The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarisa sa-a, 2021-10-03 02:12:43

มาตรฐานสินค้า

มาตรฐานสินค้า

หน้า ๕ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๗๔ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เรอื่ ง กำหนดมำตรฐำนสินค้ำเกษตร : คะน้ำ
ตำมพระรำชบญั ญัตมิ ำตรฐำนสินคำ้ เกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑

ด้วยคณะกรรมกำรมำตรฐำนสินค้ำเกษตร เหน็ สมควรกำหนดมำตรฐำนสินคำ้ เกษตร เรื่อง คะนำ้
เป็นมำตรฐำนทั่วไป ตำมพระรำชบัญญตั ิมำตรฐำนสินคำ้ เกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ เพ่อื สง่ เสรมิ สนิ ค้ำเกษตร
ใหไ้ ด้คุณภำพ มำตรฐำน และปลอดภัย

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๕ มำตรำ ๑๕ และมำตรำ ๑๖ แห่งพระรำชบัญญัติ
มำตรฐำนสนิ คำ้ เกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบมติคณะกรรมกำรมำตรฐำนสินค้ำเกษตร ในกำรประชุม
คร้ังที่ ๕/๒๕๖๑ เม่ือวันที่ ๒๗ ธันวำคม ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จึงออกประกำศกำหนดมำตรฐำนสินค้ำเกษตร : คะน้ำ มำตรฐำนเลขที่ มกษ. 1525-2562 ไว้เป็น

มำตรฐำนทัว่ ไป ดังมีรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศนี้
ทั้งนี้ ใหใ้ ช้บงั คับตั้งแต่วนั ถดั จำกวนั ประกำศในรำชกิจจำนเุ บกษำเป็นต้นไป

ประกำศ ณ วนั ที่ 2๘ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖2
กฤษฎำ บุญรำช

รฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

มกษ. 1525-2562

มาตรฐานสินคา้ เกษตร

คะนา้

1. ขอบข่าย

1.1 มาตรฐานสินค้าเกษตรน้ี.ใช้กับคะน้า (Chinese kale1/ หรือ Chinese broccoli2/).ซ่ึงได้มาจาก
พืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Brassica oleracea L. var. alboglabra (L.H. Bailey) Musil วงศ์
Brassicaceae (alt. Cruciferae) พันธุ์ท่ผี ลิตเป็นการค้า ซ่ึงครอบคลุมคะน้าท่ผี ่านการจัดเตรียม
และบรรจุหีบห่อเพ่ือจาหน่ายในรูปผลิตผลสดแกผ่ ู้บริโภค

1.2 มาตรฐานสินค้าเกษตรน้ีไม่รวมคะน้าท่ีใช้แปรรูปในอุตสาหกรรม และคะน้าต้นอ่อน3/ (Baby
Chinese kale)

2. คุณภาพ

2.1 ขอ้ กาหนดข้นั ตา่

2.1.1 คะน้าทุกช้ันคุณภาพต้องเป็นไปตามข้อกาหนดดังต่อไปน้ี เว้นแต่จะมีข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละ
ช้ันคุณภาพและเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนท่ยี อมให้มไี ด้ตามท่รี ะบุไว้
ก) เป็นคะน้าท้งั ต้น ตัดแต่งโคนต้นและใบได้ตามความเหมาะสม
ท้งั น้ี
- คะน้าต้น คะน้ายอด คะน้าเหด็ หอม ต้องมีลาต้น ใบ ไม่มชี ่อดอก
- คะน้าฮ่องกง ต้องมีลาต้น ใบ และมชี ่อดอกตมู 1 ช่อ
ข) สด
ค) ลาต้นไม่กลวง
ง) สภาพดี ไม่มรี อยชา้ หรือไม่เน่าเสยี ท่ที าให้ไม่เหมาะต่อการบริโภค
จ) สะอาด ปราศจากส่งิ แปลกปลอมท่มี องเหน็ ได้
ฉ) ไม่มศี ัตรูพืชท่มี ีผลกระทบต่อรูปลักษณ์ท่วั ไป4/

1/ The Plant Resources of South-East Asia (PROSEA)
2/ Codex Classification for Food and Feeds
3/ คะน้าต้นออ่ น หมายถงึ ต้นกล้าผกั คะน้าท่ถี อนแยกหลงั จากท่หี ว่านหรือเพาะในแปลงกอ่ นท่จี ะเจริญเตม็ ท่ี โดยท่วั ไป

อายุประมาณ 10-14 วนั
4/ การนาข้อกาหนดน้ไี ปปฏบิ ตั ใิ ช้ต้องไม่ขดั กบั พระราชบญั ญตั กิ กั พืช พ.ศ. 2507 และฉบบั แก้ไขเพ่ิมเตมิ

มกษ. 1525-2562 2

ช) ไม่มคี วามเสยี หายจากศัตรูพืชท่มี ีผลกระทบต่อคุณภาพ
ซ) ไม่มีความช้ืนท่ีผิดปกติจากภายนอก ท้ังน้ีไม่รวมถึงหยดน้าท่ีเกิดหลังจากนาคะน้าออก

จากห้องเยน็
ฌ) ไม่มคี วามเสยี หายเน่ืองจากอุณหภมู ิต่า หรืออณุ หภมู ิสงู
ญ) ไม่มกี ล่ินและ/หรือรสชาติแปลกปลอม5/
ฎ) รอยตัดเรียบและสะอาด
ฏ) คะน้าต้องมีการเจริญเติบโตหรือพัฒนาถึงระดับท่ีเหมาะสมและมีสภาพท่ียอมรับได้

เม่อื ถงึ ปลายทาง

2.1.2 คะน้าต้องมอี ายุการเกบ็ เก่ยี วท่เี หมาะสม ท้งั น้ี ข้นึ อยู่กบั พันธุ์ ฤดูกาล แหล่งท่ปี ลูก หรือความต้องการ
ของตลาด

2.2 การแบ่งช้นั คณุ ภาพ

คะน้าตามมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรน้ี แบ่งเป็น 3 ช้ันคุณภาพ ดงั น้ี

2.2.1 ช้นั พิเศษ (Extra Class)

คะน้าในช้ันน้ีต้องมีคุณภาพดีท่สี ดุ ต้องมีลักษณะตรงตามพันธุ์ ไม่มีตาหนิ ยกเว้นตาหนิท่มี องเหน็
ไม่ชัดเจน และไม่มีผลกระทบต่อรูปลักษณ์ท่วั ไป คุณภาพของคะน้า คุณภาพระหว่างการเกบ็ รักษา
และการจัดเรียงเสนอในหีบห่อ

2.2.2 ช้นั หนงึ่ (Class I)

คะน้าในช้ันน้ีต้องมีคุณภาพดี ต้องมลี ักษณะตรงตามพันธุ์ อย่างไรกต็ ามอาจมีตาหนิได้เลก็ น้อย
หากตาหนิดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อรูปลักษณ์ท่ัวไป คุณภาพของคะน้า คุณภาพระหว่าง
การเกบ็ รักษาและการจัดเรียงเสนอในหีบห่อ ตาหนิท่ยี อมให้มีได้ มีดงั น้ี
ก) ความผิดปกติเลก็ น้อยด้านรูปทรงและสี
ข) ตาหนิเลก็ น้อย.เช่น.ร่องรอยความเสียหายจากศัตรูพืช ใบเป็นรู รอยชา้ ใบฉีกขาด ตาหนิ

โดยรวมต้องไม่เกนิ 10% ต่อต้น

2.2.3 ช้นั สอง (Class II)

คะน้าในช้ันน้ีรวมคะน้าท่มี ีคุณภาพไม่เข้าช้ันท่สี งู กว่า แต่มีคุณภาพตามข้อกาหนดข้ันต่าท่กี าหนด
ในข้อ 2.1 คะน้าในช้ันน้ีมีตาหนิได้ หากยังคงลักษณะท่ีสาคัญในเร่ืองคุณภาพของคะน้า
คุณภาพระหว่างการเกบ็ รักษา และการจัดเรียงเสนอในหีบห่อ.ท้งั น้ี.ตาหนิท่ยี อมให้มีได้ มีดงั น้ี

5/รสชาตแิ ปลกปลอมไม่รวมรสขมกว่าปกตเิ ลก็ น้อยตามธรรมชาตขิ องคะน้า

3 มกษ. 1525-2562

ก) ความผดิ ปกติด้านสี และรูปทรง
ข) ตาหนิอ่นื ๆ เช่น ร่องรอยความเสยี หายจากศัตรูพืช ใบเป็นรู รอยชา้ ใบฉีกขาด ลาต้นบิดเบ้ียว

มีรอยแตกท่ผี ิวลาต้น ตาหนิโดยรวมต้องไม่เกนิ 15% ต่อต้น

3. การจดั ขนาด

ต้องมีขนาดข้นั ต่า โดยพิจารณาจากนา้ หนักหรือความยาว อย่างใดอย่างหน่ึง ดังน้ี
ก) กรณีพิจารณาโดยนา้ หนัก

- คะน้าต้นและคะน้ายอด ต้องมีนา้ หนักต่อต้นไม่น้อยกว่า 15 g
- คะน้าฮ่องกง ต้องมนี า้ หนักต่อต้นไม่น้อยกว่า 20 g
- คะน้าเหด็ หอม ต้องมีนา้ หนักต่อต้นไม่น้อยกว่า 40 g
หรือ
ข) การพิจารณาโดยความยาว
- คะน้าต้นและคะน้ายอด ต้องมีความยาวจากโคนต้นถึงปลายใบ ไม่น้อยกว่า 15 cm
- คะน้าฮ่องกง ต้องมีความยาวจากโคนต้นถึงปลายยอด ไม่น้อยกว่า 10 cm
- คะน้าเหด็ หอม ต้องมคี วามยาวจากโคนต้นถงึ ปลายใบ ไม่น้อยกว่า 20 cm

4. เกณฑค์ วามคลาดเคลือ่ น

เกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนเร่ืองคุณภาพและขนาดท่ยี อมให้มีได้ในแต่ละหีบห่อหรือรุ่นท่สี ่งมอบ
สาหรับคะน้าท่ไี ม่เป็นไปตามคุณภาพและขนาดท่รี ะบุไว้ มดี งั น้ี

4.1 เกณฑค์ วามคลาดเคลอื่ นเรือ่ งคณุ ภาพ

4.1.1 ช้นั พิเศษ (Extra Class )

ความคลาดเคล่ือนไม่เกิน 5% โดยจานวนหรือน้าหนักของคะน้ าท่ีมีคุณภาพไม่เป็ นไป
ตามข้อกาหนดของช้ันพิเศษ (ข้อ 2.2.1).แต่เป็ นไปตามคุณภาพของช้ันหน่ึง (ข้อ 2.2.2)
หรือคุณภาพยังอยู่ในเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนของคุณภาพช้ันหน่ึง (ข้อ 4.1.2)

4.1.2 ช้นั หนงึ่ (Class I)

ความคลาดเคล่ือนไม่เกิน 10% โดยจานวนหรือน้าหนักของคะน้าท่ีมีคุณภาพไม่เป็ นไป
ตามข้อกาหนดของช้ันหน่ึง.(ข้อ 2.2.2).แต่เป็ นไปตามคุณภาพของช้ันสอง.(ข้อ 2.2.3).
หรือคุณภาพยงั อยู่ในเกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนของคุณภาพช้ันสอง (ข้อ 4.1.3)

มกษ. 1525-2562 4

4.1.3 ช้นั สอง (Class II)

ความคลาดเคล่ือนไม่เกิน 10% โดยจานวนหรือน้าหนักของคะน้าท่ีมีคุณภาพไม่เป็ นไป
ตามข้อกาหนดของช้ันสอง (ข้อ 2.2.3).หรือไม่ได้ข้อกาหนดข้ันต่า.(ข้อ 2.1) แต่ต้องไม่มี
รอยชา้ เน่าเสยี หรือเส่อื มสภาพจากสาเหตอุ ่นื ท่ที าให้ไม่เหมาะสาหรับการบริโภค

4.2 เกณฑค์ วามคลาดเคลอื่ นเรื่องขนาด

คะน้ามขี นาดน้อยกว่าท่กี าหนดในข้อ 3 ปนมาได้ไม่เกนิ 10% โดยจานวนหรือนา้ หนักของคะน้า

5. การจดั เรียงเสนอ

5.1 ความสมา่ เสมอ

คะน้าท่ีบรรจุในแต่ละหีบห่อต้องมีความสม่าเสมอท้ังในเร่ืองพันธุ์ คุณภาพ สี ขนาด รวมท้ัง
มาจากแหล่งผลิตเดยี วกนั
กรณีท่มี องเหน็ คะน้าจากภายนอกหีบห่อ ส่วนท่มี องเหน็ ต้องเป็นตัวแทนของผลิตผลท้งั หมด

5.2 การบรรจุหีบห่อ

ต้องบรรจุคะน้าในลักษณะท่สี ามารถป้ องกันคะน้าไม่ให้เกิดความเสียหาย วัสดุท่ใี ช้ภายในหีบห่อ
ต้องใหม่ สะอาด และมีคุณภาพท่ีจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหายท้ังภายนอกและภายในคะน้า
หากมกี ารใช้กระดาษหรือตราประทบั ท่มี ขี ้อมูลทางการค้าต้องใช้หมกึ พิมพ์หรือกาวท่ไี ม่เป็นพิษ

5.3 ภาชนะบรรจุ

การบรรจุคะน้าในแต่ละภาชนะบรรจุต้องเป็ นไปตาม Recommended International Codex of
Practice for Packaging and Transport of Fresh Fruits and Vegetables (CAC/RCP 44-1995)
ภาชนะบรรจุต้องมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ระบายอากาศได้ และทนทานต่อการจัดการ
การขนสง่ และการเกบ็ รักษาคะน้า หีบห่อต้องไม่มสี ่งิ แปลกปลอม และกล่ินแปลกปลอม

5 มกษ. 1525-2562

6. การแสดงฉลากและเครือ่ งหมาย

การแสดงฉลากให้เป็นไปตามข้อกาหนดของ General Standard for the Labelling of Prepackaged
Foods (CODEX STAN 1-1985) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเร่ืองการแสดงฉลาก
ของอาหารในภาชนะบรรจุ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเร่ืองกาหนดวิธีการผลิต เคร่ืองมือ
เคร่ืองใช้ในการผลิตและการเกบ็ รักษาผักหรือผลไม้สด บางชนิด และการแสดงฉลาก รวมถึง
มาตรฐานและกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง

6.1 บรรจุภณั ฑส์ าหรบั ผูบ้ ริโภค

การแสดงฉลากท่บี รรจุภัณฑ์ ต้องมีข้อมูลอย่างน้อย ดังน้ี
ก) ช่ือผลิตผล เช่น คะน้าต้น คะน้ายอด คะน้าเหด็ หอม คะน้าฮ่องกง
ข) นา้ หนักสทุ ธเิ ป็นระบบเมตริก
ค) วัน เดือน ปี ท่เี กบ็ เก่ยี ว หรือบรรจุ
ง) ช่ือและท่อี ยู่ของผู้ผลิต ผู้บรรจุ ผู้จัดจาหน่าย ผู้นาเข้า หรือผู้สง่ ออก หรือรหัสบ่งช้ีท่อี ้างองิ ได้
จ) กรณีนาเข้าหรือผลิตเพ่ือการส่งออกให้ระบุประเทศท่เี ป็นแหล่งกาเนิด (country of origin)

อาจแสดงเขตท่ปี ลูกหรือประเทศ ภมู ภิ าคหรือช่ือท้องถ่ินของสถานท่ี
ฉ) กรณีท่ีนาเข้าและผลิตเพ่ือจาหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็ นภาษาไทยแต่จะมี

ภาษาต่างประเทศด้วยกไ็ ด้ กรณีท่ผี ลิตเพ่ือการสง่ ออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้

6.2 บรรจุภณั ฑท์ ีไ่ ม่ไดจ้ าหน่ายโดยตรงต่อผูบ้ ริโภค

การแสดงฉลากท่บี รรจุภัณฑ์ ต้องจัดข้อความหรือตัวอักษรให้อยู่ด้านเดียวกันของบรรจุภัณฑ์
ข้อความต้องอ่านได้ง่าย ชัดเจน ติดแน่น และมองเหน็ ได้จากภายนอก โดยแต่ละบรรจุภัณฑ์
ต้องมีข้อมูลอย่างน้อย ดงั ต่อไปน้ี
ก) ช่ือและท่อี ยู่ของผู้ส่งออก ผู้บรรจุ และ/หรือผู้ส่งสนิ ค้า
ข) ช่ือของผลิตผลและอาจแสดงช่ือพันธุ์หรือช่ือทางการค้า (ตามความเหมาะสม)
ค) ประเทศท่เี ป็นแหล่งกาเนิด (country of origin) อาจแสดงเขตท่ปี ลูกหรือประเทศ ภมู ิภาค

หรือช่ือท้องถ่ินของสถานท่ี
ง) ช้ันคุณภาพ
จ) เคร่ืองหมายการตรวจสอบของทางราชการ (ถ้ามี)
ฉ) กรณีท่ีนาเข้าและผลิตเพ่ือจาหน่ายในประเทศต้องใช้ ข้อความเป็ นภาษาไทยแต่จะมี

ภาษาต่างประเทศด้วยกไ็ ด้ กรณที ่ผี ลิตเพ่ือการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้

กรณีผลิตผลท่ขี นส่งมาเป็นปริมาณมาก (bulk) ข้อมูลข้างต้นอาจแสดงในเอกสารกากบั สนิ ค้า
ท่สี ง่ มาได้

มกษ. 1525-2562 6

6.3 เครื่องหมายรบั รองมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร

การแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง เร่ือง กาหนด
ลักษณะของเคร่ืองหมาย การใช้เคร่ืองหมาย และการแสดงเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐาน
สินค้าเกษตร พ.ศ. 2553 และประกาศสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
ท่เี ก่ยี วข้อง

7. วตั ถุเจือปนอาหาร

ไม่อนุญาตให้ใช้วัตถุเจือปนอาหาร

8. สารปนเป้ ื อน

ปริมาณสารปนเป้ื อนให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเร่ืองมาตรฐานอาหารท่ีมี

สารปนเป้ื อน หรือข้อกาหนดในมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรท่เี ก่ยี วข้อง ดงั น้ี

ปริมาณสงู สดุ ของตะก่วั ไม่เกนิ 0.3 mg/kg

ปริมาณสงู สดุ ของแคดเมียม ไม่เกนิ 0.2 mg/kg

9. สารพิษตกคา้ ง

ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในคะน้าให้เป็ นไปตามกฏหมายท่ีเก่ียวข้อง และ มกษ. 9002
มาตรฐานสินค้าเกษตร เร่ือง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003
มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร เร่ือง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสงู สดุ ท่ปี นเป้ื อนจากสาเหตุ
ท่ไี ม่อาจหลีกเล่ียงได้

10. สุขลกั ษณะ

การผลิตและการปฏบิ ัติต่อคะน้าต้องเป็นไปตาม

ก) มกษ. 9001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เร่ือง การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีสาหรับพืชอาหาร
หรือได้รับการรับรองตาม มกษ. 9001 หรือมาตรฐานท่เี ทยี บเทา่

ข) กรณีคะน้าท่มี ีการบรรจุในโรงคัดบรรจุ ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย
เร่ืองกาหนดวิธีการผลิต เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ในการผลิตและการเกบ็ รักษาผักหรือผลไม้สด
บางชนิด และการแสดงฉลาก และได้รับการรับรองตาม มกษ. 9035 มาตรฐานสินค้าเกษตร
เร่ือง การปฏบิ ัติท่ดี ีสาหรับโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สด หรือมาตรฐานท่เี ทยี บเทา่

7 มกษ. 1525-2562

11. การชกั ตวั อยา่ งและวิธีวิเคราะห์

ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อกาหนดของมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรท่เี ก่ยี วข้อง หรือภาคผนวก ข

มกษ. 1525-2562 8

ภาคผนวก ก
ภาพแสดงตวั อย่างคะนา้

1) คะน้าต้น 2) คะน้ายอด
ใบกลม สเี ข้ม ใบกว้าง ใหญ่ ใบแคบ ปลายใบแหลม
ลักษณะลาต้นค่อนข้างใหญ่ ข้อส้นั ใบหยัก ลาต้นเลก็ กว่าคะน้าต้น ข้อห่าง ผิวใบเรียบ

เลก็ น้อย

ต่งิ ใบ
ช่อดอกตมู

3) คะน้าเหด็ หอม 4) คะน้าฮ่องกง
ลาต้นใหญ่ อวบอ้วน มีต่ิงใบ (leaflet) ท่เี ส้นกลาง ลาต้นและใบสเี ขียวเข้ม มีช่อดอกตมู 1 ช่อ

ใบ

ภาพที่ ก.1 ตัวอย่างคะน้าพันธทุ์ ่ผี ลิตเป็นการค้า (ข้อ 1.1)

9 มกษ. 1525-2562

ภาพที่ ก.2 ตวั อย่างคะน้าท่ไี ม่สดและมีความเสียหายจากศัตรูพืชท่มี ผี ลกระทบต่อคุณภาพ
ไม่ผ่านข้อกาหนดข้ันต่า

(ข้อ 2.1.1 ข) และ 2.1.1 ช))

ลาต้นกลวง

ลาต้นกลวง

ภาพที่ ก.3 ตวั อย่างคะน้าลาต้นกลวง ไม่ผ่านข้อกาหนดข้นั ต่า
(ข้อ 2.1.1 ค))

มกษ. 1525-2562 10

รอยชา้

ภาพที่ ก.4 ตวั อย่างคะน้าท่มี คี วามเสียหายจากศัตรูพืชท่มี ีผลกระทบต่อคุณภาพ ไม่ผ่านข้อกาหนดข้ันต่า
(ข้อ 2.1.1 ช))

ข้หี นอน

ภาพที่ ก.5 ตัวอย่างผักคะน้าท่ปี ราศจากส่งิ แปลกปลอม ไม่ผ่านข้อกาหนดข้ันต่า
(ข้อ 2.1.1 จ))

11 มกษ. 1525-2562

1) หนอนคืบ 2) หนอนกระทู้ผกั 3) หนอนใยผัก

ภาพที่ ก.6 ตวั อย่างคะน้าท่มี ีความเสียหายจากศัตรูพืชท่มี ีผลกระทบต่อคุณภาพ
(ข้อ 2.2)

มกษ. 1525-2562 12

ใบเป็ นรู
ใบฉีกขาด

สผี ดิ ปกติ
1) สผี ิดปกติเลก็ น้อย (ข้อ 2.2.2) 2) ใบเป็นรู ใบฉีกขาด (ข้อ 2.2.3)

ลาต้น รูปทรง
บิดเบ้ียว ผดิ ปกติ
เลก็ น้อย
3) รูปทรงผิดปกติ (ข้อ 2.2.3)
4) รูปทรงผดิ ปกติเลก็ น้อย (ข้อ 2.2.2)

มีรอย
แตกท่ี ตาหนิท่ผี วิ
ลาต้น

5) รอยแตกท่ลี าต้น (ข้อ 2.2.3) 6) ตาหนิท่ผี วิ (ข้อ 2.2.3)

ภาพที่ ก.7 ตัวอย่างลักษณะตาหนิ ซ่ึงยอมให้มไี ด้จากดั ตามช้ันคุณภาพ
(ข้อ 2.2.2 และ 2.2.3)

13 มกษ. 1525-2562

ภาคผนวก ข
การชกั ตวั อย่างและวิธีวิเคราะห์

ข. 1 การชกั ตวั อย่าง
ข.1.1 แผนการชกั ตวั อย่างสาหรบั การตรวจดา้ นคณุ ภาพ น้าหนกั สุทธิ การแสดงฉลาก

และเครือ่ งหมาย

ให้ใช้แผนการชักตวั อย่าง ตามตารางท่ี ข.1
ตารางที่ ข.1 แผนการชักตัวอย่างสาหรับการตรวจด้านคุณภาพ นา้ หนักสทุ ธิ การแสดงฉลาก

และเคร่ืองหมาย

ขนาดรุ่น (lot size) ขนาดตวั อย่าง (sample)
(จานวนหีบห่อในรุ่น) (จานวนหีบห่อทีต่ อ้ งชกั ตวั อย่าง)

≤100 5
101-300 7
301-500 9
501-1,000 10
>1,000 อย่างน้อย 15

ข.1.2 แผนการชกั ตวั อย่างสาหรบั การตรวจดา้ นความปลอดภยั

ข.1.2.1 แผนการชักตัวอย่างสารปนเป้ื อน ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมายหรือมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
ท่เี ก่ยี วข้อง หรือตามตารางท่ี ข.2
ข.1.2.2
แผนการชักตัวอย่างสารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตามข้อกาหนด มกษ. 9025 มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
เร่ืองวิธชี ักตัวอย่างเพ่ือตรวจหาสารพิษตกค้าง หรือตามตารางท่ี ข.2

มกษ. 1525-2562 14

ตารางที่ ข.2 แผนการชักตัวอย่างสาหรับการตรวจสารปนเป้ื อนและสารพิษตกค้าง

ขนาดรุ่น จานวนจุดทีส่ ุ่มเก็บ น้าหนกั ต่อจุด ปริมาณตา่ สุด จานวนตวั อย่าง
(kg) (จุด) (g) ทีส่ ่งทดสอบ ทีส่ ่งทดสอบ

น้อยกว่า 50 3 ไม่น้อยกว่า 100 1,000 g 1
1
50-500 5 ไม่น้อยกว่า 100 1,000 g 1
1
501-1,000 10 ไม่น้อยกว่า 100 1,000 g

มากกว่า 1,000 15 ไม่น้อยกว่า 100 1,000 g

ข.1.3 การเตรียมตวั อยา่ งส่งหอ้ งปฏิบตั ิการ

กรณีสง่ ห้องปฏบิ ัตกิ ารต้องเกบ็ ในภาชนะท่ปี ิ ดได้ ระบุข้อมูลชัดเจน อ่านได้ และติดแน่น ดังน้ี
- ช่ือตัวอย่าง ชนิด พันธุ์ (ถ้ามี) ช้ันคุณภาพ
- ช่ือผู้สง่ สนิ ค้า (consignor)
- สถานท่ชี ักตวั อย่าง
- วัน เวลาท่ชี ักตวั อย่าง
- รหัสตัวอย่างและรุ่น
- ลายมือช่ือของผู้ชักตวั อย่าง
- วิธกี ารชักตัวอย่าง
- สภาพแวดล้อมขณะชักตวั อย่างท่จี ะมผี ลต่อการวิเคราะห์
- ช่ือห้องปฏบิ ัติการทดสอบ (กรณีท่จี าเป็น)

ควรส่งตัวอย่างให้ถึงปลายทางเรว็ ท่สี ดุ เทา่ ท่จี ะทาได้เพ่ือป้ องกนั ไม่ให้ตวั อย่างเสยี หาย

ข.2 วิธีวิเคราะห์

ข.2.1 วิธีวิเคราะหด์ า้ นคุณภาพ การจัดขนาด น้าหนกั สุทธิ และการแสดงฉลากและ
เครือ่ งหมาย

ข.2.1.1 การตรวจพินิจ
ให้สุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 10 มัด/ห่อย่อย/ถุง จากตัวอย่างท่ีชักตัวอย่างมาตามตารางท่ี ข.1
และนาไปตรวจสอบคุณภาพตามข้อกาหนดข้ันต่า (ข้อ 2.1) การแบ่งช้ันคุณภาพ (ข้อ 2.2)
การจัดขนาด (ข้อ 3) เกณฑค์ วามคลาดเคล่ือนเร่ืองคุณภาพและขนาด (ข้อ 4.1 และ ข้อ 4.2)
และการจัดเรียงเสนอ (ข้อ 5) และการแสดงฉลากและเคร่ืองหมาย (ข้อ 6) โดยวิธกี ารตรวจพินิจ
และตรวจสอบทางประสาทสัมผัส โดยผู้ตรวจประเมินท่ีผ่านการอบรมหรือมีประสบการณ์
อย่างน้อย 3 คน และต้องผ่านความเหน็ ชอบจากผู้ตรวจสอบไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 จึงจะถือว่า
ผ่านตามเกณฑข์ ้อกาหนด

15 มกษ. 1525-2562

ข.2.1.2 การจัดขนาด
ให้ส่มุ ตัวอย่างอย่างน้อย 10 มัด/ห่อย่อย/ถุง จากแต่ละตัวอย่างท่ชี ักตัวอย่างมาตามตารางท่ี ข.1
และนาไปตรวจสอบ ดงั น้ี
ก) ช่ังคะน้าทลี ะต้นทุกต้น จากตัวอย่างท่ชี ักมา และบันทกึ ข้อมูลไว้ หรือ
ข) วัดความยาวทลี ะต้นทุกต้น และบันทกึ ข้อมูลไว้ ดงั น้ี
- คะน้าต้นและคะน้ ายอด และคะน้ าเห็ดหอม วัดความยาวจากโคนต้นถึงปลายใบ
ดงั ภาพท่ี ข.1-3
- คะน้าฮ่องกง วัดความยาวจากโคนต้นถึงปลายยอดช่อดอกตมู ดังภาพท่ี ข.4

ภาพที่ ข.1 การวัดความยาววัดจากโคนต้นถงึ ปลายใบของคะน้าต้น

ภาพที่ ข.2 การวัดความยาววัดจากโคนต้นถงึ ปลายใบของคะน้ายอด

มกษ. 1525-2562 16

ภาพที่ ข.3 การวัดความยาววัดจากโคนต้นถึงปลายใบของคะน้าเหด็ หอม

ภาพที่ ข.4 การวัดความยาววัดจากโคนต้นถงึ ปลายยอดช่อดอกตมู ของคะน้าฮ่องกง

ข.2.1.3 นา้ หนักสทุ ธิ
ให้นาตัวอย่างท่ชี ักตัวอย่างมาตามตารางท่ี ข.1 ไปช่ังนา้ หนักเพ่ือหานา้ หนักสทุ ธิของแต่ละหีบห่อ
เปรียบเทยี บกบั ข้อมูลท่รี ะบุในฉลากหรือใบกากบั สนิ ค้า (ข้อ 6)

ข.2.1.4 การจาแนกผลิตภณั ฑบ์ กพร่องด้านคุณภาพ การจัดขนาด และการแสดงฉลากและเคร่ืองหมาย
ตัวอย่างถือว่าเป็ นผลิตภัณฑ์บกพร่อง เม่ือผลการวิเคราะห์ตามข้อ ข.2.1.1 ถึง ข.2.1.3
ไม่เป็นไปตามข้อใดข้อหน่ึงของข้อกาหนดข้อ 2 ถงึ 6

17 มกษ. 1525-2562

ข.2.2 วิธีวิเคราะหด์ า้ นความปลอดภยั

ข.2.2.1 สารปนเป้ื อน (ข้อ 8)
วิธีวิเคราะห์ปริมาณสารปนเป้ื อน6/ ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย มาตรฐานสินค้าเกษตร
ท่เี ก่ยี วข้อง หรือวิธที ่เี ทยี บเทา่ หรือวิธใี ดวิธหี น่ึง ดังน้ี
ตะก่วั และแคดเมียม AOAC 999.10 โดยใช้หลักการ AAS after microwave digestions
ตะก่วั และแคดเมยี ม AOAC 999.11 โดยใช้หลักการ AAS after dry ashing

ข.2.2.2 สารพิษตกค้าง (ข้อ 9)
วิธวี ิเคราะห์ปริมาณสารพิษตกค้างให้เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย หรือมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร
ท่เี ก่ยี วข้อง

ข.2.2.3 สขุ ลักษณะ (ข้อ 10)
ก) ตรวจการผลิตและการปฏิบัติต่อคะน้าหรือตรวจใบรับรองตาม มกษ. 9001 มาตรฐาน

สนิ ค้าเกษตร เร่ือง การปฏบิ ัติทางการเกษตรท่ดี ีสาหรับพืชอาหาร หรือมาตรฐานท่เี ทยี บเทา่
ข) ตรวจใบอนุญาตตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ว่าด้วยเร่ืองกาหนดวิธกี ารผลิต เคร่ืองมือ

เคร่ืองใช้ในการผลิตและการเกบ็ รักษาผักหรือผลไม้สดบางชนิด และการแสดงฉลาก และตรวจ
การปฏบิ ัติต่อคะน้าหรือตรวจใบรับรองตาม มกษ. 9035 กรณีคะน้าท่มี ีการบรรจุในโรงคดั บรรจุ
ต้องได้รับการรับรองตาม มกษ. 9035 มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร เร่ือง การปฏบิ ัติท่ดี ีสาหรับ
โรงคัดบรรจุผกั และผลไม้สด หรือมาตรฐานท่เี ทยี บเทา่

ข.2.3 การยอมรบั รุ่น

รุ่น (lot) ของคะน้าจะยอมรับได้ ต้องเป็นไปตามเง่อื นไข ดังต่อไปน้ี
ก) ไม่พบว่ามผี ลิตภณั ฑบ์ กพร่อง ตามข้อ ข.2.1.4
ข) ไม่พบตัวอย่างใดตวั อย่างหน่ึงท่มี ีนา้ หนักสทุ ธติ ่ากว่าท่รี ะบุไว้ท่ฉี ลากหรือใบกากบั สนิ ค้า
ค) ไม่พบตัวอย่างใดตัวอย่างหน่ึงท่มี ีการแสดงฉลากและเคร่ืองหมายไม่เป็นไปตามข้อกาหนด 6
ง) วัตถุเจือปนอาหาร สารปนเป้ื อน สารพิษตกค้าง และสขุ ลักษณะ เป็นไปตามข้อกาหนด 7 ถงึ 10

6/กรณีท่ีไม่สามารถใช้วิธีวิเคราะห์ AOAC 999.10 หรือ AOAC 999.11 ได้ให้เลือกวิธีอ่ืนท่ีพิจารณาแล้วว่าเป็ นวิธีวิเคราะห์
ท่มี คี ณุ สมบตั ิการใช้งาน (performance characteristics) เหมาะสม และเป็นไปตามหลักเกณฑข์ ้อใดข้อหน่ึง ดงั ต่อไปน้ี

(1) เป็ นวิธีวิเคราะห์ท่ีประกาศโดยองค์การแห่งชาติ หรือองค์การระหว่างประเทศด้านมาตรฐาน หรือตีพิมพ์ในเอกสารคู่มือ
หรือสง่ิ ตีพิมพ์ท่เี ป็นท่ยี อมรบั ระดับสากล

(2) เป็นวธิ วี เิ คราะห์ท่มี ีผลการประเมินความใช้ได้ (validation) ของผลการทดสอบว่ามคี วามถูกต้องและเหมาะสม โดยห้องปฏบิ ัติการ
ท่มี กี ารร่วมศกึ ษากบั เครือข่าย (collaborative study) ตามหลกั เกณฑท์ ่สี อดคล้องกบั องคก์ ารนานาชาตซิ ่ึงเป็นท่ยี อมรบั ท่วั ไป

(3) กรณีไม่มีวิธีวิเคราะห์ตามข้อ (1) หรือ (2) ให้ใช้วิธีวิเคราะห์ท่ีได้ประเมินความใช้ได้ของผลการทดสอบว่ามีความถูกต้องและ
เหมาะสม โดยห้องปฏิบัติการแห่งเดียวท่มี ีระบบคุณภาพ (single laboratory validation) ตามหลักเกณฑท์ ่เี ป็นท่ยี อมรับในระดับ
ระหว่างประเทศ


Click to View FlipBook Version