The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลาสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับปรับปรุง 2562) ปีพุทธศักราช 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษาอายุ ๓-๕ ปี

หลักสูตรสถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลาสำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับปรับปรุง 2562) ปีพุทธศักราช 2563





คำนำ

การจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช ๒๕๔๒
ได้กำหนดใหส้ ถานศึกษาดำเนินการจดั ทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา โดยมคี วามสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
และ สภาพตามบรบิ ททางวัฒนธรรม วถิ ชี วี ิตของสงั คม ชุมชนและทอ้ งถิน่ ของผู้เรยี น ซงึ่ มีลักษณะแตกต่างกนั ไป
ทั้งนี้ เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และมี
มาตรฐานทัดเทยี มกนั

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเนิน
ศาลา ตำบลเนินศาลา อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจดังกล่าว
จงึ ได้จดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา พ.ศ.2563
(สำหรับเด็กอายุ ๓ ปี) โดยกำหนดถึงความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
เพื่อให้ผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย มี
ความรู้ ความเขา้ ใจท่ีชัดเจน และสามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์อยา่ งมีประสิทธิภาพ สมตาม
เจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศกึ ษาทกี่ ำหนดไว้ในฉบับน้ี

ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กองคก์ ารบริหารส่วนตำบลเนินศาลา
สงั กัด องค์การบรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา

สารบญั ข

เร่อื ง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
ประกาศให้ใช้หลกั สตู รสถานศึกษาศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก อบต.เนนิ ศาลา (พุทธศกั ราช 2563) ค
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย 1
วสิ ยั ทศั น์ 1
หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย 2
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สำหรับเดก็ อายุ 3 ปี 3
จดุ หมาย 3
มาตรฐานคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 3
สภาพท่พี งึ ประสงค์ 3
โครงสร้างหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย (สำหรับเดก็ อายุ 3 ปี) 6
สาระการเรยี นรู้ 7
1. ประสบการณ์สำคญั 7
2. สาระที่ควรเรยี นรู้ 10

- สาระท่ีควรเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่องราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก 16
- สาระที่คสรเรยี นรู้ที่ 2 เรือ่ งราวเก่ียวกบั บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ มเด็ก 16
- สาระที่ควรเรยี นรทู้ ่ี 3 เรือ่ งราวเกี่ยวกับธรรมชาตริ อบตวั 16
- สาระทค่ี วรเรยี นร้ทู ่ี 4 เร่ืองรราวเกี่ยวกบั ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัวเดก็ 17
- สาระทค่ี วรเรยี นรู้ท่ี 5 เรอื่ งราวเกี่ยวกบั วนั สำคัญ 41
3. กำหนดเวลาเรยี น 42
4. โครงสร้างหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ 42
5. การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 43
6. ตารางกจิ กรมประจำวนั 44
7. การสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ 46
8. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้
9. การส่งเสริมพฒั นาการและการเรยี นรู้
10. การประเมนิ พฒั นาการ
11. การบรหิ ารการจดั การหลกั สตู รสถานศึกษา
ภาคผนวก



ประกาศศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ องค์การบริหารสว่ นตำบลเนินศาลา
เรื่อง ใหใ้ ช้หลกั สูตรสถานศึกษาศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา (พทุ ธศักราช

2563)
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ (สำหรบั เดก็ อายุ ๓ ปี)

----------------------------------------------
การจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
ได้กำหนดให้สถานศึกษาดำเนินการจัดทำหลักสูตรระดับสถานศึกษา โดยมีความสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลาง และสภาพตามบริบททางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของสังคม ชุมชนและท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งมีลักษณะ
แตกต่างกันไป ทั้งน้ีเพ่ือให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษา ให้มี
ประสิทธิภาพ และมมี าตรฐานทดั เทยี มกัน
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเนินศาลา สังกดั องค์การบริหารส่วนตำบล
เนินศาลา ตำบลเนินศาลา อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจ
ดังกล่าว จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย (สำหรับเด็กอายุ ๓ ปี) โดยกำหนดถึงความ
สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้ผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู
ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย มีความรู้ ความเข้าใจท่ีชัดเจน และสามารถ
นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ สมตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศึกษา ที่
กำหนดไวใ้ นฉบับน้ี
ท้ังน้ี หลักสูตรสถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลาพุทธศักราช
2563 (สำหรับเด็กอายุ 3 ปี) ฉบับนี้ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
องค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาน้ี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การ
บรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัดองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา ตงั้ แต่บดั นเี้ ปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2563

(ลงชอื่ )............................................................ (ลงช่ือ)............................................................
(นายเสรี เนนิ พลบั ) (นางสาวสมนกึ อ้นขำ)

ประธานคณะกรรมการบรหิ าร หวั หน้าศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ อบต.เนนิ ศาลา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเนินศาลา



ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย

ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บน
พื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้
บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคนเพ่ือสร้าง
รากฐานคุณภาพชีวติ ให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์เกดิ คุณค่าต่อตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติ

วสิ ัยทัศนก์ ารศึกษาปฐมวยั
ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและ
เหมาะสมตามวยั มีทักษะชีวติ และการปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นคนดี มีวินัย และ
สำนึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
กับการพัฒนาเดก็

วิสัยทัศนก์ ารศึกษาปฐมวยั
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความพร้อม
ทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว มี
ระเบียบวินัย ซ่ือสัตย์ รักธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และความเป็นไทย มีความสามารถในการสื่อสาร การคิดและ
การแก้ปญั หาได้เหมาะสมกับวัย ให้เดก็ มีสุขภาพร่างกายทแี่ ขง็ แรง และอยู่รว่ มกบั ผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

พนั ธกิจการจดั การศึกษาปฐมวัย
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเนนิ ศาลา

จัดการศึกษาระดับปฐมวยั ที่มีประสิทธิภาพทั่วถึงครอบคลุม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุก
ฝ่ายปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรมีคุณลักษณะพึงประสงค์ที่
กำหนด และรกั ความเป็นไทย พัฒนาครใู หม้ คี วามรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และเปน็ ครูมอื อาชพี



เป้าหมายการจัดการศกึ ษาปฐมวยั
ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ องค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา

1. ครผู ดู้ ูแลเด็กมแี ผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ี่ดี มคี ุณภาพดี
2. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กมีการจัดบรรยากาศการเรียนรอู้ ยา่ งเหมาะสมตามสภาพของท้องถิน่
3. เดก็ ระดบั ปฐมวัยรอ้ ยละ 85 มีสุขภาพดี เจรญิ เติบโตตามวยั
4. ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กมสี ่ือและแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมและหลากหลาย เดก็ มโี อกาสได้เรยี นรแู้ ละ

สัมผัสจรงิ
5. เด็กระดับปฐมวัยทกุ คน ได้รบั การประเมินพฒั นาการและนำผลการประเมนิ นน้ั ไปปรับปรงุ และ
พัฒนาแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้
6. ครผู ูด้ แู ลเดก็ เขา้ รับการอบรมไมน่ ้อยกวา่ ปลี ะ 2 ครงั้
7. หนว่ ยงานของรัฐ หนว่ ยงานของเอกชน บุคลากร ผูป้ กครองและชุมชน มสี ว่ นร่วมในการจดั
การศกึ ษาและพฒั นาหลักสตู รเพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยอยา่ งทั่วถงึ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ของหลักสูตร และมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ทก่ี ำหนด มีศักยภาพ มุง่ ความเป็นเลิศและรักความเป็นไทย

หลักการจดั การศึกษาปฐมวัย
ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560

เด็กทุกคนมีสทิ ธิที่จะไดร้ ับการอบรมเลี้ยงดูและสง่ เสรมิ พฒั นาการ ตามอนสุ ัญญาว่าดว้ ยสิทธิ
เด็กตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่
เด็กกับผูส้ อน เด็กกับผู้เล้ียงดู หรือผู้เก่ียวข้องกบั การอบรมเลีย้ งดกู ารพัฒนา และให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย
เพ่ือให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นตอนพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็ม
ตามศกั ยภาพ โดยกำหนดหลกั การ ดังน้ี

๑. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้และพัฒนาการท่คี รอบคลมุ เด็กปฐมวยั ทกุ คน
๒. ยดึ หลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศกึ ษาท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งระหว่าง

บุคคล และวถิ ีชีวติ ของเด็กตามบริบทของชุมชน สงั คม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมที่

หลากหลาย ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัย และการ
พักผ่อนเพยี งพอ
๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี ินยั และมีความสุข
๕. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความรว่ มมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อ
แม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝา่ ยท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการพฒั นาเด็กปฐมวัย



จุดหมายการศึกษาปฐมวยั

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุ ๓ ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของ

การอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา

ตามวัยและความสามารถของแต่ละบุคคล

จดุ หมาย

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยสำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี จัดขึ้นสำหรบั พอ่ แม่หรอื ผู้เลี้ยงดูเด็ก
ใชเ้ ป็นแนวทางในการอบมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก ตลอดจนจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสมให้กับเด็ก
อายุ ๓ ปี โดยมุ่งส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญาที่
เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจ และความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ดังน้ี

๑. รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสขุ ภาพดี
๒. กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกลา้ มเนือ้ เลก็ แข็งแรงใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และประสานสมั พันธก์ ัน
๓. มสี ขุ ภาพจิตดี และมีความสุข
๔. มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจที่ดีงาม
๕. ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคล่ือนไหว และรกั การออกกำลังกาย
๖. ชว่ ยเหลอื ตนเองได้เหมาะสมกบั วยั
๗. รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
๘. อยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนได้อยา่ งมคี วามสขุ และปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคมใน

ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
๙. ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกับวัย
๑๐. มีความสามารถในการคิดและการแกป้ ญั หาได้เหมาะสมกับวยั
๑๑. มจี ินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
๑๒. มเี จตคติท่ีดตี ่อการเรียนรู้ และมีทักษะในการแสวงหาความรู้



คุณลักษณะตามวยั

คณุ ลักษณะตามวยั เป็นความสามารถตามวยั หรือพัฒนาการตามธรรมชาติเมื่อเด็กมี
อายุถงึ วัยน้ัน ๆ ผู้สอนจำเป็นต้องทำความเข้าใจคณุ ลักษณะตามวัยของเดก็ อายุ ๓ -๔ ปี เพ่อื นำไปพิจารณา
จัดประสบการณ์ให้เด็กแต่ละวัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ขณะเดียวกันจะต้องสังเกตเด็กแต่ละคนซ่ึงมีความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคลเพอื่ นำข้อมูลไปชว่ ยในการพัฒนาเด็กให้เต็มตามความสามารถและศกั ยภาพ พฒั นาการ
เด็กในแต่ละช่วงอายุอาจเร็วหรือช้ากว่าเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้และการพัฒนาจะเป็นไปอย่างต่อเน่ือง ศูนย์พัฒนา
เด็กเลก็ เทศบาลตำบลบางมะฝ่อ สังกัด เทศบาลตำบลบางมะฝ่อ ไดก้ ำหนดคณุ ลักษณะตามวยั ที่สำคัญของเด็ก
อายุ ๓ -๔ ปี มีดงั นี้

เดก็ อายุ ๓ ปี

พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย

• กระโดดขน้ึ ลงอย่กู ับที่ได้

• รบั ลูกบอลด้วยมือและลำตวั

• เดนิ ขึน้ บนั ไดสลบั เท้าได้

• เขียนรปู วงกลมตามแบบได้

• ใช้กรรไกรมอื เดยี วได้
พฒั นาการด้านอารมณจ์ ิตใจ

• แสดงอารมณต์ ามความรู้สึก

• ชอบทีจ่ ะทำให้ผใู้ หญ่พอใจและได้คำชม

• กลัวการพลัดพรากจากผูเ้ ลย้ี งดูใกล้ชดิ น้อยลง
พัฒนาการด้านสงั คม

• รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง

• ชอบเลน่ แบบคู่ขนาน (เล่นของเลน่ ชนดิ เดียวกันแต่ตา่ งคนตา่ งเลน่ )

• เลน่ สมมตไิ ด้

• รู้จักรอคอย
พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา

• สำรวจส่งิ ตา่ ง ๆ ท่เี หมือนกันและตา่ งกันได้

• บอกช่ือของตนเองได้

• ขอความช่วยเหลอื เมอ่ื มีปัญหา

• สนทนาโต้ตอบ / เลา่ เรอ่ื งด้วยประโยคสนั้ ๆ ได้

• รอ้ งเพลง ท่องคำกลอน คำคลอ้ งจองง่าย ๆ และแสดงท่าทางเลยี นแบบได้

• ร้จู กั ใชค้ ำถาม “อะไร”

• สร้างผลงานตามความคิดของตนเองอย่างง่าย ๆ

• อยากรู้อยากเห็นทกุ อยา่ งรอบตวั



เดก็ อายุ ๔ ปี

พฒั นาการด้านรา่ งกาย
• กระโดดขาเดยี วอยูก่ ับที่ได้
• รบั ลูกบอลได้ดว้ ยมือทง้ั สอง
• เดินขึ้น – ลงบนั ไดสลับเท้าได้
• เขยี นรูปส่เี หลย่ี มตามแบบได้
• ตัดกระดาษเป็นเสน้ ตรงได้
• กระฉับกระเฉงไมช่ อบอยเู่ ฉย

พัฒนาการด้านอารมณจ์ ติ ใจ
• แสดงออกทางอารมณไ์ ดเ้ หมาะสมกับบางสถานการณ์
• เรมิ่ ร้จู ักชน่ื ชมความสามารถ และผลงานของตนเองและผูอ้ ่นื
• ชอบทักทายผใู้ หญ่
• ตอ้ งการใหม้ ีคนฟัง คนสนใจ

พัฒนาการดา้ นสงั คม
• แต่งตวั ไดด้ ว้ ยตนเอง ไปห้องสว้ มไดเ้ อง
• เล่นร่วมกบั คนอ่ืนได้
• รอคอยตามลำดับก่อน – หลงั
• แบ่งของให้คนอ่นื
• เก็บของเล่นเขา้ ทไ่ี ด้

พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา
• จำแนกส่งิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยประสาทสัมผสั ทั้ง ๕ ได้
• บอกชื่อและนามสกลุ ของตนเองได้
• พยายามแกป้ ัญหาด้วยตนเองหลงั จากไดร้ ับคำชี้แนะ
• สนทนาโต้ตอบ / เลา่ เรื่องเป็นประโยคอย่างตอ่ เน่อื ง
• สรา้ งผลงานตามความคดิ ของตนเองโดยมีรายละเอียดเพิ่มข้นึ
• รูจ้ กั ใชค้ ำถาม “ทำไม”



โครงสร้างของหลักสูตร

แนวทางการอบรมเล้ียงดูและพัฒนาเด็กอายุ ๓ – ๔ ปี สำหรับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็กให้
สามารถพัฒนาเด็กได้ตามจุดหมายที่กำหนด จำเป็นต้องคำนึงถึงโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ดังนี้

โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (สำหรบั เด็กอายุ ๓ - ๔ ปี)

ช่วงอายุ อาย๓ุ – ๔ ปี

ประสบการณส์ ำคัญ สาระการเรยี นรู้

- ดา้ นร่างกาย - เรื่องราวเกย่ี วกับตัวเดก็

สาระการเรียนรู้ - ด้านอารมณ์และจิตใจ - เร่ืองราวเกี่ยวกับบุคคลและ
- ดา้ นสงั คม สถานทแี่ วดล้อมเดก็

- ดา้ นสติปัญญา - ธรรมชาติรอบตัว

- สงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

ระยะเวลาเรยี น ขนึ้ อย่กู บั อายุเดก็ ทีด่ แู ล และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของเดก็

๑. การจัดช้ันหรอื กล่มุ เดก็ ยดึ อายุเดก็ เป็นหลกั และคำนงึ ถึงอตั ราส่วนระหวา่ ง
ผ้เู ล้ียงดเู ด็ก ๑ คน ตอ่ จำนวนเดก็ ท่ดี แู ล คือ เดก็ อายุ ๓ – ๔ ปี อัตราสว่ น ๑ : ๑๕

๒. ระยะเวลาเรียน ขึน้ อยู่กบั ความพร้อมและความสนใจของเดก็ ในการเรยี นรู้
สงิ่ ตา่ ง ๆ ตามความสามารถของวัย และความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

๓. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรขู้ องหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั สำหรับเด็กอายุ ๓ – ๔
ปี ประกอบด้วย ๒ ส่วน คอื ประสบการณ์สำคัญและสาระท่ีควรเรียนรู้ ซง่ึ ทั้งสองส่วนใช้เป็นส่ือในการจัด
ประสบการณ์ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านท้ังด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเด็กควรผสมผสานการจัด
ประสบการณส์ ำหรับเดก็ แบบบูรณาการผ่านการเล่นทส่ี อดคล้องกบั ปรัชญาการจดั การศึกษาปฐมวัย



สาระการเรยี นรู้กำหนดเป็น ๒ สว่ น ดังนี้

๑. ประสบการณส์ ำคญั
ประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาเด็กทางด้านร่างกาย อารมณ์

จิตใจ สังคม และสติปัญญาชว่ ยให้เดก็ เกดิ ทักษะท่สี ำคัญสำหรับการสร้างองค์ความรู้โดยให้เด็กได้มปี ฏิสัมพันธ์
กับวัตถุ ส่ิงของ บุคคลต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริย ธรรม ไปพร้อมกันด้วย
ประสบการณ์สำคัญมดี ังน้ี

๑.๑ ประสบการณ์สำคญั ทส่ี ง่ เสริมพัฒนาการด้านรา่ งกาย ไดแ้ ก่
๑.๑.๑ การเคล่ือนไหวอยู่กบั ท่แี ละการเคล่อื นไหวเคล่ือนที่
* การเคลอื่ นไหวพรอ้ มวสั ดอุ ุปกรณ์
* การเล่นเครอื่ งเลน่ สนาม
๑.๑.๒ การประสานสมั พันธ์ของกล้ามเน้อื เล็ก
* การเล่นเครื่องเล่นสมั ผสั
* การเขียนภาพและการเล่นสี
* การปนั้ และประดิษฐส์ ่ิงต่าง ๆ ด้วยดนิ เหนยี ว ดินนำ้ มัน แท่งไม้
เศษวสั ดุ ฯลฯ
* การต่อของ บรรจุ เท และแยกช้นิ ส่วน
๑.๑.๓ การรกั ษาสุขภาพ
* การปฏบิ ัติตนตามสขุ อนามัย
๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภยั
* การรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผู้อน่ื ในกจิ วัตรประจำวนั

๑.๒ ประสบการณ์สำคัญทส่ี ง่ เสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์จติ ใจ ได้แก่
๑.๒.๑ ดนตรี
* การแสดงปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเสียงดนตรี
* การเลน่ เครอ่ื งดนตรีง่าย ๆ เช่น เครื่องดนตรปี ระเภทเคาะ
ประเภทตี ฯลฯ
* การร้องเพลง
๑.๒.๒ สุนทรียภาพ
* การชื่นชมและสรา้ งสรรค์สง่ิ สวยงาม
* การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเร่ืองตลก ขำขัน และเรื่องราว/

เหตกุ ารณ์ท่ีสนกุ สนานตา่ ง ๆ
๑.๒.๓ การเลน่
* การเล่นอิสระ
* การเลน่ รายบคุ คล การเลน่ เปน็ กลมุ่
* การเล่นในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น
๑.๒.๔ คณุ ธรรม จริยธรรม
* การปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนาทีน่ ับถอื

และผู้อื่น ๘

๑.๓ ประสบการณส์ ำคญั ท่ีสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นสังคม ได้แก่
การเรยี นรู้ทางสังคม
* การปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจำวันของตนเอง
* การเลน่ และการทำงานร่วมกับผู้อ่นื
* การวางแผน ตดั สินใจเลอื ก และลงมอื ปฏิบัติ
* การมีโอกาสไดร้ ับรู้ความรสู้ กึ ความสนใจ และความต้องการของตนเอง

* การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และเคารพความคิดเห็นของผูอ้ น่ื
* การแกป้ ญั หาในการเลน่
* การปฏบิ ตั ิตามวฒั นธรรมท้องถน่ิ ที่อาศัยอยูแ่ ละความเป็นไทย
๑.๔ ประสบการณส์ ำคัญทีส่ ่งเสริมพัฒนาการดา้ นสติปัญญา ไดแ้ ก่
๑.๔.๑ การคิด
* การร้จู กั สง่ิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยการมอง ฟงั สมั ผสั ชิมรส และดมกลิน่
* การเลยี นแบบการกระทำและเสียงตา่ ง ๆ
* การเช่อื มโยงภาพ ภาพถ่าย และรปู แบบตา่ ง ๆ กับสง่ิ ของหรือ

สถานที่จรงิ
* การรบั รู้ และแสดงความรู้สกึ ผ่านสือ่ วัสดุตา่ ง ๆ
๑.๔.๒ การใชภ้ าษา
* การแสดงความรสู้ ึกดว้ ยคำพูด
* การพูดกบั ผอู้ ่ืนเก่ียวกับประสบการณ์ของตนเอง หรอื เลา่

เรื่องราวเก่ียวกบั ตนเอง
* การอธบิ ายเกยี่ วกับสิง่ ของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพันธ์ของ

สง่ิ ต่าง ๆ
* การฟงั เร่ืองราวนทิ าน คำคล้องจอง คำกลอน
* การเขยี นในหลายรูปแบบผา่ นประสบการณ์ท่สี ่อื ความหมายต่อ

เดก็ เขียนภาพ เขยี นขีดเขยี่ เขียนคล้ายอักษร
เขียนเหมอื นสญั ลกั ษณ์ เขียนชือ่ ตนเอง
* การอา่ นในหลายแบบผา่ นประสบการณ์ท่ีส่อื ความหมายตอ่ เด็ก
อา่ นภาพหรอื สญั ลักษณ์จากหนงั สอื นิทาน/เร่ืองราวทส่ี นใจ
๑.๔.๓ การสงั เกต การจำแนก และการเปรียบเทยี บ
* การสำรวจและอธิบายความเหมอื น ความต่างของส่ิงต่าง ๆ
* การจบั คู่ การจำแนก และการจัดกลมุ่
* การเปรยี บเทียบ เช่น ยาว/สั้น ขรุขระ/เรียบ ฯลฯ
* การเรียงลำดับสิง่ ต่าง ๆ
* การคาดคะเนสิง่ ต่าง ๆ
* การต้ังสมมติฐาน
* การทดลองสงิ่ ตา่ ง ๆ
* การสบื ค้นขอ้ มลู
* การใชห้ รอื อธบิ ายส่งิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย



๑.๔.๔ จำนวน
* การเปรียบเทียบจำนวนมากกวา่ น้อยกว่า เท่ากนั
* การนบั สง่ิ ต่าง ๆ
* การจบั คูห่ นง่ึ ตอ่ หนง่ึ
* การเพ่ิมขึน้ หรอื ลดลงของจำนวนหรอื ปรมิ าณ

๑.๔.๕ มติ ิสัมพันธ์ (พืน้ ท/ี่ ระยะ)
* การตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั การแยกออก การบรรจแุ ละเทออก
* การสงั เกตส่งิ ตา่ ง ๆ และสถานท่ีจากมุมมองทีต่ ่างๆ กนั
* การอธิบายในเร่ืองทศิ ทางการเคล่อื นทขี่ องคนและส่ิงต่าง ๆ
* การสื่อความหมายของมติ ิสมั พนั ธด์ ้วยภาพวาด ภาพถา่ ยและ
รปู ภาพ

๑.๔.๖ เวลา
* การเรม่ิ ต้นและการหยดุ การกระทำโดยสัญญาณ
* การเปรียบเทียบเวลา เช่น ตอนเช้า ตอนเย็น เมอ่ื วานน้ี ฯลฯ
* การเรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ
* การสังเกตความเปลีย่ นแปลงของฤดู

๑๐

๒. สาระท่ีควรเรยี นรู้
สาระในส่วนน้ีกำหนดเฉพาะหัวข้อไม่มีรายละเอียดทั้งน้ีเพ่ือประสงค์จะให้ผู้สอนสามารถ

กำหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ ความสนใจของเด็กอาจยืดหยุ่นเน้ือหาได้โดย
คำนึงถึงประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมในชีวิตจริงของเด็ก ผู้สอนสามารถนำสาระที่ควรเรียนรู้มาบูรณาการจัด
ประสบการณ์ต่าง ๆ ใหง้ ่ายต่อการเรียนรู้ ทงั้ นม้ี ิได้ประสงค์ให้เด็กทอ่ งจำเนือ้ หา แตต่ ้องการใหเ้ ด็กเกิดแนวคิด
หลังจากนำสาระการเรียนรู้นั้น ๆ มาจดั ประสบการณ์ให้เด็กเพ่ือให้บรรลุจุดหมายทีก่ ำหนดไว้ นอกจากน้ีสาระ
ที่ควรเรียนรู้ยังใช้เป็นแนวทางช่วยผู้สอนกำหนดรายละเอียดและความยากง่ายของเน้ือหาให้เหมาะสมกับ
พัฒนาการของเด็ก สาระท่ีควรเรียนรู้ประกอบด้วยเร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ
สถานทแ่ี วดลอ้ มเดก็ ธรรมชาติรอบตัว และสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็ ดังนี้

๒.๑ เร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รจู้ ักอวัยวะต่าง ๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาดปลอดภัย รับประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ เรียนรู้ท่จี ะเล่นและทำสิ่งต่าง ๆ
ดว้ ยตนเอง หรือกบั ผู้อ่นื ตลอดจนเรยี นรทู้ ี่จะแสดงความคดิ เห็น ความรูส้ ึกและแสดงมารยาทท่ดี ี

๒.๒ เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรได้มีโอกาสรู้จักและรับรู้
เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชนรวมท้ังบุคคลต่าง ๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือโอกาสใกล้ชิดและ
มีปฏิสมั พนั ธ์ในชวี ติ ประจำวัน

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรได้เรียนรู้ส่ิงมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต รวมทั้งความเปลี่ยนแปลง
ของโลกท่แี วดล้อมตามธรรมชาติ เชน่ ฤดกู าล กลางวนั กลางคืน

๒.๔ ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด รปู ทรง รปู รา่ ง นำ้ หนัก ผิวสัมผสั ของ
สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว สง่ิ ของเครื่องใช้ ยานพาหนะและการสอ่ื สารตา่ ง ๆ ทใี่ ช้อยใู่ นชวี ิตประจำวัน

๑๑

ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รสำหรับปฐมวัย (ชัน้ เดก็ เล็กปีที่ ๑ อายุ ๓ ป)ี

พัฒนาการ / ตวั บ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน อายุ ๓ ปี สาระทคี่ วรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ

ด้านร่างกาย ตวั บง่ ชี้ที่ ๑ ๑. น้ำหนัก/ส่วนสูง ๑. เรือ่ งราวเกย่ี วกบั ตัว ด้านรา่ งกาย

มาตรฐานที่ ๑ ๑. มีนำ้ หนกั ส่วนสงู ได้ตามเกณฑ์อายุ เดก็ การทรงตวั ประสาน

ร่างกาย ตามเกณฑ์อายุ ๒. รกั ษาความ เดก็ ควรรจู้ กั ชื่อ นามสกลุ สัมพันธข์ องกลา้ มเน้ือ

เจริญเติบโตตาม ๒. มสี ุขนิสัยทด่ี ี สะอาดของร่างกาย รปู รา่ งหนา้ ตา รจู้ ักอวยั วะ ใหญ่

วยั และมีสุขนสิ ยั ท่ี และรบั ประทาน ตา่ ง ๆ วิธีระวังรกั ษา - การเคลือ่ นไหวอยู่กับ

ดี อาหารท่มี ปี ระโยชน์ รา่ งกายให้สะอาด ที่

สนใจและสนกุ กับ ปลอดภยั การ - การเคลื่อนไหว

การออกกำลงั กาย รบั ประทานอาหารที่ถกู เคลอ่ื นที่

๑. ปีนเครอ่ื งเลน่ สุขลกั ษณะ เรยี นรู้ที่จะ -การเคลื่อนไหวพร้อม

มาตรฐานที่ ๒ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑ สนามได้ เล่นและทำสิง่ ต่าง ๆ ดว้ ย วัสดอุ ุปกรณ์

กลา้ มเน้ือใหญ่ ๑. มีความรูแ้ ละ ๒. เดินบนกระดาน ตนเองคนเดยี วหรือกับ - การเลน่ เคร่อื งเลน่

และกล้ามเน้ือเล็ก ทักษะในการใช้ ทรงตัวได้โดยใช้แขน ผ้อู ื่น ตลอดจนเรยี นร้ทู ี่จะ สนาม

แขง็ แรงใชไ้ ด้ กลา้ มเน้ือใหญ่ ชว่ ยทรงตัว แสดงความคดิ เหน็ การประสานสมั พันธ์

อยา่ งคล่องแคลว่ ๑.๑ การยนื ๓. เดินขึ้นบันไดโดย ความรู้สึก และแสดง ของกลา้ มเนื้อเลก็

และประสาน - ปีนข้นึ และไต่ลง ใช้มอื จบั ราวบนั ได มารยาททด่ี ี - การเล่นเครอ่ื งเล่น

สมั พันธ์กัน ๑.๒ การเดนิ ๔. เคลื่อนไหว ๑. ช่ือครปู ระจำศนู ย์ สมั ผสั

- เดนิ บนกระดาน รา่ งกายตามเพลงได้ ครพู ่เี ลย้ี ง ชน้ั เรียน - การเขยี นภาพและ

ทรงตัว ๕. วิ่งและหยดุ ได้ ๒. ชือ่ เล่น ช่อื จริง การเล่นสี

- เดินสลับเทา้ ขึน้ ๖. กระโดดพร้อมกนั นามสกลุ และสญั ลักษณ์ - การปั้นและการ

บันได สองขาได้ ๓. การปฏิบตั ิตามกฎของ ประดิษฐ์สิง่ ต่าง ๆ ด้วย

- เคล่ือนไหวส่วน ๗. กระโดดขาเดยี ว หอ้ งเรยี นและศนู ยฯ์ ดินเหนยี ว ดนิ น้ำมนั

ตา่ ง ๆ ของร่างกาย ได้ ๔. การดแู ลรักษาความ เศษวัสดุ ฯลฯ

๑.๓ การว่ิง ๘. โยนลูกบอลได้ สะอาดร่างกายอยา่ งง่ายๆ - การต่อของ บรรจุ เท

- วง่ิ และหยดุ ได้ ๙. รับลกู บอลดว้ ยมือ ๕. การเลอื กรบั ประทาน และแยกช้ินส่วน

๑.๔ การกระโดด ได้ อาหารท่ีมปี ระโยชนต์ ่อ การรักษาสุขภาพ

- กระโดดพร้อมกัน รา่ งกาย - การปฏบิ ัติตนตาม

สองขา ๖. การรูจ้ ักออกกำลังกาย สขุ อนามัย

- กระโดดขาเดยี ว ๗. รจู้ ักป้องกนั และ การรกั ษาความ

๑.๕ การโยนลกู ระมดั ระวังอุบัติเหตุ ปลอดภยั

บอล ๘. การรบั รคู้ วามรู้สกึ - การรักษาความ

๑.๖ การรบั ลกู บอล ๙. การช่วยเหลือตนเอง ปลอดภยั ของตนเอง

อยา่ งงา่ ย ๆ และผู้อ่ืนในกิจวัตร

๑๐. การมีมารยาทงาม ประจำวัน

๑๒

พัฒนาการ / ตวั บง่ ชี้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน อายุ ๓ ปี สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคัญ

ตวั บ่งชที้ ่ี ๒ ๑. ปั้นและคลึงเปน็ ๑. เรอื่ งราวเกีย่ วกับตัว ดา้ นร่างกาย

๒. มคี วามรูแ้ ละ เส้นยาว ก้อนกลม เดก็ การทรงตวั ประสาน

ทักษะในการใช้ หรือแบน เด็กควรรจู้ ักชอื่ นามสกลุ สมั พันธ์ของกลา้ มเน้ือ

กลา้ มเนอื้ เล็ก ๒. ร้อยวสั ดุทม่ี ีรู รูปร่างหนา้ ตา รจู้ ักอวยั วะ ใหญ่

๒.๑ ป้นั โดยใช้ ขนาดใหญ่ ๑ นว้ิ ต่อ ต่าง ๆ วธิ ีระวงั รักษา - การเคลือ่ นไหวอยู่กับ

อุปกรณ์หรือไม่ใช้ กนั ประมาณ ๓-๔ ลูก รา่ งกายให้สะอาด ที่

อปุ กรณ์ ๓. ตดั กระดาษดว้ ย ปลอดภยั การ - การเคลื่อนไหว

ประกอบการปนั้ กรรไกรได้ รับประทานอาหารที่ถูก เคลอ่ื นที่

๒.๒ ร้อยวสั ดุ ๔. ตอ่ บล็อกซ้อนกัน สขุ ลกั ษณะ เรียนรูท้ ่ีจะ -การเคลื่อนไหวพร้อม

- การร้อยลูกปัด ได้ ๕ ชิน้ เป็นแนวตัง้ เล่นและทำสง่ิ ตา่ ง ๆ ดว้ ย วัสดุอปุ กรณ์

- การร้อยดอกไม้ ๕. วาดภาพ ขีดเขยี น ตนเองคนเดยี วหรือกบั - การเลน่ เคร่อื งเลน่

๒.๓ ตัดกระดาษฉีก ตามจนิ ตนาการได้ ผอู้ ื่น ตลอดจนเรยี นรู้ท่ีจะ สนาม

ปะ แสดงความคิดเห็น การประสานสมั พันธ์

๒.๔ การตอ่ บล็อก ความรู้สึก และแสดง ของกล้ามเนื้อเลก็

๒.๕ วาดภาพ มารยาททดี่ ี - การเล่นเครอ่ื งเล่น

ระบายสี ขดี เขียน ๑. ช่อื ครูประจำศนู ย์ สมั ผสั

อสิ ระตาม ครพู ่เี ลี้ยง ชน้ั เรียน - การเขยี นภาพและ

จนิ ตนาการได้ ๒. ช่ือเล่น ชื่อจรงิ การเล่นสี

นามสกุลและสญั ลักษณ์ - การปน้ั และการ

๓. การปฏิบตั ติ ามกฎของ ประดษิ ฐ์สิง่ ต่าง ๆ ด้วย

หอ้ งเรียนและศูนย์ฯ ดนิ เหนียว ดนิ น้ำมนั

๔. การดแู ลรักษาความ เศษวัสดุ ฯลฯ

สะอาดรา่ งกายอยา่ งงา่ ยๆ - การตอ่ ของ บรรจุ เท

๕. การเลอื กรับประทาน และแยกช้ินส่วน

อาหารท่ีมีประโยชนต์ ่อ การรกั ษาสุขภาพ

รา่ งกาย - การปฏบิ ัติตนตาม

๖. การรูจ้ กั ออกกำลงั กาย สุขอนามัย

๗. รู้จักป้องกนั และ การรกั ษาความ

ระมดั ระวังอบุ ัติเหตุ ปลอดภยั

๘. การรบั ร้คู วามรู้สึก - การรกั ษาความ

๙. การช่วยเหลือตนเอง ปลอดภยั ของตนเอง

อย่างงา่ ย ๆ และผอู้ ่ืนในกิจวัตร

๑๐. การมีมารยาทงาม ประจำวัน

๑๓

พฒั นาการ / ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้
มาตรฐาน
อายุ ๓ ปี สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคญั

ดา้ นอารมณ์ ตัวบ่งช้ที ่ี ๑ ๑. ร่าเรงิ สดชนื่ ๒. เรือ่ งราวเก่ยี วกบั ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ

จิตใจ ๑. ร่าเรงิ สดชน่ื แจ่มใส อารมณด์ เี ม่ือ บุคคลและสถานท่ี ดนตรี

มาตรฐานที่ ๓ แจม่ ใส อารมณ์ดี ไดร้ บั คำชมและ แวดล้อมเด็ก - การแสดงปฏิกริ ยิ า

มสี ุขภาพจติ ดแี ละ ๒. พงึ พอใจใน รางวลั เดก็ ควรได้มโี อกาสรจู้ ัก โตต้ อบเสยี งดนตรี

มคี วามสขุ ตนเองและผอู้ นื่ ๒. แสดงทา่ ทางพอใจ และรับรูเ้ ร่ืองราวเกย่ี วกบั - การเล่นเคร่อื งดนตรี

เมอื่ สามารถทำอะไร ครอบครวั สถานศกึ ษา งา่ ย ๆ เชน่ เครื่อง

ไดด้ ้วยตนเอง ชมุ ชน รวมทัง้ บุคคลตา่ งๆ ดนตรปี ระเภทเคาะ

ที่เดก็ ต้องเก่ียวข้องหรือมี ประเภทตี ฯลฯ

โอกาสใกล้ชดิ และมี สนุ ทรียภาพ

ปฏิสัมพนั ธใ์ น - การชืน่ ชมและ

ชีวิตประจำวัน สร้างสรรคส์ งิ่ สวยงาม

๑. ลักษณะของบ้าน - การแสดงออกอยา่ ง

๒. ความสำคญั สนกุ สนานกับเร่อื งตลก

ความหมายของครอบครัว ขบขนั และเรอื่ งราว

๓. บ้านใกลเ้ รือนเคยี ง เหตุการณ์ทสี่ นุกสนาน

๔. ช่อื จงั หวัด ตา่ ง ๆ

๕. ช่อื ศูนยแ์ ละท่ีต้งั การเลน่

๖. ชุมชนใกล้เคียง - การเล่นอิสระ

ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑ ๑. ช่วยเหลือและ ๗. อาชีพในชุมชน - การเลน่ รายบุคคล
๑. ชว่ ยเหลอื และ
มาตรฐานที่ ๔ แบ่งปนั แบ่งปนั ไดบ้ า้ งเม่ือมผี ู้ ๓. เรือ่ งราวเกีย่ วกับ การเล่นเปน็ กลมุ่
มคี ณุ ธรรม ๒. แสดงความรัก
จริยธรรม และ มี ความเมตตา ขอร้อง ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก - การเลน่ ในหอ้ งเรยี น
จติ ใจทด่ี งี าม ๓. มีวนิ ยั ซื่อสัตย์
ประหยดั ๒. แสดงความรกั เดก็ ควรจะไดเ้ รยี นรู้ และนอกห้องเรียน
๔. อดทน
๕. รับผิดชอบ เพ่ือนและมเี มตตาต่อ สง่ิ มีชีวติ สง่ิ ไม่มชี วี ิต คุณธรรมจริยธรรม

สตั ว์ ต้นไมต้ าม รวมท้ังความเปลย่ี นแปลง - การปฏบิ ตั ิตนตาม

คำแนะนำของครู ของโลกท่ีแวดล้อมเด็กตาม หลกั ศาสนาท่นี ับถือ

๓. เกบ็ ของเล่นเข้าท่ี ธรรมชาติ เชน่ ฤดูกาล

เมื่อเล่นเสร็จ รกั ษา กลางวนั กลางคนื ฯลฯ ด้านสังคม

ของใช้ส่วนตวั ไดโ้ ดย ๑. สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต การเรยี นรทู้ างสงั คม

ตอ้ งเตือนบา้ ง - ชอื่ - การปฏบิ ัตกิ จิ วัตร

- ความเหมอื นและความ ประจำวันของตนเอง

ตา่ ง - การเล่นและการ

๒. ฤดูกาล ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื

- ช่ือฤดกู าล - การวางแผน

- การปฏิบัตติ นให้ ตดั สนิ ใจเลอื กและลง

เหมาะสมกบั ฤดูถูก มือปฏบิ ัติ

๑๔

พฒั นาการ / ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้
มาตรฐาน อายุ ๓ ปี
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคญั
มาตรฐานที่ ๕ ๑.ชนื่ ชมในศลิ ปะ ๔. มีความอดทนและ
ชนื่ ชมและ ดนตรี รอคอยได้ตามคำ - การรักษาสขุ ภาพ - การมโี อกาสได้รบั รู้
แสดงออกทาง ๒. เคลอ่ื นไหวสว่ น เตือนของครู
ศิลปะ ดนตรี การ ต่าง ๆ ของร่างกาย ๕. ทำงานทีไ่ ดร้ บั ๓. กลางวนั กลางคนื ความร้สู กึ ความสนใจ
เคลอื่ นไหวและรกั รักการออกกำลงั มอบหมายโดยมกี าร
การออกกำลังกาย กาย ดูแลชว่ ยเหลือบ้าง - รปู ร่าง ลักษณะของดวง และความต้องการของ
ตัวบ่งชีท้ ่ี ๑
ดา้ นสงั คม ๑. รูจ้ ักตนเอง ๑. เขา้ ร่วมกจิ กรรม อาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ ตนเองและผู้อนื่
มาตรฐานที่ ๖ ชว่ ยเหลอื ตนเอง ศลิ ปะ ท่องคำคล้อง
ชว่ ยเหลอื ตนเอง ๒. ปฏบิ ัตกิ ิจวตั ร จองและร้องเพลงได้ - การปฏิบตั ิตนในเวลา - การแลกเปล่ยี นความ
ไดเ้ หมาะสมกบั วยั ประจำวนั ได้ด้วย ๒. เคลื่อนไหว
ตนเอง ร่างกายตามเพลง กลางวนั กลางคนื คิดเหน็ และเคารพ
ตามแบบที่ครแู สดง
ชอบเล่นและออก ๔. ชนิดของสตั ว์ ความคดิ เห็นของผู้อื่น
กำลังกาย
๑ บอกช่ือจริงหรือช่ือ ๕. ช่อื รปู รา่ ง ลกั ษณะ - การแกป้ ญั หาในการ
เลน่ เพศของตนเอง
๒. ระมัดระวงั ตนเอง ของนก เลน่
และดแู ลให้ปลอดภยั
โดยมีผูอ้ น่ื คอย ๖. ชอ่ื ของตน้ ไม้ - การปฏบิ ตั ิตาม
ตักเตือน
๓. ชว่ ยเหลอื ตนเอง - รปู รา่ ง ลกั ษณะของ วฒั นธรรมท้อง
ไดต้ ามวัย เม่ือ
ประสบปัญหา ต้นไม้ ถนิ่ ทอ่ี าศัยอยู่และ
๔. รบั ประทาน
อาหารดว้ ยตนเอง - ประโยชนข์ องตน้ ไม้ ความเปน็ ไทย
๕. ล้างหนา้ แปรงฟัน
ไดด้ ้วยตนเอง ๗. ชนิดของดอกไม้
๖. ดแู ลตนเองในการ
ขับถ่ายและพักผอ่ น - รปู ร่างลกั ษณะ ด้านสติปัญญา
๗. สวมรองเทา้ ไดเ้ อง
(อาจผดิ บา้ ง) ๘. ผีเสอ้ื การคดิ

- รูปรา่ ง ลักษณะของผเี สื้อ - รูจ้ ักสิ่งต่าง ๆ ดว้ ย

๙. มด การมอง ฟงั สมั ผัส ชิม

- รูปรา่ ง ลักษณะของมด รส และดมกลนิ่

- อาหารของมด - การเลียนแบบการ

๑๐. ผลไม้ กระทำและเสียงต่าง ๆ

- ช่อื - การเชอ่ื มโยงภาพ

- รูปร่าง ลักษณะ ภาพถา่ ย และรปู แบบ

๑๑. ขา้ ว ต่าง ๆ กบั สิ่งของหรือ

- ชนิดของข้าว สถานที่จรงิ

๑๒. โลก - การรับรู้ และแสดง

- ความหมายของส่ิงทมี่ ีอยู่ ความรูส้ กึ ผ่านสอ่ื วสั ดุ

รอบตัวเดก็ ของเลน่ และผลงาน

- ประโยชนข์ องส่ิงทม่ี ีอยู่ - การแสดงความคิด

รอบเด็ก สรา้ งสรรคผ์ า่ นส่ือ วัสดุ

ต่าง ๆ

การใชภ้ าษา

- การพดู กับผู้อืน่

เกย่ี วกับประสบการณ์

ของตนเองหรือเลา่

พัฒนาการ / ตวั บง่ ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ๑๕
มาตรฐาน อายุ ๓ ปี
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑ สาระการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๗ ๑. การอนุรกั ษ์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคญั
รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม
ส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนียม เร่อื งราวเก่ยี วกับ
วฒั นธรรมและ ประเพณแี ละ ตนเอง
ความเป็นไทย วัฒนธรรม - อธิบายเก่ียวกบั
๒. การมสี มั มา ส่ิงของเหตุการณ์และ
คารวะและมี ความสมั พนั ธข์ อง
มารยาทตาม เรอื่ งราวที่สนใจ
วฒั นธรรมไทย - การอธิบายในเร่ือง
ตำแหนง่ ของส่ิงของ
ตา่ ง ๆ ทส่ี ัมพนั ธ์กัน

๑๖

กำหนดเวลาเรยี น

ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา
ให้กบั เด็กปฐมวัย (สำหรบั เดก็ อายุ ๓ ปี ) โดยแบ่งออกเปน็ ๒ ภาคเรียน ใน ๑ ปีการศกึ ษา คือ

ภาคเรยี นท่ี ๑ เปดิ เรยี นระหว่างวันที่ ๑ พ.ค. ๒๕๖๓ - ๓๑ ต.ค. ๒๕๖๓
ภาคเรียนที่ ๒ เปิดเรียนระหว่างวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๖๓ - ๓๐ เม.ย. ๒๕๖๓

ตารางกำหนดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย (สำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี)

กิจกรรม
๑. กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
๒. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)
๓. กจิ กรรมสรา้ งสรรค์
๔. กจิ กรรมเสรี
๕. กจิ กรรมกลางแจ้ง
๖. เกมการศกึ ษา

๑๗

ตารางการจัดกจิ กรรมประจำวนั
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเนินศาลา

เวลา กิจกรรมประจำวนั
ชว่ งเช้า
๐๗.๓๐ – ๐๘.๑๕ น. รบั เดก็ เปน็ รายบุคคล
๐๘.๑๕ – ๐๘.๓๐ น. เคารพธงชาติ สวดมนต์
๐๘.๓๐ – ๐๘.๔๕ น. สนทนาขา่ วเหตุการณ์
๐๘.๔๕ – ๐๙.๐๐ น. กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
๐๙.๐๐ – ๐๙.๑๐ น. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม)
๐๙.๑๐ – ๐๙.๒๕ น. กิจกรรมสรา้ งสรรค์
๐๙.๒๕ –๑๐.๐๐ น. กจิ กรรมเสรี
๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. กจิ กรรมกลางแจง้
๑๑.๐๐ – ๑๒.๓๐ น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน
ช่วงบ่าย
๑๒.๓๐ – ๑๔.๓๐ น. นอนพักผ่อน
๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๐ น. เก็บทีน่ อน / ล้างหน้า / พกั ดื่มอาหารเสริมนมโรงเรยี น
๑๔.๔๐– ๑๕.๐๐ น. เกมการศกึ ษา/ เตรยี มตวั กลับบ้าน

หมายเหตุ ตารางกิจกรรมสามารถปรบั เปล่ียนเวลาได้ตามเหตกุ ารณแ์ ละกจิ กรรมทจี่ ัดขนึ้

๑๘

ผงั มโนทศั น์ สาระท่ีควรเรยี นรู้

สาระท่คี วรเรียนรู้
เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตวั เด็ก

สาระที่ควรเรยี นรู้ สาระท่ีควรเรียนรู้
วนั สำคัญ เรอื่ งราวเกย่ี วกับบุคคลและ

สถานท่ี

สาระที่ควรเรยี นรู้

สาระทคี่ วรเรยี นรู้ สาระทค่ี วรเรยี นรู้
สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ธรรมชาติรอบตัว

๑๙

ผังมโนทศั น์ สาระทีค่ วรเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ตัวเดก็

กา้ วใหม่ได้เรยี นรู้ เปน็ เดก็ ดมี ีวนิ ยั
สขุ สดใสในร่างกาย
เปล่งประกาย
หนนู ้อยนา่ รัก เรอื่ งราวเกีย่ วกบั ตวั เดก็

หนจู ๋าหนทู ำได้ แสนสบายกินดมี สี ุข
โตไปไมโ่ กง
ความปลอดภยั มมี ากหลาย
สมั ผัสกายท้ังหา้ ทกุ ๆ วันออกกำลังกาย

๒๐

ผังมโนทศั น์ สาระท่ีควรเรยี นรทู้ ่ี ๒
เรื่องราวเกีย่ วกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก

ช่นื ชมอาชพี ครอบครวั หรรษา

บ้านสุขสนั ต์

เรื่องราวเกีย่ วกับบคุ คลและ
สถานทแี่ วดลอ้ มเดก็

สายใยชุมชน

เพอื่ นบา้ นของหนู

ท่ีพกั อุ่นใจ เรียนรูจ้ งั หวัด

รำโทนบา้ นเนนิ
ศาลา

๒๑

ผังมโนทัศน์ สาระที่ควรเรียนรูท้ ี่ ๓ ธรรมชาตริ อบตัว

ข้าวดมี ีประโยชน์

นานาสตั ว์โลก ชีวติ นา่ รู้
ฤดกู าลหรรษา
อรอ่ ยผักผลไม้

ขยันเหลอื เจ้ามดน้อย เร่ืองราวเกยี่ วกับ วันคนื ชนื่ รอรุ า
สรรหาผีเสอื้ ธรรมชาติรอบตัว นานาสตั วโ์ ลก

ดอกไม้งามตา นกน้อยเริงร่า
ตน้ ไมค้ ืนป่า โลกเราน่าอยู่

๒๒

ผงั มโนทศั น์ สาระท่ีควรเรียนรทู้ ี่ ๔ สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

สีสวยสดใส เดินทางทว่ั ไทย
นกั ประดิษฐต์ ัวนอ้ ย โลกไรพ้ รมแดน

เรือ่ งราวเกย่ี วกับ
ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

หัวใจนักคิด

สิง่ ของเครอื่ งใช้

๒๓

ผงั มโนทัศน์ สาระทค่ี วรเรยี นรทู้ ี่ ๕ วนั สำคัญ

วันสำคัญอืน่ ๆ วันสำคญั ทางศาสนา

วันสำคัญ

วนั สำคัญของทางประเพณี วนั สำคญั ของชาติ
และวัฒนธรรมท้องถ่ิน

และวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน

๒๔

โครงสร้างการจดั ประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย
สำหรับเดก็ อายุ ๓ ปี

ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนนิ ศาลา

สาระทคี่ วรเรยี นร้ทู ่ี ๑ เร่ืองราวเก่ียวกบั ตัวเดก็

ก้าวใหมไ่ ด้เรียนรู้
 ชอื่ ครูประจำศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก,ช้ันเรียน,ครูพ่เี ล้ียง
 ของใช้ประจำตวั เด็ก
 การปฏิบตั ิตนในการใชห้ ้องนำ้ หอ้ งส้วม
 การเก็บของเขา้ ที่
 การปฏิบัตติ นในการรับประทานอาหาร

ชอ่ื ของหนูก็มี
 ชอ่ื เลน่ ,สัญลกั ษณ์ของตนเอง
 ช่อื -สกลุ ของตนเอง
 ช่อื -สกุลของเพ่ือน
 คำนำหนา้ ชอื่ เพศ อายุ
 รปู ร่างลกั ษณะ หน้าตา

เปน็ เดก็ ดีมวี ินยั
 ปฏิบัติตามกฎของห้องเรียน
 การเก็บอุปกรณ์และเครื่องใชใ้ นห้องเรยี น
 การใชภ้ าษาสุภาพ
 การชว่ ยเหลอื ตนเองในการรับประทานอาหาร
 การปฏิบตั ิตนต่อบุคคลต่าง ๆ ในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก

สขุ สดใสในรา่ งกาย
 หน้าทแี่ ละการดแู ลรักษาตา
 หน้าที่และการดูแลรักษาหู
 หน้าท่แี ละการดแู ลรักษาจมกู
 หนา้ ทแ่ี ละการดแู ลรักษาปาก
 หนา้ ทแ่ี ละการดูแลรักษามอื เท้า

๒๕

แสนสบายกนิ ดมี สุข
 อาหารดีมปี ระโยชน์
 การทำความสะอาดมอื
 สขุ นสิ ัยในการขับถา่ ย
 การทำความสะอาดปาก/ฟัน
 การทำความสะอาดรา่ งกาย

ทุก ๆ วนั ออกกำลังกาย
 ชนิดของการออกกำลังกาย
 การปฏิบตั ติ นในการออกกำลังกายและการพักผ่อน
 การเลน่ เครื่องเลน่ สนาม
 ประโยชน์ของการพกั ผ่อน
 ประโยชน์ของการออกกำลงั กาย

ความปลอดภัยมีมากหลาย
 ความปลอดภัยในการเล่นเครื่องเลน่ สนาม
 ความปลอดภยั บนท้องถนน
 ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งใช้ไฟฟา้
 ความปลอดภยั ในการใช้ยา
 ความปลอดภัยในการใช้ของแหลมคม

สัมผสั กายทัง้ ห้า
 การมองเหน็
 การดมกล่ิน
 การไดย้ ิน
 การรบั รู้
 การสมั ผสั

หนจู ๋าหนทู ำได้
 การล้างหน้า แปรงฟนั
 การอาบน้ำ
 การแต่งตวั
 การรบั ประทานอาหาร
 การเก็บรักษาสิ่งของตา่ ง ๆ

๒๖

เปล่งประกายหนูนอ้ ยนา่ รัก
 มารยาทในการพดู
 มารยาทในการเคารพผูใ้ หญ่
 มารยาทในการรับของ
 มารยาทในสังคม
 มารยาทในการแต่งกาย

โตไปไม่โกง
 ความซื่อสตั ย์
 การมีจิตสาธารณะ
 รักความเป็นธรรม
 ความรับผดิ ชอบ
 ความพอเพยี ง

สาระที่ควรเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่องราวเก่ยี วกับบคุ คลและสถานทีแ่ วดลอ้ มเดก็

บ้านสขุ สันต์
 ความหมายและประโยชนข์ องบา้ น
 พืน้ ท่ีและบริเวณรอบบ้าน
 สว่ นประกอบของบา้ น
 ห้องต่าง ๆ ภายในบา้ น
 การรักษาความสะอาด

ครอบครวั หรรษา
 ความเกย่ี วข้องของบคุ คลในครอบครวั
 หนา้ ทีข่ องบคุ คลภายในครอบครวั
 การปฏิบัตติ นต่อสมาชกิ ในครอบครัว
 การมีส่วนร่วมในครอบครวั
 สิ่งทจ่ี ำเป็นสำหรับครอบครวั

เพื่อนบา้ นของหนู
 บา้ นใกลเ้ คียง
 การปฏิบัตติ นต่อเพื่อนบ้าน
 การชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกัน
 การอยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสขุ
 ประโยชนข์ องเพื่อนบ้าน

๒๗

เรียนรู้จงั หวัด
 ช่อื จังหวดั
 คำขวัญ/สญั ลกั ษณ์ของจงั หวัด
 อาชพี ของบคุ คลในจงั หวดั
 ศาสนาทบ่ี ุคคลในจงั หวัดนับถือ
 สถานทส่ี ำคัญของจังหวัด

ทพี่ ักอุ่นใจ
 ช่ือ/ทต่ี ้ัง/ความสำคญั
 บุคคลต่าง ๆ ในศนู ย์ฯ/หนา้ ท่ี
 ห้องต่าง ๆ ภายในศนู ย์ฯ
 สถานทีต่ า่ ง ๆ ภายในศนู ย์ฯ
 การดูแลรักษา

สายใยชุมชน
 สถานท่ใี กลเ้ คียงศูนย์
 ความสำคญั ของสถานที่และความหมาย
 การชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษา
 การปฏิบตั ิต่อชุมชน
 การมสี ว่ นร่วมในชมุ ชน

ช่ืนชมอาชพี
 ความฝนั ของหนู
 การแต่งกายของแตล่ ะอาชีพ
 สถานทท่ี ำงานของแตล่ ะอาชพี
 หน้าที่ของแตล่ ะอาชีพ
 เคร่อื งมือของแตล่ ะอาชีพ

รำโทนบ้านเนินศาลา
 ประวตั คิ วามเป็นมา ความสำคัญ และความหมาย
 เพลงท่ีใช้ในการรำโทน
 ท่ารำประกอบเพลงทีใ่ ช้รำโทน
 เคร่ืองดนตรีทีใ่ ชป้ ระกอบการแสดง
 การแต่งกายของนักแสดง

๒๘

สาระทีค่ วรเรียนรทู้ ่ี ๓ ธรรมชาติรอบตวั

ชวี ิตนา่ รู้
 สง่ิ มีชวี ติ
 สิง่ ไม่มีชวี ติ
 ประโยชน์/โทษของสง่ิ มีชีวิต
 ประโยชน์/โทษของส่ิงไม่มีชวี ติ
 การดแู ลรักษาสิ่งมีชวี ติ และไม่มีชีวติ

ฤดูกาลหรรษา
 ฤดหู นาว (ประโยชน์/โทษ)
 ฤดูรอ้ น (ประโยชน/์ โทษ)
 ฤดูฝน (ประโยชน์/โทษ)
 การปฏบิ ัติตนตามฤดูกาล
 ปรากฏการณ์ธรรมชาติ

วัน คนื ชื่นอุรา
 ความหมายของกลางวัน/กลางคนื
 ปรากฏการณ์ในเวลากลางวัน
 การปฏบิ ตั ติ นในเวลากลางวนั
 ปรากฏการณ์ในเวลากลางคนื
 การปฏบิ ตั ติ นในเวลากลางคืน

นานาสัตว์โลก
 สตั ว์บก
 สตั วน์ ำ้ ชนดิ อ่นื
 สัตว์คร่ึงบก ครงึ่ น้ำ
 สัตว์ป่า
 สัตว์เลี้ยง

นกนอ้ ยเริงร่า
 ลักษณะ,รปู รา่ ง
 ท่อี ยู่อาศัย
 อาหาร
 การดูแล
 ประโยชน/์ โทษ

๒๙

ต้นไม้คนื ปา่
 ชอื่ ของต้นไม้
 ลกั ษณะ รูปร่าง สี
 การบำรุงรักษาตน้ ไม้
 ประโยชน์ของต้นไม้
 โทษของต้นไม้

ดอกไม้งามตา
 ลักษณะ รูปรา่ ง สี
 การขยายพนั ธ์ุ
 การบำรุงรักษา
 ประโยชนข์ องดอกไม้
 โทษของดอกไม้

สรรหาผีเส้ือ
 รปู รา่ ง ลกั ษณะของผเี ส้ือ
 ที่อยู่อาศัย
 อาหารของผีเส้ือ
 วงจรชีวติ ผเี สอ้ื
 ประโยชน/์ โทษ

ขยันเหลอื เจา้ มดน้อย
 รูปร่างของมด
 ทอ่ี ยูอาศัยของมด
 อาหารของมด
 วงจรชีวติ ของมด
 ประโยชนแ์ ละโทษของมด

อรอ่ ยผกั ผลไม้
 ชือ่ ของผัก ผลไม้
 รูปรา่ งลกั ษณะ
 รสชาติของผัก ผลไม้
 วธิ กี ารทำผกั ผลไม้ให้สะอาด
 ประโยชนแ์ ละโทษ

๓๐

ขา้ วดมี ีประโยชน์
 ลกั ษณะของตน้ ขา้ ว
 ขา้ วทีเ่ ด็กรู้จกั
 สถานท่ปี ลูกข้าว
 การนำข้าวมาประกอบอาหาร
 ประโยชน์ของขา้ ว

โลกเรานา่ อยู่
 ความหมายของส่งิ ที่อย่รู อบตวั เด็ก
 ช่ือของส่งิ ที่อยรู่ อบตวั เด็ก
 การรกั ษาสิ่งที่อยู่รอบตวั เด็ก
 ประโยชนข์ องส่ิงท่ีอย่รู อบตวั เด็ก
 โทษของสิ่งท่ีอยู่รอบตัวเด็ก

สาระท่ีควรเรยี นร้ทู ่ี ๔ ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

สสี วยสดใส
 สีที่เด็กรจู้ ัก
 สที ี่ไดจ้ ากธรรมชาติ
 ประเภทของสี
 แมส่ ีและการผสมสี
 ประโยชน์/โทษของสี

เดนิ ทางทั่วไทย
 ความหมายของการคมนาคม
 ประเภทของการคมนาคม
 การปฏิบตั ิตนในการใช้ยานพาหนะ
 ประโยชน์ของการคมนาคม
 โทษของการใช้ยานพาหนะ

โลกไรพ้ รมแดน
 ความหมายของการส่ือสาร
 ประเภทของการสอื่ สาร
 วธิ ีการส่อื สาร
 มารยาทในการสือ่ สาร
 ประโยชนข์ องการสอ่ื สาร

๓๑

สิง่ ของเคร่อื งใช้
 ส่งิ ของเคร่ืองใช้ในห้องเรียน
 สิง่ ขิงเครื่องใช้ในบ้าน
 เครอ่ื งมือเครื่องใช้ในการเกษตร
 เครอ่ื งมือเคร่ืองใชใ้ นการก่อสรา้ ง
 การเก็บรักษา/ประโยชน/์ โทษ

หัวใจนักคดิ
 รปู ทรงเรขาคณติ
 การตวง
 การเรยี งลำดับ
 การจำแนก การเปรียบเทยี บ
 ค่าของเงิน

นักประดษิ ฐต์ ัวน้อย
 แสง (ประโยชนข์ องแสง)
 เสียง
 แมเ่ หลก็
 แวน่ ขยาย
 อากาศ

สาระท่คี วรเรยี นรู้ท่ี ๕ วันสำคัญ

วันสำคญั ทางศาสนา
 วันมาฆบชู า
 วนั วิสาขบูชา
 วันอาสาฬหบชู า/วันเขา้ พรรษา
 วนั ออกพรรษา

วันสำคญั ชาติ
 วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิติ (วนั แม่)
 วนั ปยิ มหาราช
 วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
 วันรฐั ธรรมนญู

วันสำคัญทางประเพณีและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ
 วันลอยกระทง
 วันสงกรานต์

๓๒

วนั สำคญั อนื่ ๆ

 วันไหวค้ รู
 วันปีใหม่
 วนั เด็ก
 วนั ครู

๓๓

แผนการจัดประสบการณ์
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลเนินศาลา

ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖3 ภาคเรียนท่ี ๑

สัปดาหท์ ่ี ๑ สปั ดาหท์ ่ี ๒ สัปดาห์ที่ ๓ สปั ดาห์ที่ ๔ สปั ดาห์ท่ี ๕
4 – 6 พ.ค. 25๖3 11 – 15 พ.ค. 25๖3 18 - 22 พ.ค. 25๖3 25 - 29 พ.ค. 25๖3 ๑ – ๕ ม.ิ ย. 25๖3
กา้ วใหมไ่ ดเ้ รียนรู้
วันวสิ าขบชู า กา้ วใหม่ไดเ้ รียนรู้ ก้าวใหมไ่ ดเ้ รียนรู้ ก้าวใหมไ่ ดเ้ รียนรู้
สัปดาห์ที่ 10
สปั ดาหท์ ี่ ๖ สปั ดาห์ท่ี ๗ สัปดาห์ที่ 8 สปั ดาห์ท่ี 9 7-10 ก.ค. 2563
๘ – 12 ม.ิ ย. 25๖3 1๕ – 1๙ ม.ิ ย. 25๖3 22 – 26 มิ.ย. 25๖3 29,30-3 ก.ค. ๒๕๖๓ วนั อาสาฬหบูชา/
แสนสบายกนิ ดีมสี ขุ
ชื่อของหนูกม็ ี เปน็ เด็กดมี วี ินัย สขุ สดใสในร่างกาย เขา้ พรรษา
สัปดาห์ที่ 14 สปั ดาหท์ ี่ 15
สัปดาหท์ ่ี 11 สปั ดาห์ท่ี 12 สปั ดาหท์ ี่ 13 3-7 ส.ค.2563 10-14 ส.ค. 2563
13-17 ก.ค. 2563 20-24 ก.ค. 2563 27-31 ก.ค. 2563 หนูจา๋ หนูทำได้ วันแมแ่ หง่ ชาติ
ทุกๆวันออกกำลงั กาย ความปลอดภัยมมี าก
สมั ผสั กายทัง้ หา้ สัปดาหท์ ่ี 19 สปั ดาห์ที่ 20
สัปดาหท์ ี่ 16 หลาย 7-11 ก.ย.2563 14-18 ก.ย. 2563
17-21 ส.ค. 2563 สปั ดาหท์ ี่ 18 เพอ่ื นบ้านของหนู
เปล่งประกายหนนู อ้ ย สปั ดาห์ท่ี 17 31 ส.ค.- 4 ก.ย. 63 เรียนรจู้ งั หวดั
24-28 ส.ค. 2563 สัปดาห์ที่ 24
นา่ รัก ครอบครวั หรรษา 12-16 ต.ค.2563 สปั ดาห์ท่ี 25
บา้ นสุขสนั ต์ 19-23 ต.ค.2563
สปั ดาหท์ ่ี 21 สัปดาหท์ ่ี 23 ชวี ติ น่ารู้
21-25 ก.ย.2563 สัปดาหท์ ี่ 22 5-9 ต.ค. 2563 วันปยิ มหาราช
28 ก.ย.-2 ต.ค.63
ท่ีพักอุน่ ใจ ชื่นชมอาชีพ
สายใยชุมชน
สัปดาหท์ ่ี 26
26-30 ต.ค.2563

วันลอยกระทง

ปิดภาคเรยี นท่ี ๑ / ๒๕๖3

๓๔

แผนการจัดประสบการณ์
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเนนิ ศาลา

ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ภาคเรยี นที่ 2

สปั ดาห์ที่ 27 สปั ดาห์ที่ ๒8 สัปดาหท์ ่ี 29 สัปดาห์ท่ี 30 สัปดาห์ท่ี 31
2 – 6 พ.ย. 25๖3 9 – 13 พ.ย. 25๖3 16 - 20 พ.ย. 25๖3
23 - 27 พ.ย. 25๖3 30 พ.ย.-4 ธ.ค. 2563
ฤดูกาลหรรษา วนั คืนชื่นอรุ า นานาสตั วโ์ ลก
นกน้อยเริงร่า วนั พ่อแห่งชาติ
สัปดาหท์ ่ี 32 สปั ดาหท์ ี่ 33 สัปดาหท์ ี่ 34
7-11 ธ.ค. 2563 14-18 ธ.ค. 2563 21-25 ธ.ค. 2563 สปั ดาห์ที่ 35 สปั ดาหท์ ่ี 36

ตน้ ไมค้ ืนปา่ ดอกไม้งามตา สรรหาผเี สื้อ 28 ธ.ค.-1 ม.ค. 2564 4-8 ม.ค. 2564
/วนั รฐั ธรรมนูญ
สปั ดาหท์ ี่ 38 สัปดาหท์ ี่ 39 วันขึ้นปีใหม่ ขยนั เหลอื เจ้ามดนอ้ ย
สปั ดาห์ท่ี 37 18-22 ม.ค. 2564 25-29 ม.ค. 2564
11-15 ม.ค. 2564 สัปดาหท์ ี่ 40 สัปดาห์ที่ 41
ขา้ วดมี ีประโยชน์ โลกเรานา่ อยู่ 1-5 ก.พ. 2564 8-12 ก.พ. 2564
อรอ่ ยผักผลไม้
สัปดาห์ที่ 43 สปั ดาหท์ ี่ 44 สีสวยสดใส เดนิ ทางท่ัวไทย
สปั ดาห์ที่ 42 22-26 ก.พ. 2564 1-5 ม.ี ค. 2564
15-19 ก.พ. 2564 ส่งิ ของเครอื่ งใช้ สปั ดาหท์ ี่ 45 สัปดาหท์ ่ี 46
วนั มาฆบชู า 8-12 มี.ค. 2564 15-19 มี.ค. 2564
โลกไร้พรมแดน สปั ดาหท์ ี่ 49 นกั ประดิษฐ์ตัวนอ้ ย
สปั ดาห์ท่ี 48 5-9 เม.ย. 2564 หวั ใจนกั คดิ
สปั ดาหท์ ี่ 47 29 ม.ี ค.-2 เม.ย. รำโทนบ้านเนินศาลา
22-26 มี.ค. 2564 สัปดาหท์ ่ี 50 สัปดาห์ที่ 51
เยาวชนไทยหา่ งไกลยา 2564 12-16 เม.ย. 2564 19-23 เม.ย. 2564
ประเมนิ ผล/งานบันฑติ
เสพติด วนั สงกรานต์ โตไปไมโ่ กง
นอ้ ย
สปั ดาหท์ ี่ 52
26-30 เม.ย. 2564

ประเมนิ ผล

ปิดภาคเรียนท่ี 2 / ๒๕๖3

๓๕

การจัดประสบการณ์การเรยี นรหู้ ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั
สำหรบั เด็กอายุ ๓ ปี

ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กองค์การบริหารสว่ นตำบลเนินศาลา

ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเนนิ ศาลา สังกดั องค์การบริหารสว่ นตำบลเนิน
ศาลา จัดประสบการณ์ให้เด็กอายุ ๓ ปี โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการผ่านการเล่น เป็นการบูรณา
การท้ังทางด้านเน้ือหาสาระและทักษะกระบวนการผา่ นการจัดกิจกรรม ๖ กิจกรรม เพื่อให้เด็กได้เรียนร้จู าก
ประสบการณ์ตรง เรียนรู้จากการลงมือกระทำ เกิดความรู้มีทักษะ มคี ุณธรรมจริยธรรม และเกดิ การพัฒนา
ทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีทักษะกระบวนการคิด มีความเป็นไทย รัก
สิ่งแวดล้อมและภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ

การจัดกิจกรรม ๖ กิจกรรม หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ได้กำหนดการจัดกิจกรรมเพ่ือ
พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา ดังตอ่ ไปนี้

๑. กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ
๒. กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)
๓. กิจกรรมสรา้ งสรรค์
๔. กิจกรรมเสรี
๕. กิจกรรมกลางแจง้
๖. เกมการศกึ ษา

กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ

กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ตามจังหวะอย่างอิสระโดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจอง เครื่องเคาะจังหวะ และอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการ
เคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ รู้จังหวะและควบคุมการเคลื่อนไหวของ
ตนเองได้ กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะประกอบไปด้วย

๑. การเคลอ่ื นไหวข้ันพน้ื ฐาน
๒. การเคลอ่ื นไหวอสิ ระ
๓. การเคลอ่ื นไหวตามคำบรรยาย
๔. การเคล่ือนไหวตามจินตนาการ
๕. การเคลอ่ื นไหวตามข้อตกลง
๖. การเคลื่อนไหวเชงิ สร้างสรรค์
๗. การเคล่ือนไหวอยู่กบั ที่
๘. การเคล่อื นไหวเป็นคู่
๙. การทำทา่ ทางประกอบเพลง
๑๐. การทำท่าทางตามความหมายของเพลง
๑๑. การเปน็ ผ้นู ำและผู้ตาม
๑๒. การรอ้ งเพลง

ฯลฯ

๓๖

การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ครูผู้ดูแลเด็กสามารถจัดให้สัมพันธ์กับเน้ือหาหรือ
ประสบการณ์ที่ครูผู้ดูแลเด็กต้องการให้เด็กเรียนรู้ และควรจัดกิจกรรมน้ีอย่างน้อยวันละประมาณ ๑๕ – ๒๐
นาที กอ่ นสิน้ สดุ กจิ กรรมทุกครัง้ ควรใหเ้ ด็กได้พัก เช่น นอน นง่ั ฟังเพลงเบา ๆ ฯลฯ

จุดประสงค์
๑. ไดเ้ คลอื่ นไหวสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย
๒. กล้าแสดงออกและมีวธิ คี ิดเร่ิมสร้างสรรค์
๓. เกิดความซาบซง้ึ และมีสุนทรียภาพในการเคลือ่ นไหวตามจงั หวะ
๔. รูจ้ กั ปรบั ตัวเมื่อทำกิจกรรมร่วมกับเพอ่ื น
๕. เกิดความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ

วสั ดุอุปกรณ์
๑. เครื่องประกอบจังหวะ เช่น รำมะนา กลอง กรับ ฉ่งิ ฯลฯ
๒. แถบบนั ทกึ เสียงเพลง เคร่ืองเล่นเทป
๓. อปุ กรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว เช่น ห่วงหาย แถบผ้า ถงุ ทราย ฯลฯ

กจิ กรรม
๑. ร้องเพลง ทอ่ งคำกลอน คำคลอ้ งจอง และเคล่ือนไหวตามบทเพลง คำกลอน

คำคล้องจอง
๒. เคล่ือนไหวพ้ืนฐาน เช่น เดิน ว่ิง กระโดด ฯลฯ ตามสัญญาณนัดหมายหรือตาม

จงั หวะเพลง
๓. เคลอื่ นไหวอสิ ระตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ โดยใช้ส่วนตา่ ง ๆ

ของร่างกายให้มากที่สุด ขณะเดียวกันให้คำนึงถึงการใช้พ้ืนที่ ระดับและจังหวะในขณะเคลื่อนไหวเคล่ือนไหว
รา่ งกาย

๔. เล่นเคร่ืองเล่นดนตรีง่าย ๆ ประเภทเคาะ เช่น กรับ รำมะนา กลอง ฯลฯ และ
เคล่ือนไหวประกอบเพลง

๕. ให้เดก็ เคล่ือนไหวตามความคดิ สร้างสรรค์ โดยใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบในการ
เคลอื่ นไหว เช่น หว่ ง แถบผา้ ถุงทราย ฯลฯ

ข้อเสนอแนะ
๑. สรา้ งบรรยากาศให้เดก็ เกดิ ความรู้สึกเพลิดเพลนิ สนุกสนาน และมีความเปน็

กันเอง
๒.ไม่บงั คับถา้ เดก็ ไม่ยอมเข้ารว่ มกจิ กรรมควรใหเ้ วลาและให้โอกาสจนกว่าเด็ก

จะสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรม
๑. ควรให้เดก็ ไดแ้ สดงออกอยา่ งทั่วถึง

๓๗

กิจกรรมเสริมประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)

จดุ มุ่งหมาย
๑. เพ่อื ให้เดก็ เข้าใจเนือ้ หาและเรอ่ื งราวแผนการจัดประสบการณ์
๒. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มคี วามสมั พนั ธใ์ กล้ชดิ กบั ครู และครจู ะไดด้ แู ลพฤติกรรมของเด็กอย่างใกล้ชดิ
๓. เพ่อื ให้เด็กได้ฝึกความมีระเบียบวนิ ัย มารยาทในการฟัง พูด และลักษณะนสิ ัยท่ีดี

ลักษณะการจดั เนอื้ หา
เป็นการเตรียมสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตแบบบูรณาการโดยจัดเป็นหน่วยการสอนประจำ

สัปดาหแ์ บบบูรณาการตลอดปีการศกึ ษา โดยให้ครอบคลุมสาระที่ควรเรียนรทู้ งั้ ๔ สาระ จะไดด้ ังน้ี
๑. เรอ่ื งราวเก่ยี วกับตวั เด็ก
๒. เรือ่ งราวเกีย่ วกบั บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็
๓. ธรรมชาตริ อบตวั
๔. สิง่ ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก

บทบาทและหน้าทข่ี องครู
ก่อนจัดประสบการณ์ครูจะต้องศึกษาการทำแนวทางในการจัดประสบการณ์น้ีอย่างละเอียด

เพอ่ื ได้แนวทางในการจัดเตรียมประสบการณ์ให้กบั เด็ก และจัดเตรียมส่ือการจัดประสบการณ์ท่ีได้เสนอแนะไว้
อย่างครบถ้วน เพ่ือที่จะทำให้การสอนบรรลุจุดมุ่งหมายท่ีได้ตงั้ ไว้อย่างสมบูรณ์อย่างไรก็ตาม ครูอาจปรับปรุง
เปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสมของท้องถ่ิน

การจัดประสบการณ์เนื้อหาใหเ้ ดก็ ต้องจัดกิจกรรมให้เด็กสนใจ เชน่
๑. ทศั นศึกษาตามแหลง่ เรยี นรู้
๒. การเล่าเรอ่ื งให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ
๓. การเล่าประสบการณ์ตามเนื้อหาตา่ ง ๆ
๔. การอภิปราย ซกั ถาม
๕. การสนทนา ตอบคำถาม
๖. ทกั ษะกระบวนการกลมุ่
๗. การทดลอง
๘. การอธิบายสิ่งต่าง ๆ
๙. ทกั ษะการฟัง พูด อา่ น เขยี น
๑๐. การแก้ปัญหาสถานการณ์จำลอง
๑๑. การแสดงบทบาทสมมติ
๑๒. การลงมอื ปฏิบตั จิ ริง
๑๓. การรับรู้ดว้ ยประสาทสมั ผัสทั้ง ๕
๑๔. การทำกจิ กรรมร่วมกับผูอ้ น่ื
๑๕. การนบั จำนวน เพม่ิ ลด
๑๖. การเปรยี บเทียบเวลา
๑๗. การจำแนกเปรียบเทยี บ
๑๘. การเลา่ นทิ าน
๑๙. การรอ้ งเพลง

ฯลฯ

๓๘

กิจกรรมสร้างสรรค์และกจิ กรรมเสรี

จดุ มุ่งหมาย
ศูนยก์ ารเรียนกิจกรรมสร้างสรรคแ์ ละกจิ กรรมเสรมี ีความมุ่งหมายสำคัญโดยเฉพาะ ดงั น้ี
๑. ใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณต์ รงด้วยการประกอบกิจกรรมท่สี อดคล้องกบั

ธรรมชาติและสนองความตอ้ งการของเด็กทางการเล่นท่ีแฝงไว้ซง่ึ การศึกษา
๒. เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ได้ทดลอง คิดคน้ คว้า และสรา้ งสรรคด์ ว้ ยความสนุกและ

เพลดิ เพลิน แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองโดยไม่ต้องวิตกกงั วล
๓. ฝกึ ทักษะการเตรียมความพร้อมด้านประสาทสมั พันธท์ างตาและมอื

เกิดพฒั นาการทางการตัดสินใจ การมีเหตผุ ล รู้ขนาด จำนวนสี และรปู ลกั ษณะ ท้ังชว่ ย
ฝึกเชาว์ปญั ญาอนั เปน็ ทางนำหรอื เตรียมเดก็ ไปสูก่ ารอ่าน และการเขยี นในโอกาสตอ่ ไป

๔. ฝึกเด็กให้ทำงานเป็นกลมุ่ เรียนรู้สิทธิและหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของตนและ
เพือ่ นภายในสังคมเลก็ ๆ และรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื

๕. ฝึกให้รูจ้ กั ประหยดั วัสดุการศกึ ษา ฝกึ เด็กใหร้ ูจ้ กั การเลน่ เครือ่ งเล่น การเก็บ
รักษาอปุ กรณ์เคร่ืองเล่น ใหอ้ ยูใ่ นสภาพที่เรยี บรอ้ ยและครบถว้ น

๖. ให้เป็นวธิ ีการทีเ่ ด็ก ๆ ไดร้ ับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเล้ียงดู และการ
ปกป้องใหเ้ กิดความปลอดภัยทจ่ี ะอยรู่ ่วมกนั ในสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

๗. ใหเ้ ป็นวิธีการช่วยสง่ เสริมเด็ก ๆ ได้รบั พฒั นาการทางอารมณ์จติ ใจและ
รา่ งกายสตปิ ญั ญา และสังคม ครบถ้วนพรอ้ มในโอกาสเดยี วกัน

๘. ให้เปน็ วธิ กี ารชว่ ยใหค้ รูทราบปัญหาความคบั ข้องใจเดก็ ทำใหค้ รสู ามารถหา
วิธชี ่วยคล่ีคลายปัญหาแก่เดก็ ได้

๙. เป็นวิธีการปูพ้ืนฐานประสบการณ์และความรู้ให้เด็กมีความพร้อมสามารถช่วยตนเองได้
ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั วยั ของเดก็ พร้อมทศ่ี กึ ษาต่อในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ไดอ้ ย่างเปน็ สขุ

๑๐. ใหเ้ ปน็ วธิ ที ช่ี ่วยใหค้ รูทราบความสนใจเปน็ พิเศษของเดก็ และสามารถ
ประเมนิ ผลพฒั นาการและพฤติกรรมของเดก็ แต่ละคนได้ พร้อมทีจ่ ะรายงานลงในสมดุ รายงาน
ประจำตัวเดก็ แต่ละคนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๑๑. ใหม้ ีวิธีการช่วยใหค้ รูตื่นตัวอย่เู สมอในการที่จะคน้ ควา้ หาความรเู้ พม่ิ เติม
สำรวจแหล่งวสั ดุ อปุ กรณ์ และคดิ คน้ สร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ใหม่ ๆ ขึน้ เพ่ือสง่ เสริมความพรอ้ ม
ให้แกเ่ ด็กอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้

๑๒. ให้เปน็ วธิ ีการช่วยลดการสูญเปล่าทางการศึกษา ใหป้ ญั หาเดก็ เรียนซ้ำชน้ั
ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ลดลง ซึง่ ในแผนการจัดประสบการณไ์ ด้เสนอแนะกิจกรรมไวท้ ุกวนั ๆ ละ
๑๓ ศนู ย์ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กควรจัดอย่างน้อย ๖ ศนู ย์ และให้เดก็ ไดเ้ รยี นร้ใู นแตล่ ะวนั
อย่างนอ้ ยวนั ละ ๒ ศูนย์

13. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กควรจัดอย่างน้อย 6 กิจกรรม และให้เด็กได้เรียนรู้ในแต่ละวัน
อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 กิจกรรม

๓๙

กจิ กรรมกลางแจง้

จุดม่งุ หมาย
๑. เพือ่ ใหเ้ ด็กไดอ้ อกกำลงั กายกลางแจ้งซ่ึงจะช่วยใหเ้ ดก็ มสี ขุ ภาพดขี ึ้น
๒. เพ่ือพฒั นากล้ามเนอื้ ใหญ่ กลา้ มเนอ้ื เล็ก และฝกึ ประสาทสัมพนั ธ์ระหวา่ งตา

มือ เทา้
๓. เพื่อเป็นการพฒั นาทางรา่ งกาย อารมณจ์ ติ ใจ สังคม สตปิ ัญญา และ

จนิ ตนาการของเดก็
ลกั ษณะการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง
๑. การละเลน่ พ้นื บา้ น
๒. เกมต่าง ๆ
๓. การเล่นบา้ นจำลอง
๔. การเลน่ ทราย
๕. การเลน่ นำ้
๖. การเล่นเครือ่ งเล่นสนาม
๗. การเดินทรงตัวบนกระดาน
๘. การเดนิ ตามแนว
๙. การเดนิ ถอยหลัง
๑๐. การรบั – ส่งบอล
๑๑. การขวา้ งบอลไกล
๑๒. การเตะบอลเข้าประตู
๑๓. การกล้งิ บอลกระทบเปา้
๑๔. การปาเปา้
๑๕. การโหนตวั
ฯลฯ
บทบาทและหน้าท่ีครูในการจดั กิจกรรมกลางแจง้
การออกกำลังกายของเดก็ ๆ นั้น ไดแ้ ก่ การว่ิง การกระโดด การม้วนหนา้ มว้ นหลัง การ

กลิ้ง การปีนป่าย การวิ่งแข่ง การลาก การเข็น เป็นต้น ในการเล่นน้ันบางอย่างจำเป็นต้องมีส่ือ
ประกอบด้วย แต่บางอย่างไม่จำเป็นต้องมีสื่อก็ได้ แต่ครูผู้ดูแลเด็กจะต้องเตรียมตัวเพื่อจัดกิจกรรมให้เด็ก
บทบาทและหนา้ ท่ขี องครผู ู้ดูแลเดก็ ทคี่ วรปฏบิ ตั ใิ นการจัดกิจกรรมกลางแจง้ คอื

๑. หากจะใหเ้ ด็กเลน่ เคร่ืองเล่นสนามครผู ดู้ แู ลเด็กจะต้องทำการตรวจสอบเคร่ือง
เลน่ นั้นว่าอยู่ในสภาพเรียบรอ้ ยหรือไม่ หรือจะเป็นอันตรายตอ่ เด็กหรอื ไม่

๒. ครผู ดู้ แู ลเดก็ จะตอ้ งแนะนำการเล่นที่ถูกวิธี ปลอดภัยให้กับเด็กทกุ คร้ังจึงให้
เล่น

๓. ครผู ู้ดแู ลเด็กจะตอ้ งฝกึ ระเบยี บวนิ ยั ใหเ้ ดก็ ทุกครง้ั ท่มี กี ารเล่นกลางแจง้
๔. ปล่อยให้เดก็ เล่นอย่างอิสระโดยครูผดู้ แู ลเดก็ คอยดูแลอยา่ งใกล้ชิด
๕. เมือ่ เลกิ เลน่ แล้วเกบ็ สิง่ ของใหเ้ ขา้ ทแ่ี ละทำความสะอาดบริเวณทเี่ ลน่ ให้
เรยี บร้อยทกุ ครัง้
๖. ให้เด็กทำความสะอาดรา่ งกายพรอ้ มทั้งแต่งกายใหเ้ รียบร้อยทุกครั้งหลังจาก
เลกิ เลน่ กลางแจ้งแล้ว

๔๐

เกมการศกึ ษา

เกมการศึกษาเป็นเกมการเล่นท่ีฝึกการสังเกต พัฒนากระบวนการคิด และเกิดความคิดรวบ
ยอด เกมการศึกษามีกฎ กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้ เกมการศึกษาที่
เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น เกมการจับคู่ส่ิงท่ีเหมือนกัน เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่ เกมการ
เรียงลำดบั เกมการสังเกตรายละเอียดของภาพ เกมการหาความสัมพันธ์ ฯลฯ

เกมการศกึ ษาท่ีจดั ให้เด็กเล่นควรเร่ิมจากง่ายไปหายาก จากภาพไปสู่รปู ทรงและสัญลักษณ์ที่
ซับซ้อนข้ึน เม่ือครูให้เด็กเล่นเกมใหม่ควรแนะนำวิธีการเล่น และเม่ือเล่นเสร็จครูควรตรวจสอบความถูกต้อง
บางเกมเดก็ อาจตรวจสอบคำถามไดด้ ว้ ยตนเอง

เกมการศึกษาน้ีครูสามารถผลิตได้ด้วยตนเองอย่างง่าย ๆ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาหรือ
ประสบการณ์ท่ีต้องการให้เด็กเรียนรู้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเล่นเกมการศึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มย่อยทุก
วัน โดยอาจจดั วางไวใ้ ห้เดก็ เลือกเล่นทบทวนตามความต้องการนอกเหนอื จากเวลาท่กี ำหนด

วตั ถุประสงค์
๑. รจู้ กั สงั เกต เปรยี บเทียบ และจำแนก
๒. ส่งเสรมิ การคิด หาเหตุผล และการตัดสินใจแก้ปญั หา
๓. ส่งเสรมิ พัฒนากลา้ มเนอื้ เลก็ และการประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งมอื กบั ตา
๔. สง่ เสริมการเล่นร่วมกนั
ตวั อย่างเกมการศกึ ษา

เกมจบั คู่
๑. เกมจบั ค่ภู าพหรอื สง่ิ ของ สามารถแบ่งไดห้ ลายแบบ เชน่
 จับคู่ที่เหมอื นกนั ทุกประการ
 จบั ค่ภู าพกบั เงาของสิ่งเดยี วกัน
 จับคู่ภาพกับโครงรา่ งของสิ่งเดยี วกัน
 จับคภู่ าพทซี่ ่อนอยูใ่ นภาพหลกั
 จับคูภ่ าพเต็มกบั ภาพท่แี ยกเป็นสว่ น ๆ
๒. เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่
๓. เกมการเรยี งลำดบั
๔. เกมการสังเกตรายละเอียดของภาพ เช่น เกมการตัดตอ่

(จำนวนชน้ิ ตามความเหมาะสมของวัยผูเ้ ล่น)
๕. เกมลอตโต
๖. เกมหาความสมั พันธ์ เชน่ เกมตารางสมั พนั ธ์ เกมอปุ มาอุปมยั เกมหาความสมั พนั ธ์

ระหวา่ งส่งิ ของเครื่องใช้ ฯลฯ

๔๑

การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล
เนินศาลา มีการจดั สภาพแวดล้อมในศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กมคี วามสำคัญต่อเด็กมาก เนอื่ งจากธรรมชาตขิ องเด็ก
ในวัยนี้สนใจท่ีจะเรยี นรู้ ค้นควา้ ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดลอ้ มรอบ ๆ ตัว ดังนน้ั การจดั เตรียม
สิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมตามความต้องการของเด็กจึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของ
เดก็ มาก เด็กสามารถเรียนรจู้ ากการเลน่ ที่เปน็ ประสบการณ์ตรงทเ่ี กิดจากการรับรูด้ ว้ ยประสาทสมั ผัสทงั้ ๕ จึง
จำเป็นต้องจัดส่ิงแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของหลักสูตร เพื่อ
สง่ ผลให้บรรลุจุดมงุ่ หมายในการพฒั นาเด็ก

การจดั สงิ่ แวดล้อมของสถานศกึ ษาเด็กปฐมวยั ในสังกัดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารสว่ น
ตำบลเนนิ ศาลา ไดจ้ ดั สภาพแวดล้อม ดงั น้ี

๑. มีความสะอาดปลอดภัย
๒. มคี วามเป็นอิสระอยา่ งมขี อบเขตในการเล่น
๓. มีความสะดวกในการจัดกจิ กรรม
๔. มีความพร้อมของอาคารสถานท่ี เช่น หอ้ งเรยี น หอ้ งนำ้ ห้องส้วม
หอ้ งอาหารสนามเดก็ เลน่
5. มีความเพียงพอเหมาะสมในเร่อื ง ขนาด นำ้ หนัก จำนวน สีของส่อื และเคร่อื งเลน่
๖. มีบรรยากาศในการเรียนรู้ การจัดทีเ่ ลน่ และมมุ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ
การจัดบรรยากาศท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนต้องเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก เพ่ือ
ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กได้เรยี นรตู้ ามธรรมชาติสอดคลอ้ งกับพัฒนาการของเด็กในแตล่ ะวัย การจดั บรรยากาศการเรยี นรู้
แบ่งออกได้ ดังนี้
ภายในหอ้ งเรยี น หอ้ งเรียนแตล่ ะห้องจะเน้นความสะอาด สวยงาม ปลอดภยั
ตกแต่งบอร์ดด้วยเนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับหน่วยท่ีเด็กกำลังเรียนอยู่ในแต่ละสัปดาห์ ภายในห้องเรียนจะมี
มุมประสบการณ์พร้อมส่ืออุปกรณ์ท่ีแข็งแรง สวยงาม ปลอดภัย และเพียงพอกับจำนวนเด็กเพ่ือให้เด็กได้
เรียนรู้จากการสัมผัสท้ัง ๕ เพราะมีความเช่ือว่า สภาพแวดล้อมท่ีดีจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดีจากมุม
ประสบการณ์ เช่น มุมรา้ นค้า มุมหนังสือ มมุ บล็อก มุมของเล่นพลาสตกิ มุมดนตรี มุมแต่งตัว มุมนทิ าน
นอกจากน้ีทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ ได้จัดทำห้องน้ำ ห้องส้วม ไว้ภายในห้องเรียนเพื่อความสะดวกและ
ปลอดภยั ของเด็ก
ภายนอกห้องเรียนรู้ จัดตกแต่งสภาพแวดล้อมภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ ด้วยพันธุ์ไม้
ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ไม้ดอก ไม้ประดับ ผักสวนครัว ไมย้ ืนตน้ หน้าอาคารเรียน และมีสวนหยอ่ มด้านหน้าเพอื่ ความ
สวยงาม ความเพลิดเพลิน เพื่อเอื้อต่อการพัฒนาการของเด็กได้ศึกษานอกสถานท่ีทำให้เด็กได้สมั ผัสธรรมชาติ
ของจริง ส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพจิตดี สนุกสนานกับการเรียนรู้ มีครูจัดกิจกรรมให้กับเด็ก ยึดหลักการ
สะอาด รม่ ร่นื สวยงาม เป็นระเบียบ ปลอดภัย ทง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น

๔๒

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้

ส่อื

ส่ือเป็นสิ่งเคร่ืองมือของการเรียนรู้ ทำหน้าท่ีเป็นตัวกลางถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความรู้สึกเพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา
ทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
ให้แกเ่ ดก็ มีระบบในการควบคุมสอ่ื อยา่ งเปน็ ระบบ มีผ้ดู ูแลรบั ผิดชอบ มกี ระบวนการดงั นี้

๑. การจัดหา มีการสอบถามความต้องการในการใช้ส่ือของครูผู้สอน โดยให้แต่ละห้อง
นำเสนอทกุ ต้นปกี ารศึกษา

๒. การจดั เก็บ สอ่ื ทุกประเภทมีทะเบยี นคมุ มเี อกสารชัดเจน
๓. การจัดการ เม่ือลงทะเบียนแล้วจะแยกให้ครูประจำชั้นรับได้ เก็บได้โดยให้แต่ละห้อง
นำเสนอทุกต้นปีการศึกษา
๔. การซ่อม จะมกี ารสำรวจส่ือทุกสนิ้ ภาคเรียน เพือ่ ดูว่าใดชำรดุ จะซอ่ มบำรุงหรือจำหนา่ ย

ลกั ษณะของส่ือ แบ่งออกเป็น ๖ ประเภท
๑. สื่อธรรมชาติ หมายถึง สิ่งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช่น พืช ผัก ผลไม้ ดิน หิน

เปน็ ต้น
๒. สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น เอกสาร หนังสือตำรา

นติ ยสาร หนังสอื พิมพ์ วารสาร จลุ สาร แผนที่ แผนภูมิ ตาราง สถิติ กราฟ
เป็นต้น

๓. ส่ือวัสดุและอุปกรณ์ หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์เพื่อประกอบการเรียน เช่น บัตรคำ
หนุ่ จำลอง เกมการศึกษา เคร่ืองมืออุปกรณท์ ดลอง เปน็ ต้น

๔. ส่ือที่ไม่ใช่ความเรียง หมายถึง สื่อที่ไม่มีตัวหนังสือกำกับ เช่น สัญลักษณ์ต่างๆ
เครอ่ื งหมายต่าง ๆ

๕. ส่ือเทคโนโลยี หมายถึง ส่ือการเรียนรู้ท่ีได้ผลิตขึ้นเพ่ือใช้ควบคู่กับเครื่องมือโทรทัศน์
วัสดุ หรือเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น เทปบันทึกภาพ (วีดีทัศน์) สไลด์ ซีดี วีซีดี แถบบันทึกเสียง
คอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้

แหลง่ เรยี นรู้

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบล
เนินศาลา ได้จัดบรรยากาศท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก ซ่ึงเป็นแหล่งเรียนรู้
ให้สอดคลอ้ งกับพฒั นาการของเด็กแต่ละวยั บรู ณาการการเรยี นรู้ผา่ นการเล่นทส่ี นุกสนานโดยได้ดำเนินการจัด
แหล่งเรยี นรู้ ดังนี้

๑. ภายในห้องเรียน เน้นความปลอดภัย สะอาด สวยงาม ภายในห้องมีมุมประสบการณ์
หรือศูนย์การเรียนและส่ืออุปกรณ์ที่แข็งแรง สวยงาม ปลอดภัย และเพียงพอกับจำนวนเด็กเพ่ือให้เด็กเรียนรู้
จากการสัมผัสท้ัง ๕ สำหรับมุมประสบการณ์ หรือศูนย์การเรียน ได้แก่ มุมบ้าน มุมหมอ มุมร้านค้า มุม
วทิ ยาศาสตร์ มุมหนังสือ มมุ บลอ็ ก มุมดนตรี เปน็ ต้น

๔๓

๒. ภายในศูนย์พฒั นาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัด องคก์ ารบริหารส่วน
ตำบลเนินศาลา จัดให้มีบรรยากาศท่ีสะอาด ร่มรนื่ สวยงาม เป็นระเบียบ ปลอดภัย มตี ้นไม้มากมายหลาย
ชนิด พนั ธ์ุไมต้ ่าง ๆ และหอ้ งสำคัญต่าง ๆ ในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก เช่น ห้องพยาบาล และอื่น ๆ

๓. ภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัด องค์การบริหาร
สว่ นตำบลเนนิ ศาลา คือสถานท่ีต่าง ๆ เชน่ วดั โบสถ์ โรงเรียน อบต. และอื่น ๆ ได้กำหนดพาเด็กไปศึกษา
เรยี นร้ตู ามโอกาสทีส่ มควร

การประเมินพัฒนาการ

การประเมินพัฒนาการเป็นกระบวนการต่อเนื่องให้ครอบคลุมพัฒนาการเด็กทุกด้าน ได้แก่
ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพ่ือนำผลมาใช้วางแผนจัดกิจกรรมให้เด็กแต่ละคนได้
พฒั นาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลา สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบล
เนินศาลา จัดให้มีการประเมินอย่างต่อเน่ืองครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านเป็นการประเมินสถานการณ์ปกติ
ขณะท่ีเด็กทำกิจกรรมประจำวันและช่วงเวลาต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การสังเกตการสัมภาษณ์ การสนทนา การบันทึก
พฤติกรรมเด็กและวิเคราะห์ข้อมูล ผลงานที่เก็บอย่างเป็นระบบ แล้วนำข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการมา
สรุปเพื่อเขียนรายงานผลพัฒนาการลงในสมุดรายงานประจำตัวเด็กทุกภาคเรียน และรายงานให้ผู้ ปกครอง
ทราบอย่างชัดเจน และต่อเนอ่ื งโดยดำเนินการต่อไปน้ี

ก่อนเรียน จัดทำข้อมูลของเด็กเป็นรายบุคคลโดยให้ผู้ปกครองกรอกข้อมูลและสัมภาษณ์
ผ้ปู กครอง เช่น ขอ้ มลู ทัว่ ไป ประวตั ิสขุ ภาพ ลกั ษณะนสิ ัย

ระหว่างเรียน จัดทำเครื่องมือประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลาย
เหมาะสมกับเด็ก รวมทั้งใช้แหล่งข้อมูลหลาย ๆ ด้าน ได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนา
การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล จากผลงานเด็กที่เก็บอย่างมีระบบบันทึกการเรียน บันทึกสุขภาพ และ
บันทึกกิจกรรมต่าง ๆ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้สอดคล้องกับความสามารถหรือ
พัฒนาการแต่ละด้านของเดก็

หลังเรียน มีการนำข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการมารวบรวมสรุปและเขียนรายงานผล
พัฒนาการลงในสมดุ รายงานประจำตวั ทุกภาคเรียน

เกณฑก์ ารประเมนิ พฒั นาการ คอื การนำผลประเมินมาสรุปและจัดระบบพัฒนาการ ดังน้ี

๓ ระดับปฏบิ ัตไิ ด้ หมายถึง สามารถแสดงพฤตกิ รรมไดค้ ลอ่ งหรอื เชื่อม่ัน

๒ ระดับปฏบิ ัติได้บางคร้งั หมายถงึ สามารถแสดงพฤตกิ รรมไดแ้ ต่บางคร้งั ไม่คลอ่ ง

หรือ ไมม่ น่ั คง

๑ ระดบั ควรสง่ เสริม หมายถึง ยังแสดงพฤตกิ รรมไดไ้ มช่ ัดเจน

๔๔

การประเมนิ พฒั นาการ
การประเมนิ พัฒนาการระดับปฐมวัยแบ่งออกเปน็ ๒ ระยะ ดังนค้ี อื
๑. ประเมนิ พัฒนาการประจำแต่ละกิจกรรม
๒. ประเมนิ พฒั นาการประจำภาค / ปี

วธิ ีประเมินพฒั นาการ
๑. การสังเกต คือ ครูสังเกตเด็กตลอดเวลา เช่น ขณะเรียน เล่น และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ

ของศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ฯ การเรียนกจิ กรรมเสรีทงั้ เปน็ กลุ่ม และรายบคุ คลสม่ำเสมอ
๒. การสัมภาษณ์ คือ การสนทนากับเด็กเปน็ รายบคุ คล และเป็นกลมุ่ อาจจะมกี ารบันทึก

การสนทนาดว้ ยเพ่ือหาวธิ กี ารแก้ไข หรือทำให้ทราบวา่ ประสบผลสำเรจ็ หรอื ไม่
๓. ตรวจผลงานและวเิ คราะหข์ ้อมูล

ข้อพึงปฏบิ ตั ใิ นการประเมิน
๑. ไม่นำแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัดมาประเมินพัฒนาการของเด็กเพราะการประเมิน

พัฒนาการมิใชก่ ารวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของเด็ก
๒. เม่ือประเมินผลงานของเด็กครตู ้องไม่เขียนเครื่องหมายใด ๆ ท่ีแสดงผลการตัดสินผลงาน

น้ัน ๆ กล่าวคอื ต้องไมท่ ำเครือ่ งหมายดาว คะแนน สัญลักษณห์ นา้ ย้มิ หนา้ ร้องไหห้ รอื อน่ื ๆ ในผลงานเดก็
๓. ครูต้องมีความแม่นยำในการพัฒนาแต่ละด้านของเด็กตามอายุท่ีแตกต่างจึงจะสามารถ

ประเมินพฒั นาการไดถ้ กู ต้อง และตรงกับความเป็นจริง
๔. การตคี วามผลงานเด็กควรทำหลงั จากการสนทนากับเด็กจนทราบความคิดหรือความในใจ

ของเด็กที่แสดงผลงานในลักษณะเช่นนัน้ เพราะครูกับเด็กมีความคิดท่ีแตกต่างกัน บางครั้งครูอาจตคี วามหรือ
เข้าใจความคดิ หรอื จนิ ตนาการของเด็กเป็นอยา่ งอ่ืนได้ ถ้าครูไม่ไดพ้ ูดคุยกบั เด็กเก่ยี วกบั ผลงานนนั้

การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษา

การนำกรอบการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไปใช้และมีการพัฒนาครู
ผู้ดแู ลเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คมู่ ือหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (สำหรับเด็กอายุ ๓ ปี) และดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษา
ปฐมวัย มดี ังน้ี

๑. การเตรยี มความพรอ้ ม
 สร้างความตระหนัก
 พฒั นาบุคลากร
 จดั ระบบสารสนเทศ
 จัดระบบบริหารจดั การในรูปกรรมการ

๒. การจดั หลกั สูตร
 แผนการจดั ประสบการณข์ องครแู ตล่ ะคน
 หลักสูตรรายชน้ั ตลอดปกี ารศึกษา (หน่วยการเรยี นรู้ กจิ กรรม)

๔๕

๓. การสนบั สนนุ คณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา
 ระบบการประเมนิ พัฒนาการ
 การวิจยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
 การพฒั นาและเลอื กใชส้ ่อื
 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา

๔. การบรหิ ารจัดการ
 ด้านบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก
 ดา้ นบคุ ลากร
 ด้านอาคาร สถานท่ี สิ่งแวดล้อมและความปลอดภยั
 ด้านวิชาการ และกิจกรรมตามหลกั สตู ร
 ดา้ นการมีสว่ นร่วม และสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
 ดา้ นสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย

๕. การนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผล
 หนว่ ยงานต้นสงั กดั
 คณะกรรมการศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กฯ
 คณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

๖. สรุปและรายงาน
 สรปุ การประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
 รายงานคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 รายงานผปู้ กครอง
 รายงานประชาชน
 รายงานหน่วยงานตน้ สงั กดั เพ่ือขอรบั การสนับสนนุ

๗. การปรบั ปรุงและการพัฒนา
 ปรับแผนปฏบิ ัติงานปตี อ่ ไป
 ปรบั ปรงุ หลักสูตร
 ปรับปรุงการบรหิ ารจดั การ
 ปรบั ปรุงระบบสนบั สนนุ คณุ ภาพ
 ปรับปรงุ แผนการจัดประสบการณ์

ท้งั น้ี หลกั สูตรสถานศึกษาการศกึ ษาปฐมวัยของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล
เนินศาลา สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลเนินศาลาสนองต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ
สภาพแวดล้อม ชุมชน ท้องถิ่น และปรับเปล่ียนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ และการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
โดยมจี ุดหมายคือ มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน ทั้งดา้ นร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา อยา่ ง
เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างของบุคคล เพอ่ื พัฒนาเด็กให้เกิดความสุขในการเรยี นรู้ เกิด
ทกั ษะที่จำเปน็ ต่อการดำรงชีวิต รมทัง้ การปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงคแ์ ก่เด็ก

๔๖


Click to View FlipBook Version