยกวา่ 12 ปี

2. การศึกษาภาคบังคับจานวน 9 ปี โดยเดก็
อายุย่างเข้าปีที่ 7 – 16 ปี

SCHOOL 3. บดิ ามารดาหรือผปู้ กครองไปแจง้ ความตาม
รายการสารวจเดก็ ท่ตี อ้ งเข้าเรยี นภาคบังคับ

ณ สานกั งานเขตหรือท่วี ่าการอาเภอ

4. ไม่ปฏบิ ตั ติ ามถูกปรบั 1,000 บาท
และปราศจากเหตอุ ันควร 10,000 บาท


Click to View FlipBook Version