The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารปรมาณูเพื่อสันติ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by OAP-Office of Atoms For Peace, 2020-09-18 07:05:46

oap-newsletter_vol.30_no.2_2560

วารสารปรมาณูเพื่อสันติ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2560

Keywords: oap-newsletter

Atoms for Peace Journal

วารสาร ปที ี่ 30 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ�ปี 2560

P.4 P.10
ครม. ไฟเขยี ว
วัสดุกัมมนั ตรังสี
แผนชาตดิ า้ นพลังงานนิวเคลยี ร์
ฉบับแรกของประเทศไทย ในสายล่อฟ้า

P.16
การฝังวสั ดแุกบัมบมนัถตารวงั รสี

เพ่ือการรักษาโรคมะเรง็

ปีท่ี 30 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560

Editor’s talk

พบกันอีกครั้งกับวารสารปรมาณูเพ่ือสันติ ปีท่ี 30 เจา้ ของ สำ�นักงานปรมาณูเพ่อื สนั ติ
ฉบบั ท่ี 2 ประจำ� ปี 2560 ในครั้งนี้ ขอนำ� เสนอบทความเด่น เร่ือง กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ของ ทปี่ รกึ ษา
ประเทศ พ.ศ. 2560 – 2569 ฉบับแรกของประเทศไทย หลังจาก
รัฐบาลประกาศนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ชาติในระยะ 20 ปี 1. ดร. อจั ฉรา วงศ์แสงจนั ทร์
เพอ่ื พฒั นาประเทศไทยไปสปู่ ระเทศทมี่ คี วามมนั่ คง มงั่ คง่ั และยง่ั ยนื เลขาธกิ ารสำ�นกั งานปรมาณูเพื่อสันติ
และนำ� พาประเทศกา้ วสูโ่ มเดล “ไทยแลนด์ 4.0” สำ� นักงานปรมาณู
เพื่อสันติ (ปส.) ในฐานะฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการพลังงาน 2. นางสาววไิ ลวรรณ ตันจอ้ ย
นวิ เคลยี รเ์ พอื่ สนั ติ จงึ ได้ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์ รองเลขาธิการสำ�นกั งานปรมาณูเพอ่ื สนั ติ
การพัฒนาดา้ นพลังงานนวิ เคลยี รข์ องประเทศดังกล่าวขึ้น คณะท�ำ งานพจิ ารณาจดั ท�ำ เอกสารเผยแพร่
ของสำ�นกั งานปรมาณูเพือ่ สันติ (กองบรรณาธิการ)
นอกจากนี้ ยังมีเร่ืองราวของการใช้เซลล์พันธุศาสตร์
ในการเตรียมความพร้อมรองรับเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี 1. นายสมบุญ จริ ชาญชยั
รวมถึงการฝังวัสดุกัมมันตรังสีเพื่อการรักษาโรคมะเร็งในอวัยวะ ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นความปลอดภยั ทางรังส ี
ต่างๆ วารสารฉบับน้ีรวบรวมบทความคุณภาพของนักวิชาการของ
ปส. ตั้งแต่เรื่อง “วัสดุกัมมันตรังสี” ช่วยให้ “สายล่อฟ้า” ท�ำงาน 2. นางสาวอัมพกิ า อภิชยั บคุ คล
มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้นจริงหรอื ? และวสั ดกุ ำ� บังรังสีจากยางท่ใี ชแ้ ล้ว ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ
อกี ดว้ ย ด้านพลังงานปรมาณู

3. นางวราภรณ์ วัชรสุรกลุ
บรรณาธิการ ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้านความปลอดภยั ทางนวิ เคลียร์

4. นางสาวอษุ า กลั ลประวทิ ย์
รักษาการในตำ�แหน่งทีป่ รึกษาดา้ นพลังงานปรมาณู

5. นายนฤพนธ์ เพ็ญศริ ิ
นกั ฟสิ กิ ส์รังสชี ำ�นาญการพเิ ศษ

6. นางสาวตวงพร เอง็ วงษต์ ระกลู
วศิ วกรนวิ เคลยี ร์ชำ�นาญการพิเศษ

7. นางสาวธนวรรณ แจ่มสุวรรณ
นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพเิ ศษ

8. ดร. พิภัทร พฤกษาโรจนกลุ
วิศวกรนวิ เคลยี รช์ ำ�นาญการพเิ ศษ

9. ดร. กติ ติศกั ด์ิ ชยั สรรค์
นักฟิสิกส์รังสีชำ�นาญการ

10. ดร. ไชยยศ สนุ ทราภา
วศิ วกรนิวเคลยี รช์ ำ�นาญการ

11. นางสาวสุประวีณ์ ศิริบุญประภพ
นกั นิวเคลียร์เคมีชำ�นาญการ

12. ดร. เดอื นดารา มาลาอินทร์
นักฟสิ ิกส์รังสีปฏิบตั ิการ

13. นางสาวกรรณิกา มณีวรรณ์ (ฝา่ ยเลขานุการ)
นักวิชาการเผยแพรช่ ำ�นาญการพเิ ศษ

14. นางสาวนุชจรยี ์ สัจจา
นักวชิ าการเผยแพร่ปฏบิ ตั ิการ
ออกแบบและพมิ พท์ ี่ : บริษัท มายด์ มเี ดีย เซ็นเตอร์ จำ�กดั

4 10 สารบญั

4 ครม. ไฟเขยี วแผนชาติดา้ นพลงั งานนวิ เคลียร์

ฉบบั แรกของประเทศไทย

6 วิธปี ระเมินผลกระทบต่อร่างกายจากการได้รบั รังสี

(Radiation Biodosimetry)

14 16 10 วสั ดกุ ัมมันตรงั สใี นสายลอ่ ฟา้
14 วสั ดกุ �ำ บงั รงั สจี ากยางใช้แล้ว
16 การฝงั วสั ดกุ ัมมนั ตรังสีแบบถาวร

เพ่อื การรกั ษาโรคมะเรง็

20 ปส. ยกระดบั คุณภาพชวี ิตคนไทย

แนะสังเกตสัญลักษณก์ อ่ นรบั บริการทางรงั สี

21 ไทยมสี ถานี RN65 ตรวจได้ทันที..

หากมกี ารทดลองนิวเคลยี ร์

20 21 22 แคค่ ลิ๊ก..ก็ทราบระดับรงั สแี กมมา

ในอากาศและในน้ำ�ของไทย

วารสารปรมาณูเพ่ือสันติ จัดท�ำข้ึนเพื่อเผยแพร่ภารกิจและการด�ำเนินงานของส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ รวมท้ังข่าวสาร

บทความทางวิชาการท่ีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ตลอดจนเป็นส่ือกลางในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่างๆ

อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการสง่ เสรมิ ความรู้ความเขา้ ใจในเทคโนโลยนี วิ เคลยี ร์ให้กวา้ งขวา้ งยิง่ ขนึ้

บรรณาธิการขอสงวนสิทธ์ิในการคัดเลือกและแก้ไขต้นฉบับท้ังเรื่องและภาพตามแต่จะเห็นสมควร โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบ

จากเจ้าของเรื่อง และไม่ส่งต้นฉบับคืน **ข้อคิดเห็น หรือ บทความในเอกสารฉบับนี้ เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนซึ่งไม่มีข้อผูกพันกับ

ส�ำนักงานปรมาณูเพอื่ สันตแิ ตอ่ ยา่ งใด**

ผสู้ นใจส่งข้อเขยี น หรือ ข้อเสนอแนะ
สามารถตดิ ต่อไดท้ ่ี กล่มุ ส่งเสรมิ ฝกึ อบรมและเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
เลขท่ี 16 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0 2579 5230, 0 2596 7600 ตอ่ 1123 - 1127 โทรสาร 0 2561 3013
E-mail : [email protected]

www.oap.go.th Atoms4Peace twitter.com/atomsnet

ครม. ไฟเขียวแผนชาติด้าน

พลังงานนิวเคลยี ร์

ฉบับแรกของประเทศไทย

โดย
ธนวรรณ แจม่ สุวรรณ • นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำนาญการพเิ ศษ
สายสรุ ยี ์ ปักกะทานงั • นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำนาญการ
จีระนนั ท์ เจียกวฒั นา • นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร
นริ ันดร บวั แย้ม • นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร
รตั ติญา เขียวทอง • นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร

พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานสะอาดท่ี อยา่ งยง่ั ยนื ตามมาตรฐานสากล สอดคลอ้ งตามบทบญั ญตั ิ
มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ ประเทศต่างๆ มีแนวโน้ม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ
การใช้พลังงานชนิดน้ีมากข้ึน และประเทศไทยถือ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เป็นประเทศแรกของภูมิภาคอาเซียน ท่ีริเริ่มการใช้ ฉบับที่ 12 นโยบายประเทศไทย 4.0 พระราชบัญญัติ
พลังงานนวิ เคลียร์มากวา่ 56 ปี ซ่ึงพลงั งานนวิ เคลียร์ พลงั งานนวิ เคลยี รเ์ พอื่ สนั ติ พ.ศ. 2559 และแนวโนม้ การใช้
ไดส้ รา้ งประโยชนต์ อ่ ประเทศชาตใิ นดา้ นตา่ งๆ มากมาย พลงั งานนวิ เคลยี รแ์ ละรงั สใี นอนาคต รวมถงึ ใหค้ วามสำ� คญั
ไมว่ า่ จะเปน็ ในดา้ นการแพทย์ การเกษตร อตุ สาหกรรม ตอ่ การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
และการศึกษาวิจัย ในกระบวนการจัดท�ำนโยบาย เพ่ือให้แผนยุทธศาสตร์
เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนอย่างแท้จริง
ท่ีผ่านมา ผู้เชี่ยวชาญจากทบวงการพลังงาน คณะกรรมการพลงั งานปรมาณเู พอื่ สนั ติ (ชอ่ื เดมิ ) ไดม้ มี ติ
ปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy เหน็ ชอบในหลักการ (ร่าง) นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์
Agency: IAEA) เห็นว่าประเทศไทยยังไม่มีการก�ำหนด การพฒั นาดา้ นพลงั งานนวิ เคลยี รข์ องประเทศ พ.ศ. 2560
นโยบายระดบั ชาตดิ า้ นนวิ เคลยี รท์ ช่ี ดั เจน “คณะกรรมการ – 2569 ในการประชมุ ครง้ั ที่ 3/2559 เมอ่ื วนั ที่ 30 สงิ หาคม
พลงั งานปรมาณเู พอื่ สนั ต”ิ (ปจั จบุ นั เปลยี่ นเปน็ คณะกรรมการ 2559 และคณะรฐั มนตรี ได้มมี ตเิ หน็ ชอบ (รา่ ง) นโยบาย
พลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ) จึงมอบหมายให้ส�ำนักงาน และแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นพลงั งานนวิ เคลยี รข์ อง
ปรมาณูเพ่ือสันติ (ปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ ประเทศ พ.ศ. 2560 - 2569 เมือ่ วันที่ 14 มนี าคม 2560
เทคโนโลยี ในฐานะฝ่ายเลขานุการ จัดท�ำ “นโยบาย ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีการพัฒนาพลังงาน
และแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นพลงั งานนวิ เคลยี ร์ นิวเคลียร์แบบบูรณาการอย่างปลอดภัย และมี
ของประเทศ” เพื่อเป็นกรอบก�ำหนดทิศทางและ ศักยภาพการแข่งขันในระดับน�ำของกลุ่มประเทศ
ส่งเสริมการใช้พลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทยให้เกิด อาเซียน” โดยขับเคลื่อนผ่านยุทธศาสตร์ส�ำคัญ
ความม่นั คง ปลอดภยั และสนบั สนนุ การพฒั นาประเทศ 4 ยุทธศาสตร์ 8 กลยทุ ธ์ ดังนี้

4 วารสารปรมาณูเพ่อื สันติ ปีที่ 30 ฉบับท่ี 2 ประจำ�ปี 2560

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2
ความร่วมมอื ระหว่างประเทศด้านพลงั งานนิวเคลยี ร์ การก�ำกบั ดูแลความปลอดภยั จากพลงั งานนวิ เคลยี ร์

กลยุทธ์ท่ี 1.1: ส่งเสริม กลยุทธ์ที่ 1.2: ส่งเสริม กลยุทธ์ที่ 2.1: บังคับใช้ กลยุทธ์ท่ี 2.2: พัฒนา
และสนบั สนนุ ความรว่ มมอื ให้ประเทศไทยมีบทบาท กฎหมาย ระเบยี บ มาตรการ ศักยภาพก�ำกับดูแลความ
ด้านพลังงานนิวเคลียร์ สำ� คญั ในทบวงการพลังงาน แนวทางโครงสรา้ งหลกั การ ปลอดภัย และระบบเฝ้า
ในภูมภิ าคอาเซยี น ปรมาณูระหวา่ งประเทศ บริหารและมาตรฐานการ ระวังภัยด้านนิวเคลียร์และ
นานาประเทศ และองคก์ าร ก�ำกับดูแลความปลอดภัย รังสีตามมาตรฐานสากล
ระหว่างประเทศ จากการใชพ้ ลงั งานนวิ เคลยี ร์
อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4
การผลติ และพฒั นากำ� ลงั คนและโครงสรา้ งพนื้ ฐาน การใชพ้ ลังงานนวิ เคลยี รเ์ พอ่ื การพฒั นาประเทศ

ด้านพลังงานนิวเคลียร์ กลยุทธ์ที่ 4.1: ส่งเสริม กลยุทธ์ที่ 4.2: สร้างความ
ใช้พลังงานนิวเคลียร์เพ่ือ ตระหนกั และเผยแพรค่ วามรู้
กลยุทธ์ที่ 3.1: ผลิต กลยุทธ์ที่ 3.2: พัฒนา สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศ ดา้ นพลังงานนิวเคลยี ร์
และพัฒนาบุคลากรด้าน โครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบ อยา่ งย่ังยนื
พลงั งานนวิ เคลียร์ สนับสนุนก า ร วิ จั ย แ ล ะ
พัฒนากิจการด้านพลังงาน
นิวเคลียร์

ปส. ได้ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานของนโยบาย ซ่ึงจะท�ำให้เกิดการปรับเปล่ียนโครงสร้างเศรษฐกิจจากเดิม
และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ของ ท่ีขับเคลื่อนด้วยปัจจัยแรงงานเป็นหลักมาเป็นเศรษฐกิจ
ประเทศให้สอดรับและตอบสนองกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีขับเคลื่อนด้วยฐานนวัตกรรมหรือ Value–Based Economy
ระยะ 20 ปี ดังน้ี ท้งั น้ี ประเทศไทยมกี ารน�ำวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยนี ิวเคลยี ร์
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ดา้ นความมน่ั คง เสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื มาเปน็ สว่ นส�ำคัญในการพฒั นากลุม่ อตุ สาหกรรมตา่ งๆ ดงั น้ี
ทางนวิ เคลยี รแ์ ละรงั สี ทงั้ ในและตา่ งประเทศ เพอ่ื พฒั นาเครอื ขา่ ย
การกำ� กบั ดแู ลการใชป้ ระโยชนจ์ ากพลงั งานนวิ เคลยี รแ์ ละรงั สขี อง 1. กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ
ประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะด้านความปลอดภัย เช่น การฉายรังสีเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและสินค้าบริโภค
ความมนั่ คงปลอดภยั และการพทิ กั ษค์ วามปลอดภยั ทางนวิ เคลยี ร์ ประเภทอ่ืนๆ ท่ีส่งออกต่างประเทศ ได้แก่ เครื่องเทศ ผลไม้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน กุง้ แช่แขง็ เปน็ ต้น
พัฒนาและน�ำเทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อภาคเศรษฐกิจของประเทศ สร้างความเข้มแข็งและมูลค่าเพิ่ม 2. กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทาง
ทางเศรษฐกิจให้กับภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ภาคบริการ การแพทย์ เช่น การใช้รังสีรักษาทางการแพทย์ การใช้รังสี
สาธารณสขุ พลังงาน และสิ่งแวดลอ้ ม ในอุตสาหกรรมปลอดเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อโรคในผลิตภัณฑ์
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน ผลติ และ ทางการแพทย์ เป็นต้น
พัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียร์และรังสีร่วมกับสถาบันการศึกษา
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ รวมถึง 3. กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และ
การถ่ายทอดและสร้างความตระหนักแก่ประชาชนทุกช่วงวัย ระบบเครื่องกลท่ีใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม เช่น ระบบ
ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในการใชป้ ระโยชนจ์ ากพลังงานนวิ เคลยี ร์ เตาปฏิกรณ์พลังงานนิวเคลียร์และโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
และรงั สีอย่างปลอดภัย ระบบเฝา้ ระวังเหตฉุ ุกเฉนิ ทางนวิ เคลียรแ์ ละรงั สี เป็นต้น

นอกจากน้ี การใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ 4. กลมุ่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรม และบรกิ าร
และรังสีก็มีส่วนส�ำคัญท่ีช่วยในการพัฒนาประเทศตาม ที่มีมูลค่าสูง เช่น อุตสาหกรรมการเดินเรือสมุทร การใช้รังสี
นโยบายประเทศไทย 4.0 เช่นกัน โดยการน�ำวิทยาศาสตร์ ในกระบวนผลิตอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ ได้แก่ ไม้ ยาง เป็นตน้
และเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาเป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาและ
สนับสนุนกระบวนการผลิต สร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน
ใหก้ ลมุ่ อตุ สาหกรรมทงั้ 5 กลมุ่ อตุ สาหกรรม โดยผา่ นกระบวนการ พลังงานนิวเคลียร์ของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2569 เป็น
พัฒนาทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ กรอบการขบั เคลอื่ นกจิ การดา้ นพลงั งานนวิ เคลยี รท์ สี่ �ำคญั ทชี่ ว่ ย
การส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่และรายย่อย การสร้างมูลค่า ส่งเสริมการพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย
เพม่ิ ใหก้ บั ภาคอตุ สาหกรรมบรกิ าร และการพฒั นาทกั ษะแรงงาน ให้มีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศมากย่ิงข้ึน
เปน็ กรอบในการก�ำกบั ดแู ลและการใชป้ ระโยชนจ์ ากพลงั งาน
นวิ เคลยี รข์ องทกุ หนว่ ยงานใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งปลอดภยั สนบั สนนุ
การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างยง่ั ยืน

Atoms for Peace Journal 5

วิธีประเมินผลกระทบตอ่ รา่ งกายจากการไดร้ บั รงั สี
(Radiation Biodosimetry)

โดย ดร. อิสริยา ชยั รมั ย์ • นักชีววิทยารังสปี ฏบิ ัติการ

หลายท่านอาจเคยทราบข่าวอุบัติภัยท่ีเกี่ยวข้องกับ หรอื การกอ่ การรา้ ยในกรงุ ลอนดอนเมอื่ คนื วนั ท่ี 3 มถิ ยุ ายน ค.ศ. 2017
เทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสี อาทิ อุบัติเหตุในโรงไฟฟ้าพลังงาน ซ่ึงเป็นข้อวิตกกังวลถึงความเป็นไปได้ในการก่อเหตุโดยใช้ระเบิด
นิวเคลียร์เชอร์โนบิล (Chernobyl) เมืองเชอร์โนบิล สหพันธรัฐ ติดกบั สารกมั มนั ตรงั สี (dirty bomb) ซึ่งจะทำ� ใหเ้ กิดการแพร่กระจาย
รัสเซียเดิมหรือตอนเหนือของประเทศยูเครนติดเขตแดนประเทศ และปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีเป็นบริเวณกว้าง ค�ำถามท่ีเกิดข้ึน
เบลารุสในปัจจุบัน ซ่ึงนับเป็นอุบัติเหตุท่ีเกิดการแพร่กระจาย หากเราอยู่ในเขตพื้นที่หรือบริเวณใกล้เขตพ้ืนที่เหล่านั้นคือ
ของสารกัมมันตรังสีคร้ังใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรปและ “จะทราบได้อยา่ งไรว่าเราไดร้ ับผลกระทบจากรงั สีหรือไม?่ ”
ประวัติศาสตร์โลก เน่ืองจากหลังเกิดเหตุระเบิดเพลิงไหม้มี
การร่ัวไหลของสารกัมมันตรังสีกว่าสองสัปดาห์ก่อนท่ีท่ัวโลกจะรับรู้ การประเมินปริมาณรังสีที่ประชาชนในพ้ืนท่ีและบริเวณ
และร่วมกันระงับเหตุเพ่ือหยุดการรั่วไหลดังกล่าวได้ ปัจจุบันยังพบ โดยรอบกรณีเกิดเหตุท่ีมีผู้ได้รับผลกระทบเป็นวงกว้างดังกล่าว
ระดบั รงั สตี กคา้ งในบางพน้ื ทข่ี องยโุ รปและแถบสแกนดเิ นเวยี ในระดบั ต้องเป็นไปตามกระบวนการท่ีไดม้ าตรฐาน โดยวิธที ่มี คี วามจำ� เพาะ
สงู กวา่ บรเิ วณอน่ื ในปี ค.ศ. 1987 เกดิ เหตกุ ารณก์ ารแพรก่ ระจายของ และใหค้ า่ ถกู ตอ้ ง เทย่ี งตรง แมน่ ยำ� และดำ� เนนิ การในเวลาอนั รวดเรว็
สารกัมมันตรังสีซีเซียม-137 (Cs-137) ในเมืองโกโยเนีย (Goiânia) เพอ่ื คลายความวติ กกงั วลของประชาชนและลดผลกระทบดา้ นสงั คม
ประเทศบราซลิ จากการแกะเครอ่ื งฉายรงั สรี กั ษาทม่ี สี ารกมั มนั ตรงั สี และเศรษฐกิจ อีกทัง้ ยงั ตอ้ งเป็นข้อมลู ประกอบการรักษาของแพทย์
ซเี ซียม-137 (Cs-137) เพอื่ น�ำเศษเหลก็ ไปขายมกี ารสัมผสั และส่งตอ่ เพือ่ ชว่ ยชวี ติ ผปู้ ่วยได้อย่างทันท่วงที ซ่ึงองคก์ ารอนามยั โลก (World
สารกมั มนั ตรงั สดี งั กลา่ วซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ ผงเรอื งแสง จนเกดิ การแพร่ Health Organisation,WHO) และ ทบวงการพลงั งานปรมาณรู ะหวา่ ง
กระจายปนเปื้อนเป็นบริเวณกว้างในชุมชนและบริการสาธารณะ ประเทศ (International Atomic Energy Agency, IAEA) ได้จัดท�ำ
มกี ารยนื ยันจ�ำนวนผทู้ ่ีเกดิ การเปรอะเปอ้ื น 249 คน คมู่ อื และแนะนำ� วธิ มี าตรฐานการตรวจวดั รงั สดี ว้ ยเทคนคิ ทางชวี ภาพ
เพ่ือใช้ตรวจสอบผลกระทบจากการได้รับรังสีและประเมินปริมาณ
ในปี ค.ศ. 2000 ที่จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย รังสีท่ปี ระชาชนไดร้ บั โดยตรง เรยี กกระบวนการดังกลา่ วว่า มาตรวดั
เกดิ เหตคุ ลา้ ยเหตกุ ารณท์ บ่ี ราซลิ คอื มกี ารลกั ลอบนำ� เครอื่ งฉายรงั สี รังสที างชวี ภาพ (Radiation Biodosimetry) หรอื ไบโอโดส (Biodose)
รักษามาแกะเพ่ือน�ำชิ้นส่วนตะก่ัวท่ีห่อหุ้มไปจ�ำหน่ายต่อยังร้าน
รับซ้ือของเก่า ต่างกันท่ีต้นก�ำเนิดรังสีเป็นโคบอลต์-60 (Co-60) ภาพที่ 1 การประเมนิ ระดบั ความเสย่ี งในพนื้ ทก่ี อ่ การรา้ ย วเิ คราะหส์ ถานการณ์
ซึ่งไม่มีลักษณะเป็นฝุ่นผง จึงไม่เกิดการฟุ้งกระจายเปรอะเปื้อน โดยหนว่ ยงานความมนั่ คงสหราชอาณาจกั ร MI5 จดั ทำ� แผนทโ่ี ดย Telegraph.co.uk
แต่ท�ำให้ผู้ที่สัมผัสโดยตรงและอยู่ในบริเวณที่ได้รับรังสีปริมาณสูง
มีอาการป่วยจากการได้รับรังสีแบบเฉียบพลัน (acute radiation
syndrome, ARS) เหตุการณ์ล่าสดุ ในปี ค.ศ. 2011 เกิดคลืน่ สึนามิ
ครั้งใหญ่ในเขตฟูกุชิมะ บริเวณภาคตะวันออกของเกาะฮอนชู
ประเทศญี่ปุ่น ท�ำให้ปั๊มน้�ำระบบหล่อเย็นเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ในโรงไฟฟา้ ฟกู ชุ มิ ะไดอจิ หิ ยดุ ทำ� งาน เกดิ ความรอ้ นในเตาปฏกิ รณส์ งู
และเกิดระเบิดไฮโดรเจนเกิดข้ึน ซ่ึงแม้เหตุการณ์ดังกล่าวไม่มี
ผู้เสียชีวิตโดยตรงจากการได้รับรังสีแต่สร้างความเสียหายทาง
เศรษฐกจิ และความกังวลให้แกป่ ระชาชนในบริเวณใกล้พืน้ ทเ่ี กดิ เหตุ
เป็นอยา่ งมาก

ปจั จบุ นั ทว่ั โลกยงั มคี วามเสย่ี งจากการกอ่ การรา้ ย โดยเฉพาะ
ความเสย่ี งในการกอ่ เหตใุ นบรเิ วณทม่ี คี นจำ� นวนมาก เชน่ การกอ่ การรา้ ย
ในกรงุ ปารสี เมอ่ื วนั ที่ 20 เมษายน ค.ศ. 2017 เหตรุ ะเบดิ พลชี พี ระหวา่ ง
งานคอนเสริ ต์ ในเมอื งแมนเชสเตอรเ์ มอ่ื วนั ท่ี 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2017

6 วารสารปรมาณเู พื่อสันติ ปที ่ี 30 ฉบบั ที่ 2 ประจำ�ปี 2560

“ไบโอโดส” คืออะไร ข้อมูลและผลการประเมินโดสจากไบโอโดสน้ีเป็นข้อมูลเสริมการวัด
ทางฟิสิกส์เท่านั้น ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้เนื่องจากขีดความ
ไบโอโดส หรอื Radiation Biodosimetry คอื การศกึ ษา สามารถการวดั ยงั ตำ�่ กวา่ การวดั ทางฟสิ กิ ส์ ไบโอโดสจดั เปน็ เครอ่ื งมอื
ความสมั พนั ธ์ของการเปลยี่ นแปลงทางชีวภาพจากการไดร้ บั รังสี ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และเปน็ ประโยชนใ์ นการจดั การสถานการณก์ รณี
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติที่วัดปริมาณที่แน่นอน ไมม่ เี ครอ่ื งวดั รงั สปี ระจำ� บคุ คล และถกู ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งประเมนิ ปรมิ าณ
ได้และมีความสัมพันธ์กับปริมาณรังสีที่บุคคลได้รับ สามารถ รงั สใี นประชาชนจำ� นวนมากทม่ี คี วามวติ กกงั วลวา่ อาจไดร้ บั ผลกระทบ
ตรวจวัดเพ่ือใช้ประเมินปริมาณรังสีหรือโดสได้โดยตรง ทั้งน้ี จากรงั สี
ผลการวดั ปรมิ าณรงั สที บี่ คุ คลไดร้ บั โดยกระบวนการไบโอโดสนนั้
เปน็ การประเมนิ ทเี่ ปน็ อสิ ระจากการวดั ปรมิ าณรงั สดี ว้ ยเครอื่ งมอื
ทางฟสิ กิ ส์ เชน่ ปรมิ าณรงั สที ว่ี ดั คา่ จากเครอ่ื งวดั รงั สปี ระจำ� ตวั บคุ คล
ชนิดต่างๆ โดสท่ีประเมินจากการใช้แฟนธอม หรือการคำ� นวณ
จากเวลาและระยะทางจากต้นก�ำเนิดรังสี การประเมินโดสท่ี
บุคคลได้รับกรณีเกิดอุบัติภัยทางนิวเคลียร์และรังสีที่ดีท่ีสุด
ควรพิจารณาจากข้อมูลจากทุกแหล่งที่สามารถจัดหาได้มา
ประกอบกนั ทงั้ จากไบโอโดส การวดั ทางฟสิ กิ ส์ การคำ� นวณ และ
การตรวจวดั ในพน้ื ทเ่ี กดิ เหตุ

ทำ�ไมต้อง “ไบโอโดส”? ภาพที่ 2 ตวั อยา่ งความผดิ ปกตทิ างโครโมโซมในเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวชนดิ ลมิ โฟไซต์
จากการได้รับรงั สีแกมมา จากตน้ ก�ำเนิดโคบอลต์ - 60 ทป่ี ริมาณรังสี 5 เกรย์
ประโยชน์โดยตรงของไบโอโดสทางการแพทย์คือ ภาพจาก nirs.qst.go.jp
การประเมนิ ปรมิ าณรงั สใี นคนไข้ อาทิ กรณคี นไขไ้ ดร้ บั รงั สปี รมิ าณ
สูงแบบเฉียบพลัน จะมีระยะฟักตัวก่อนร่างกายแสดงอาการ ไบโอโดส (biodose) แตกตา่ งจากไบโอเอสเส
ตา่ งๆ การรกั ษาของแพทยเ์ ปน็ การรกั ษาตามอาการ ดงั นนั้ หากมี (bioassay) อยา่ งไร?
การประเมินปริมาณรังสีท่ีผู้ป่วยได้รับจะเป็นอีกข้อมูลหนึ่ง
ท่ีส�ำคัญเพื่อช่วยในการวางแผนการรักษาของแพทย์ผู้รักษา หลังจากทราบความหมายของไบโอโดสแล้ว หลายท่าน
ได้ และข้อมูลจากไบโอโดสยังช่วยยืนยันผลจากการได้รับรังสี อาจเคยทราบถึงเทคนิคไบโอเอสเส และเกิดความสงสัยว่า
เฉียบพลันกรณีอาการในเบื้องต้นยังไม่ชัดเจน เช่น อ่อนเพลีย มคี วามเหมอื นหรอื แตกตา่ งจากไบโอโดสอยา่ งไร การวดั ปรมิ าณรงั สี
อาเจียน มีผื่นแดง เป็นต้น ว่าเป็นผลจากการได้รับรังสีหรือไม่ โดยเทคนคิ ไบโอเอสเส (radiation bioassays) เปน็ เทคนิค (1) เพอ่ื
เน่ืองจากอาการเหล่านี้บางส่วนคล้ายคลึงกับคนไข้ในสภาวะ ตรวจวดั วา่ มกี ารเปรอะเปอ้ื นภายในรา่ งกายหรอื ไม่ (2) ระบไุ อโซโทป
เครียดหรืออาหารเป็นพิษ ในทางกลับกัน ผลทางไบโอโดส ที่มีการเปรอะเปื้อน (3) ตรวจวัดการเปรอะเปื้อนภายในร่างกาย
สามารถช่วยให้ทราบว่าคนไข้ได้รับผลจากการได้รับรังสีแม้จะยัง เชงิ ปรมิ าณ ซงึ่ เปน็ การตรวจวดั กมั มนั ตภาพรงั สโี ดยตรง (radioactivity)
ไม่มีการแสดงอาการได้เช่นกัน กรณีท่ีคนไข้ยังไม่มีการแสดง จากตวั อยา่ งทางชีวภาพ อาทิ เลอื ด ปัสสาวะ อุจจาระ และเหงอื่
อาการเบ้ืองตน้ ดังกลา่ วนี้ อาจเกดิ จากการไดร้ ับรงั สีของร่างกาย ผลการตรวจวัดทางไบโอเอสเสสามารถน�ำมาใช้ในการประเมิน
เพยี งบางสว่ นแบบไมท่ วั่ รา่ งกาย ซง่ึ ผลทางไบโอโดสจะชว่ ยยนื ยนั ปรมิ าณรงั สที จ่ี ะสะสมในอนาคตในเวลาทจี่ ำ� เพาะเจาะจง นอกจากนี้
และชว่ ยใหส้ ามารถพยากรณเ์ วลาและอาการทจ่ี ะแสดงอาการได้ ยังสามารถใช้ในการประเมินขีดความสามารถทางการรักษา
ช่วยให้สามารถเตรียมการรักษาได้ทันท่วงที ในบางกรณีพบว่า การเปรอะเปื้อนภายในร่างกายได้ แตกต่างจากไบโอโดสที่เป็น
คนไขบ้ างรายไดร้ บั ปรมิ าณรงั สเี กนิ ระดบั ทกี่ อ่ อาการอาเจยี นและ การตรวจวัดผลทางชวี ภาพและนำ� มาประเมินปริมาณรังสี
อ่อนเพลีย แต่การได้รับรังสีแบบเฉียบพลันยังไม่แสดงอาการ
ในระยะเร่ิมแรก กรณีดังกล่าวน้ีสามารถประเมินปริมาณรังสี
และเตรียมการรักษาได้โดยใช้ข้อมูลความผิดปกติของโครโมโซม
ในเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ทางไบโอโดส โดยเฉพาะ
ไบโอโดสทปี่ ระเมนิ ดว้ ยเทคนคิ ทางเซลลพ์ นั ธศุ าสตร์ (cytogenetics)
สามารถประเมนิ ปรมิ าณรงั สใี นคนไขท้ ไ่ี ดร้ บั ปรมิ าณรงั สสี งู เฉพาะ
ทแ่ี บบไมท่ ว่ั รา่ งกายจงึ ยงั ไมแ่ สดงอาการทางคลนิ กิ ขอ้ มลู ปรมิ าณ
รังสีดังกล่าวนี้จะช่วยแพทย์คาดการณ์อาการทางคลินิกที่จะ
เกิดเนื่องจากเน้ือเยื่อถูกท�ำลายและวางแผนการรักษาคนไข้ได้

Atoms for Peace Journal 7

ไบโอโดสด้วยเทคนิคทางเซลล์พันธุศาสตรแ์ ละเทคนคิ อน่ื ๆ

ก่อนจะมีการค้นพบและสามารถพัฒนาเทคนิคการถ่าย เทคนิคการตรวจโครโมโซมดังกล่าวแล้ว จึงท�ำการศึกษาผลของรังสี
ภาพโครโมโซมมนุษย์ได้ชัดเจน มีการทดลองศึกษาผลของรังสีต่อ ตอ่ การเกดิ ความผดิ ปกตทิ างโครโมโซม และพบลกั ษณะความผดิ ปกติ
การแตกหักของโครโมโซมและการเกิดความผิดปกติของโครโมโซม เช่นเดียวกบั ท่ีเคยรายงานในถัว่ และแมลงหว่ี นอกจากการวเิ คราะห์
ในถว่ั และแมลงหว่ี เชน่ พบการแตกหกั (fragmentation) และเชอ่ื มตอ่ ความผิดปกติของโครโมโซมชนิดไดเซนตริกที่ถูกน�ำมาใช้
ที่ผิดปกติของโครโมโซมเกิดลักษณะท่ีพบแท่งโครโมโซมท่ีมีมากกว่า ในการศึกษาความผิดปกติทางโครโมโซมที่เป็นผลจากการได้รับ
หนงึ่ เซนโทรเมยี ร์ (centromere) เรยี กไดเซนตรกิ โครโมโซม (dicentric รงั สีแล้วนน้ั เทคนคิ อื่นๆ ไดถ้ กู นำ� มาใช้ในการระบดุ ชั นีทางชวี ภาพ
chromosome) คือโครโมโซมที่มีสองเซนโทรเมียร์หรือเซนตริกริง (biomarkers) ทช่ี บ้ี ง่ การแตกหกั ของดเี อนเอ อาทิ เทคนคิ การตรวจนบั
(centric ring) คือโครโมโซมท่ีมีลักษณะเช่ือมกันเป็นวง เป็นต้น จ�ำนวนเม็ดเลือด การตรวจวัดการลดลงของปริมาณเม็ดเลือดขาว
ผลจากการทดลองพบความสัมพันธ์ของปริมาณรังสีแปรผันตรงกับ ชนดิ ลมิ โฟไซตใ์ นเลอื ด (blood count และ Lymphocyte depletion
การเกิดความผิดปกติทางโครโมโซมดังกล่าว ความก้าวหน้าของ kinetic) เทคนคิ ทางเซลล์พันธศุ าสตรอ์ น่ื (premature chromosome
การวจิ ยั ในมนุษย์เร่ิมต้นโดยการศกึ ษาของ Nowell ในปี ค.ศ. 1960 condensation analysis และ cytokinesis block micronucleus
เร่ืองการศึกษาไฟโตฮีแมกกลูตินิน(Phytohaemagglutinin, PHA) analysis) ดัชนีระบุการแตกหักของดีเอนเอสายคู่ (γ - H2AX foci
ในการกระตุ้นการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของเม็ดเลือดขาวชนิด analysis) เทคนิคทางจโี นมิกส์ และอีพิจีโนมิกส์ (DNA microarray,
ลิวโคไชต์ ต่อมาไม่นานมีการค้นพบว่า PHA สามารถกระตุ้น qPCR, qNPA, MiRNA expression, proteins และ metabolic
การแบ่งเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์ได้เช่นกัน ท�ำให้สามารถ biomarkers) รวมถึงเทคนิคทางฟิสิกส์ชีวภาพ (electron
ตรวจพบโครโมโซมท่ีมีรูปร่างชัดเจนได้ในที่สุดเมื่อเซลล์แบ่งตัว paramagnetic resonance และoptically stimulated luminescence)
ถงึ ระยะเมตาเฟสซงึ่ เปน็ ระยะทโี่ ครโมโซมหดสน้ั ทส่ี ดุ หลงั การคน้ พบ เทคนิคที่มีการใช้ในประเทศไทย แสดงในภาพที่ 3

ภาพที่ 3 เทคนิคตา่ งๆ ทางไบโอโดสในการประเมินการไดร้ บั รงั สที ่มี ีการศึกษาในประเทศไทยซึ่งมีความแตกต่างดา้ น
ปริมาณรังสีที่เหมาะสมในการวัด เวลาท่ีใช้ในปฏิบัติการ และช่วงเวลาภายหลังได้รับรังสีที่ยังสามารถตรวจวัดด้วย
เทคนิคเหลา่ นั้น

8 วารสารปรมาณเู พอื่ สนั ติ ปีท่ี 30 ฉบบั ที่ 2 ประจำ�ปี 2560

หน่วยวดั ปรมิ าณรงั สที ท่ี ำ�การตรวจวัด

การวดั ปรมิ าณรงั สดี ว้ ยไบโอโดส เปน็ การหาความสมั พนั ธ์
การเกิดความผิดปกติทางโครโมโซมจากเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด
ลิมโฟไซต์กับปริมาณรังสีดูดกลืน เพื่อสร้างเป็นกราฟมาตรฐาน
(response calibration curve) โดยตรวจวัดปริมาณรังสีดูดกลืน
(absorbed dose) ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นเกรย์ (Gray, Gy) ไม่ใช่การวัด
ปริมาณรังสีสมมูล (equivalent dose) ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นซีเวิร์ต
(Sieverts, Sv)

สมาชิกเครอื ข่ายไบโอโดสในไทยและอาเซยี น
เพอื่ รองรบั การเกิดเหตฉุ กุ เฉนิ ทางนิวเคลยี ร์
และรังสี

ปส. มีการเสริมความรู้ด้านการวัดปริมาณรังสีด้วย
วิธีเซลล์พันธุศาสตร์แก่กลุ่มสมาชิกเครือข่ายและบุคคลภายนอก
ทสี่ นใจ เพอื่ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มเมอื่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ ทางนวิ เคลยี ร์
และรงั สเี กดิ ขนึ้ จะมเี ครอื ขา่ ยดงั กลา่ วครอบคลมุ ทวั่ ประเทศ รวมทงั้
สามารถวิเคราะห์ผลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องตามหลักวิชาการ
ซงึ่ สมาชกิ ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั
มหดิ ลมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์มหาวทิ ยาลยั
ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์กรมควบคมุ โรคสถาบนั เทคโนโลยี
นิวเคลียร์แห่งชาติ โดยมีส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติเป็นศูนย์กลาง
ประสานงาน สมาชิกในอาเซียน ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว
มาเลเซีย พมา่ ฟิลิปปินส์ สงิ คโปร์ และไทย

อา้ งองิ

Coleman CN, Koerner JF. Biodosimetry: Medicine, Science, and Systems to Support the Medical Decision-Maker Following a Large Scale
Nuclear or Radiation Incident. RadiatProt Dosimetry. 2016 Jul 29
Cytogenetic Dosimetry: Applications in Preparedness for and Response to Radiation Emergencies, (IAEA, PAHO, WHO, September 2011)
Fliedner TM. Nuclear terrorism: the role of hematology in coping with its health consequences. CurrOpinHematol. 2006 Nov; 13(6):436-44
International Atomic Energy Agency (IAEA). “The Radiological Accident in Goiânia.” Vienna, 1988
International Atomic Energy Agency (IAEA). The radiological accident in SamutPrakarn. — Vienna, 2002
International Atomic Energy Agency (IAEA). The Chernobyl Forum: 2003-2005. Chernobyl’s legacy: health, environmental and socio-economic
impacts. International Atomic Energy Agency, Vienna, 2006
MI5 – Sucurity Service. 27 May 2017 Threat level to the UK from international terrorism lowered to SEVERE -
See more at: https://www.mi5.gov.uk/news/threat-level-to-the-uk-from-international-terrorism-lowered-to-severe#sthash.dSkPXm1v.dpuf
Nowell. 1960. ‘Phytohaemagglutinin: an initiator of mitosis in cultures of normal human leukocytes’, Cancer Research 20: 462-466, 1960
Sullivan JM, Prasanna PG, Grace MB, Wathen LK, Wallace RL, Koerner JF, Coleman CN. Assessment of biodosimetry methods for a mass-casualty
radiological incident: medical response and management considerations. Health Phys. 2013 Dec; 105(6): 540-54
Walker, J. Samuel, Three Mile Island: A Nuclear Crisis in Historical Perspective, Berkeley: University of California Press, 2004
Wilkins RC, Romm H, Kao TC, Awa AA, Yoshida MA, Livingston GK, Jenkins MS, Oestreicher U, Pellmar TC, Prasanna PG. Interlaboratory
comparison of the dicentric chromosome assay for radiation biodosimetry in mass casualty events Radiat Res. 2008 May; 169(5): 551-60

Atoms for Peace Journal 9

วใัสนดสกุ ามัยมลันอ่ ตฟรงั า้ สี
โดย ดร. เดือนดารา มาลาอินทร์ • นกั ฟิสกิ สร์ งั สีปฏิบตั ิการ

ที่มา: https://www.reference.com/science/function-lightning-rod-43ebc8f44d14406

ฟ้าผ่าเกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร?

เม่ือมีไหลเวียนของกระแสอากาศอย่างรวดเร็ว อันตรายและความเสียหายจากฟา้ ผา่
และรุนแรง ท�ำให้หยดน�้ำและก้อนน้�ำแข็งในเมฆเสียดสีกัน
จนเกิดประจุไฟฟ้า และเกิดการปลดปล่อยประจุไฟฟ้า ฟ้าผ่าสร้างความต่ืนตระหนกให้แก่มนุษย์ในช่วง
ออกจากเมฆฝนฟ้าคะนอง (Thunder cloud) หรือท่ีเรียกว่า แรกๆ อย่างมาก ปัจจุบันผู้คนก็ยังคงหวาดกลัวฟ้าผ่ากันอยู่
เมฆควิ มโู ลนมิ บสั (Cumulonimbus) เปน็ สว่ นใหญ่ โดยประจลุ บ เนื่องจากประกายไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนก่อให้เกิดความเสียหายของ
จะอยู่บริเวณฐานเมฆ และประจุบวกจะอออยู่บริเวณ อาคารสูง ท่ีมักจะถูกฟ้าผ่าได้ง่าย อีกทั้งผู้คนท่ีเดินไปมาตาม
ยอดเมฆ ประจุลบจะเหนี่ยวน�ำให้พ้ืนผิวโลกที่อยู่ด้านล่างมี ท้องถนนก็สามารถถูกฟ้าผ่าได้เช่นกัน ฟ้าผ่ามีแรงดันไฟฟ้า
ประจเุ ป็นบวก สูงได้ถึง 100 ล้านโวลต์ มีกระแสไฟฟ้าประมาณ 25-250
กิโลแอมแปร์ มีอุณหภูมิประมาณ 15,000 องศาเซลเซียส
ฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆเกิดจากการเคล่ือนท่ีของ มีความเร็วประมาณ 1/10 ของความเร็วแสง สามารถวิ่งผ่าน
ประจุลบด้านล่างไปยังประจุบวกด้านบนของก้อนเมฆ และ ร่างกายด้วยเวลาเพียง 1/10,0000-1/1,000 วินาที ท�ำให้
ฟา้ ผา่ จากกอ้ นเมฆหนง่ึ ไปยงั อกี กอ้ นเมฆหนง่ึ เชน่ การเคลอื่ นที่ ผู้ท่ีถูกฟ้าผ่าได้รับบาดเจ็บโดยเฉพาะต่อการท�ำงานของหัวใจ
ของประจุลบจากก้อนเมฆหน่ึงไปยังประจุบวกในอีกก้อนเมฆ และระบบประสาทหรืออาจรุนแรงถึงข้ันเสียชีวิตได้ทันที
หนึ่ง ซ่ึงฟ้าผ่าท้ังสองแบบน้ี ท�ำให้เกิดแสงที่คนไทย เรียกว่า จากข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บรุนแรงจากการถูกฟ้าผ่า
“ฟา้ แลบ” สว่ นฟา้ ผา่ จากฐานเมฆลงสพู่ น้ื และฟา้ ผา่ จากยอดเมฆ (Lightning-related injuries) พบวา่ ประเทศไทยมผี บู้ าดเจบ็ รนุ แรง
ลงสูพ่ น้ื เป็นการปลดปล่อยประจุลบ และประจุบวกออกจาก (ผูบ้ าดเจบ็ ท่ีบาดเจ็บไมเ่ กิน 7 วันเขา้ รับการรกั ษาท่หี อ้ งฉุกเฉิน
ก้อนเมฆตามล�ำดับ ซึ่งเรียกว่า “ฟ้าผ่าแบบลบ (Negative และรับไว้สังเกตอาการหรือรับไว้รักษาในโรงพยาบาลหรือ
lightning) และแบบบวก (Positive lightning)” ในขณะที่ประจุ เสยี ชวี ติ ) จากการถกู ฟา้ ผา่ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2551-2555 ถงึ 180 คน
เคล่ือนที่แหวกผ่านไปในอากาศด้วยความเร็วสูงจะเกิดแรง เฉล่ยี ปลี ะ 36 คน เสยี ชีวติ 46 คน อตั ราเจบ็ ตายรอ้ ยละ 23.89
ผลักอากาศให้แยกออกจากกันอย่างรวดเร็ว และเมื่ออากาศ และมจี ำ� นวนวนั ทมี่ ฝี นฟา้ คะนองเฉลยี่ สงู สดุ ถงึ 155.76 วนั ตอ่ ปี
เคล่ือนท่ีกลับเข้ามากระทบกันจนเกิดเสียงดังขึ้น เรียกว่า ในแต่ละปที ่วั โลกจะเกิดเหตุฟ้าผ่าราว 16 ล้านคร้ัง ในสหรัฐฯ
"ฟ้ารอ้ ง" พื้นที่ท่ีเกิดฟ้าผ่ามากท่ีสุดคือบริเวณตอนกลางของมลรัฐ
ฟลอรดิ า ซง่ึ มสี ถติ กิ ารเกดิ ฟา้ ผา่ มากกวา่ 50 ครงั้ ตอ่ ตารางไมล์
ต่อปี ในขณะที่ประเทศไทยมคี วามถีใ่ นการเกดิ ฟ้าผ่าเฉลี่ย 15
คร้ังต่อพ้ืนที่ตารางกิโลเมตรต่อปี (ข้อมูลจากองค์การบริหาร
การบินและอวกาศ หรือ “นาซ่า”) และพบมีฟ้าผ่ามากท่ีสุด
ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

10 วารสารปรมาณเู พื่อสันติ ปที ี่ 30 ฉบับท่ี 2 ประจ�ำ ปี 2560

“วสั ดุกมั มนั ตรังส”ี ช่วยให้ “สายล่อฟ้า” ทำ�งานมีประสิทธภิ าพมากขึน้ จริงหรือ?

ปี ค.ศ. 1752 (พ.ศ. 2295) เบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin ราวปี ค.ศ. 1960 (พ.ศ.2503) เกดิ ขอ้ สงสัย
Franklin) ชาวสหรฐั อเมรกิ า ไดค้ ดิ คน้ และประดษิ ฐส์ ายลอ่ ฟา้ หรอื แทง่ ลอ่ ฟา้ เกยี่ วกบั ประสทิ ธภิ าพของแทง่ ลอ่ ฟา้ ทมี่ วี สั ดกุ มั มนั ตรงั สี
(Lightning preventor หรือ Lightning rod) ขึ้นเพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย วา่ วสั ดุกมั มันตรังสีทม่ี ีอยใู่ นแท่งล่อฟา้ นั้นไม่สามารถ
ในการถ่ายเทประจุไฟฟ้าจากก้อนเมฆ โดยตรงปลายแหลมของสายล่อฟ้า ทำ� หนา้ ทใี่ นการปอ้ งกนั การเกดิ ฟา้ ผา่ ไดต้ ามทกี่ ลา่ วอา้ ง
จะมลี กั ษณะเปน็ โลหะทม่ี สี นามไฟฟา้ คอ่ นขา้ งแรงกวา่ บรเิ วณอนื่ สนามไฟฟา้ นี้ เนื่องจากไม่มีการยืนยันหรือมีเอกสารหลักฐาน
จะเหนยี่ วนำ� โมเลกลุ ของอากาศให้เข้ามาใกล้ๆ แลว้ รับประจุไฟฟา้ สว่ นเกิน เพียงพอ และถึงแม้ว่าจะเป็นที่ยอมรับว่าวัสดุ
นั้นไป ส่งผลให้ความต่างศักย์ที่เกิดข้ึนระหว่างก้อนเมฆและหลังคาลดลง กัมมันตรังสีไม่มีความสามารถในการเพ่ิมขอบเขต
โดยน�ำประจุไฟฟ้าที่เกินลงสพู่ ้ืนดินผา่ นสายเหนย่ี วน�ำ การป้องกันการเกิดฟ้าผ่าได้จริง แต่ยังคงมีการติดต้ัง
แทง่ ลอ่ ฟา้ ประเภทนตี้ ามตกึ และอาคารสำ� นกั งานตา่ งๆ
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ได้มีการน�ำวัสดุกัมมันตรังสี ทั่วโลก และมีการใช้เร่ือยมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่ปี
ที่น�ำมาใช้ร่วมกับแท่งแฟรงคลิน เพื่อช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการท�ำงานของ ค.ศ. 1970 (พ.ศ.2513) เป็นต้นมา หลายประเทศ
แท่งล่อฟา้ บนพ้ืนฐานของความเช่ือที่วา่ วสั ดุกัมมันตรังสสี ามารถก่อใหเ้ กิด ได้ด�ำเนินโครงการร้ือถอนและปลดสายล่อฟ้าท่ีมี
การแตกตัวเป็นไอออนของอากาศ (Ionization) ที่อยู่รอบๆ แท่งได้ และ วัสดุกัมมันตรังสีออกจากการใช้งาน และปัจจุบันได้
การเกิดเป็นไอออนของอากาศนี้จะสามารถล่อฟ้าให้ผ่าลงท่ีแท่งล่อฟ้าได้ ห้ามการน�ำเข้าและใช้สายล่อฟ้าที่มีวัสดุกัมมันตรังสี
ซึ่งมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าและง่ายต่อการติดตั้งมากกว่าระบบป้องกันฟ้าผ่า ในประเทศแถบทวปี ยโุ รป เชน่ ฝรง่ั เศส ไอรแ์ ลนด์ อติ าลี
แบบปกตทิ วั่ ไป ในช่วงปี ค.ศ. 1930-1939 (พ.ศ.2473-2482) ได้มีการตดิ ต้งั ลกั เซมเบิรก์ เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน ตุรกี ฯลฯ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าประเภทน้ีในหลายประเทศ ในช่วงแรกนิวไคลด์
กัมมันตรังสีท่ีถูกน�ำมาใช้ คือ Ra-226 และต่อมาได้มีการน�ำนิวไคลด์ ในประเทศไทย ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบ
กัมมันตรังสีอื่นๆ มาใช้ ได้แก่ Po-210, Am-241, Kr-85 และ Co-60 แท่งอีเอสอีไม่ได้รับการรับรองจากมาตรฐานสากล
โดยค่ากมั มนั ตภาพของ Am-241 มคี า่ ประมาณ 1-10 GBq ต่อแท่ง รูปที่ 1 รวมถงึ มาตรฐานการปอ้ งกนั ฟา้ ผา่ สำ� หรบั สง่ิ ปลกู สรา้ ง
และ 2 แสดงภาพแท่งล่อฟา้ แบบแฟรงคลนิ และแทง่ ล่อฟ้าอีเอสอี ชนดิ ที่มี ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ใน
วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี ตามลำ� ดับ พระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดยจากกรณีศึกษา
ประสิทธิภาพการท�ำงานของแท่งล่อฟ้าระบบอีเอสอี
รปู ท่ี 1 แท่งล่อฟ้าแบบแฟรงคลนิ ภายในมหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ไดม้ กี ารตดิ ตง้ั ระบบ
ลอ่ ฟา้ แบบอเี อสอี แตอ่ าคารดงั กลา่ วถกู ฟา้ ผา่ จนหลงั คา
ได้รับความเสียหาย โดยระบบล่อฟ้าแบบอีเอสอีที่ใช้
ระบุว่าเป็นไปตามมาตรฐาน NFC 17-102 ซึ่งเป็น
มาตรฐานของฝร่ังเศส โดยมาตรฐานน้ีถูกน�ำไปใช้
ในการขอมาตรฐานสากลและมาตรฐานท่ีใช้ใน
ประเทศตา่ งๆ อกี หลายมาตรฐาน แตไ่ มผ่ า่ นการรบั รอง
ตามมาตรฐาน NFC 17-102 ระบวุ า่ ระบบลอ่ ฟา้ ดงั กลา่ ว
มีคุณสมบัติในการป้องกันฟ้าผ่าได้ในรัศมี 60 เมตร
ซ่ึงครอบคลุมพ้ืนที่ทั้งหมดของอาคาร แต่ในสภาพ
การท�ำงานจริง ระบบล่อฟ้าดังกล่าวไม่สามารถท�ำ
การป้องกันฟา้ ผ่าไดใ้ นพื้นทปี่ ้องกันที่ออกแบบไว้

รปู ท่ี 2 แท่งลอ่ ฟ้าอเี อสอีชนดิ ทีม่ ีวสั ดกุ ัมมันตรังสี

Atoms for Peace Journal 11

แนวทางการกำ�กบั ดูแลของประเทศไทย

ตามหลักการของระบบการป้องกันอันตรายจากรังสี
(System of Radiation Protection) ประชาชนผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ใดๆ
ทม่ี วี สั ดกุ มั มนั ตรงั สเี ปน็ สว่ นประกอบจะตอ้ งไดร้ บั ประโยชนม์ ากกวา่
ความเส่ียงหรืออันตรายทางรังสีท่ีจะได้รับจากการใช้ผลิตภัณฑ์
ชนิดน้ันๆ กล่าวคือ จะต้องมีการเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์ที่
จะได้รับกับความเส่ียงที่ผู้ใช้จะได้รับรังสีเพ่ิมข้ึนด้วย หากประโยชน์
ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังไม่มีผลงานวิจัยท่ีน่าเชื่อถือได้มารองรับ
ประชาชนผใู้ ชจ้ งึ ควรหลกี เลย่ี งการใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ หลา่ นี้ เนอ่ื งจากอาจ
ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ ดๆ และอาจนำ� ไปสกู่ ารไดร้ บั รงั สโี ดยไมจ่ ำ� เปน็

จากกรณีศึกษาการใช้ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีวัสดุ
กัมมันตรังสี พบว่า สายล่อฟ้ามักจะถูกติดต้ังในจุดท่ีค่อนข้างห่าง
และยากต่อการเข้าถึงของคน ส่งผลให้ปริมาณรังสีที่จะได้รับจาก
การใช้งานปกติมีแนวโน้มที่ต�่ำมาก อย่างไรก็ตาม ระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าแบบแท่งอีเอสอีนี้ยังไม่ได้รับการรับรองจากมาตรฐานสากล
รวมถึงมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ดังน้ัน ประชาชนจึงควรหลีกเล่ียง
การใช้งานระบบป้องกันฟ้าผ่าท่ีไม่ได้รับการรับรอง เพราะอาจ
ท�ำให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อชีวิตและทรัพย์สิน เนื่องจากสายล่อฟ้า
ประเภทน้ีไม่ได้มีประสิทธิภาพมากกว่าสายล่อฟ้าชนิดท่ีไม่มี
วัสดุกมั มันตรงั สตี ามที่กลา่ วอา้ ง

ปัจจุบันส�ำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติในฐานะหน่วยงาน
ก�ำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี มีการควบคุมก�ำกับดูแลให้มี
การขออนุญาตในการน�ำเข้า ผลิต ครอบครองหรือใช้สายล่อฟ้า
ท่ีมีวัสดุกัมมันตรังสี ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มว่าสายล่อฟ้าเหล่านี้
จะไม่อนุญาตให้ใช้อีกต่อไป เนื่องจากไม่ได้มีประสิทธิภาพมากกว่า
แท่งล่อฟ้าแบบแฟรงคลิน อีกท้ัง สายล่อฟ้าประเภทน้ีหลังเลิก
การใชง้ านแลว้ จะต้องจัดการเปน็ กากกมั มนั ตรงั สีดว้ ย โดยส่งไปยัง
ศูนย์จัดการกากกัมมันตรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ
(สทน.) เพื่อท�ำการจัดการกากกัมมันตรังสีอย่างถูกต้องและ
เหมาะสมต่อไป

รปู ท่ี 3 ขั้นตอนการจัดการสายล่อฟา้ ท่มี ีวสั ดกุ มั มันตรงั สหี ลงั เลกิ ใช้งานแลว้

12 วารสารปรมาณูเพอ่ื สันติ ปที ่ี 30 ฉบับที่ 2 ประจ�ำ ปี 2560

ท่มี า: http://www.architecturaldigest.com/story/watch-empire-state-building-struck-lighting

อา้ งองิ
ดร.บญั ชา ธนบุญสมบัติ, ศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวสั ดุแหง่ ชาต,ิ ‘ฟา้ ผ่า...เรื่องทคี่ ุณตอ้ งรู’้ , [สบื ค้น 8 ธ.ค.2559]
เข้าถึงไดท้ ่ี file:///C:/Users/Administrator/Downloads/254_31-46.pdf
ฟา้ ผ่า: อุบตั ภิ ยั ทางธรรมชาตทิ ตี่ ้องระมัดระวัง, [สืบคน้ 8 ธ.ค.2559]
เขา้ ถึงได้ท่ี www.radio.nakhonsi.com/detail/doc_download/a_050813_110824.doc
อรฐั า รงั ผง้ึ , พิมพ์ภา เตชะกมลสุข และอนงค์ แสงจันทร์ทิพย์, สำ�นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ,
“การบาดเจบ็ รนุ แรงจากการถกู ฟ้าผา่ ขอ้ มูลจากระบบเฝา้ ระวังการบาดเจ็บแหง่ ชาติ ปี พ.ศ.2555”, รายงาน
การเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยาประจำ�สปั ดาห์ ปที ่ี 44 ฉบบั ที่ 27 วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2556 หน้า 417-420
ปราณี วงค์จันทรต์ ะ๊ , “ปรากฏการณก์ ารเกิดฟา้ ผ่าและการปอ้ งกนั ”, วารสารการศกึ ษาและการพัฒนาสังคม ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1
ปีการศึกษา 2556
Jernegan, M. W. "Benjamin Franklin's "Electrical Kite" and Lightning Rod". The New England Quarterly (The New
England Quarterly), Volume 1 (2), 1928, pp.180–196.
IAEA, Justification of Practices, Including Non-Medical Human Imaging: IAEA Safety Standards for protecting people
and the environment, General Safety Guide No. GSG-5, Vienna, 2014
J Shaw, J Dunderdale and R A Paynter, “A Review of Consumer products Containing Radioactive Substances in
the European Union”, RP-146, 2007
วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ.์ 2553. มาตรฐานการป้องกันฟ้าผา่ ภาคที่ 3 ความเสยี หายทางกายภาพ
ตอ่ ส่ิงปลูกสรา้ ง และอนั ตรายตอ่ ชีวิต (Thai Standard : Protection Against Lightning Part 3 Physical Damage to
Structures and Life Hazard)
Conventional and Unconventional Lighting Air Terminals, [Access November 18, 2016]
Available from: http://www.lightningsafety.com/nlsi_lhm/ACEM_Journal_Q1_2007.pdf

Atoms for Peace Journal 13

จวาัสกดยกุ า�ำงบใงั ชร้แังลส้วี
โดย ดร.พภิ ทั ร พฤกษาโรจนกุล • วิศวกรนวิ เคลียรช์ ำ� นาญการพเิ ศษ

ยางเป็นวัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่าย จุดเด่น รปู ท่ี 1 ยางพารา
ของยางธรรมชาติ คือ มีความยืดหยุ่น (Elasticity) รปู ท่ี 2 ยางรถยนต์ใช้แลว้
เมื่อถูกแรงภายนอกกระท�ำยางจะสามารถกลับคืน
รูปร่างและขนาดที่ใกล้เคียงแบบเดิมได้อย่างรวดเร็ว
และมีสมบัติด้านการเหนียวติดกัน (Tack) จึงเหมาะ
ส�ำหรับการผลิตยางในอุตสาหกรรมยางรถยนต์
ดว้ ยปรมิ าณการใชร้ ถยนตม์ เี พมิ่ มากขนึ้ จงึ สง่ ผลใหเ้ กดิ
ของเสยี จากยางรถยนต์เพม่ิ ขนึ้ ตามมา

กระบวนการน�ำผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วมา
แปรรูปเพ่ือน�ำกลับมาใช้ใหม่หรือรีไซเคิล (Recycle)
เปน็ กระบวนการจดั การของเสยี อยา่ งหนงึ่ ทน่ี ยิ มนำ� มา
ใชอ้ ยา่ งมากในปจั จบุ นั โดยสำ� หรบั ยางรถยนตเ์ ปน็ การ
นำ� ยางรถยนตท์ ใี่ ชแ้ ลว้ มาผา่ นกระบวนการแปรรปู ดว้ ย
เครื่องมอื เชิงกลจนไดย้ างผง หรือ ยางครัมบ์ (Crumb
rubber) ออกมา

วตั ถปุ ระสงค์หลักในงานวจิ ัยมี 2 ประการ คือ การน�ำวัสดธุ รรมชาติทห่ี าไดง้ า่ ยมาประยกุ ต์
ใช้กับงานด้านวิศวกรรม และการลดปริมาณของเสียท่ีเกิดข้ึนโดยการน�ำยางผงท่ีได้จากยางรถยนต์
น�ำกลับมาใช้ใหม่ ยางรถยนต์ท่ีใช้แล้วในงานวิจัยผลิตมาจากยางธรรมชาติที่องค์ประกอบทางเคมี
ประกอบดว้ ยอะตอมของธาตุไฮโดรเจนและคารบ์ อน ซึ่งอะตอมของไฮโดรเจนมเี ลขอะตอมต่�ำ และมี
ค่าภาคตัดขวางของการกระเจิงของนวิ ตรอนสงู จงึ มคี ณุ สมบัตใิ นการหนว่ งความเรว็ นิวตรอนไดด้ ี

รปู ที่ 3 ยางผง รูปท่ี 4 ภาพถา่ ยด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM)

14 วารสารปรมาณูเพอื่ สนั ติ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 ประจ�ำ ปี 2560

ผู้วิจัยศึกษาการออกแบบวัสดุก�ำบังรังสีโดยการจ�ำลองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบมอนติคาร์โล หรือโปรแกรม MCNP
เพ่ือศึกษาการลดทอนรังสีนิวตรอนและรังสีแกมมาจากวัสดุชนิดต่างๆ โดยวัสดุก�ำบังรังสีที่ใช้ในงานวิจัยมีส่วนผสมหลัก 2 ส่วน ได้แก่
ซีเมนต์เพสต์ (Cement Paste) ซึ่งประกอบด้วยปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ผสมน�้ำ และวัสดุอัดแทรก (Filler) แบบมวลรวมละเอียดได้แก่
ยางผงและวัสดุความหนาแน่นสูง โปรแกรมจ�ำลองมีส่วนช่วยอย่างยิ่งในการก�ำหนดสัดส่วนของวัสดุให้มีความเหมาะสมก่อนการข้ึนรูป
วัสดุกำ� บังรงั สีจริง ซ่ึงมชี ว่ ยในการลดคา่ ใช้จ่ายท่ไี มจ่ �ำเปน็ ท่อี าจเกดิ ขนึ้ ในการข้นึ รปู วัสดกุ �ำบงั รังสี เพอื่ ให้ไดว้ สั ดุก�ำบังรังสที ี่สามารถลดทอน
ปรมิ าณรงั สนี ิวตรอนและรงั สีแกมมาท่ดี แี ละมปี ระสทิ ธิภาพสงู

รูปท่ี 5 แสดงรปู จำ� ลองแบบสามมิติ และรปู ที่ 6 แสดงอันตรกริ ยิ าของนิวตรอนกบั วัสดุ

รปู ที่ 7 แสดงคา่ ปริมาณรังสีในแต่ละช่วงพลงั งาน

องค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาวิจัยจะถูกน�ำไปใช้ในการพัฒนาวัสดุก�ำบังรังสีเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น งานวิจัยน้ีเป็น
งานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ของภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีรองศาสตราจารย์
ดร. ดลุ ยพงศ์ วงศแ์ สวง เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา และมี ดร.สมชาย ตนั ชรากรณ์ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยวชิ าการ สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน
(องค์การมหาชน) เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ภายใต้ทุนพัฒนาบุคลากรในสังกัดสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยได้รับความอนุเคราะห์จาก ดร.พิภัทร พฤกษาโรจนกุล วิศวกรนิวเคลียร์ช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นผู้ให้ค�ำปรึกษาด้านการสร้างแบบจ�ำลองด้วยโปรแกรม MCNP ผลจากการวิจัยพบว่า
วัสดุก�ำบังรังสีท่ีผลิตจากคอนกรีตความหนาแน่นสูงผสมยางผงสามารถลดทอนปริมาณรังสีนิวตรอนได้ดีกว่าวัสดุก�ำบังรังสี
ที่ท�ำจากคอนกรีตธรรมดา และคอนกรีตความหนาแน่นสูง ผลท่ีได้จากงานวิจัยนี้น�ำไสู่การน�ำผลิตภัณฑ์ใช้แล้วมาประยุกต์ใช้กับงาน
ด้านวิศวกรรมนิวเคลียร์เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และสามารถน�ำไปประยุกต์
ใช้กับงานวศิ วกรรมด้านอื่นๆ ไดอ้ ีกตอ่ ไปในอนาคต

อา้ งองิ 15
วารสารเพอื่ การพฒั นาของอตุ สาหกรรมยางไทย วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารยาง ปีท่ี 3 ฉบับท่ี 3 กรกฎาคม-กนั ยายน 2552

Atoms for Peace Journal

การฝังวัสดกุ ัมมันตรงั สีแบบถาวร
เพื่อการรักษาโรคมะเร็ง

โดย ณรงค์เวทย์ บุญเตม็ • นักฟสิ กิ สร์ งั สีชำ� นาญการ
กนกพร ธรฤทธิ์ • นกั ฟิสกิ ส์รังสีปฏิบัติการ

ปจั จบุ นั มกี ารพฒั นาการรกั ษาโรคมะเรง็ ลักษณะวัสดกุ มั มันตรังสที น่ี ำ�มาใช้
ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ อย่างหลากหลาย ซงึ่ การฝังวสั ดุ
กมั มนั ตรงั สเี พอ่ื การรกั ษาโรคมะเรง็ ในอวยั วะตา่ งๆ วัสดุกัมมันตรังสีที่น�ำมาใช้ส�ำหรับการรักษาด้วยวิธีนี้ ได้แก่
เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ วิธีการคือ ไอโอดนี -125 (I-125) แพลเลเดียม-103 (Pd-103) ซเี ซยี ม-131 (Cs-131)
ฝังวัสดุกัมมันตรังสีเข้าไปในเนื้อเยื่อของอวัยวะ มคี า่ ครง่ึ ชวี ติ ประมาณ 60 วนั 17 วนั และ 10 วนั ตามลำ� ดบั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี
ที่ต้องการรักษา ซ่ึงรังสีท่ีแผ่ออกมาจะท�ำลาย ท่ีใช้จะมีขนาดเล็กประมาณหน่ึงในสามของเม็ดข้าว กว้างประมาณ
หรือฆ่าเซลล์มะเร็ง โดยวัสดุกัมมันตรังสีที่ฝังไว้ 1 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร และอยู่ในรูปของเม็ดแคปซูล
จะตดิ ตวั ผปู้ ว่ ยตลอดเวลา เรยี กการรกั ษาดว้ ยวธิ นี ว้ี า่ ขนาดเลก็ ปดิ ผนกึ ดว้ ยโลหะไทเทเนยี ม (Titanium) เรยี กวา่ เมด็ วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี
“การฝังวัสดุกัมมันตรังสีแบบถาวร หรือ การฝัง (Seed)
แร่กัมมันตรังสีแบบถาวร” การรักษาเนื้องอกหรือ
มะเร็งที่นิยมใช้วิธีการน้ีได้แก่มะเร็งต่อมลูกหมาก ที่มา: http://sn203.blogspot.com/2016/04/125.html
มะเรง็ เตา้ นม มะเร็งสมอง เปน็ ต้น
ขอ้ ควรระวงั ส�ำ หรับผปู้ ่วยและบุคคลรอบขา้ ง
ส�ำหรับประเทศไทยการรกั ษาโรคมะเร็ง
ด้วยวิธีการฝังวัสดุกัมมันตรังสีแบบถาวร นิยมใช้ นอกจากรังสจี ะใช้ฆา่ เซลล์ผดิ ปกตหิ รือเซลลม์ ะเรง็ แลว้ ยงั อาจ
ในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากในระยะที่ยังไม่มี ท�ำลายเซลล์ปกติหรือเซลล์ดีด้วย ดังนั้นการรักษาโรคมะเร็งด้วยวิธีนี้
การแพร่กระจาย (Localized prostate cancer) ต้องท�ำโดยแพทย์ท่ีเชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่เช่ียวชาญเฉพาะทาง เพ่ือให้
หรือในระยะเริ่มแรก (Early Prostate Cancer) โดย การรักษาเป็นไปตามมาตรฐาน เมื่อฝังวัสดุกัมมันตรังสีเข้าไปที่อวัยวะที่
การฝงั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สเี ขา้ ไปในเนอื้ เยอื่ ตอ่ มลกู หมาก ตอ้ งการรกั ษาแลว้ รงั สอี าจจะทะลทุ ะลวงผา่ นผวิ หนงั ของผปู้ ว่ ยออกมาได้
(Interstitial brachytherapy) รังสีท่ีแผ่ออกมาจาก ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับพลังงาน ชนิดของรังสี และต�ำแหน่งหรืออวัยวะที่ได้รับ
วัสดุกัมมันตรังสีจะท�ำลายเซลล์มะเร็งไปจนกระทั่ง การรกั ษา ซ่งึ อาจทำ� ให้บุคคลทีอ่ ยู่รอบข้างไดร้ ับรังสีโดยไม่จ�ำเปน็
วสั ดกุ มั มนั ตรงั สสี ลายตวั ลดตำ�่ ลงจนหมดไป

แนวปฏิบัติและข้อแนะน�ำ เพอื่ ความปลอดภยั ทางรงั สี
ผู้ปว่ ยต้องปฏบิ ัตติ ัวอย่างไรหลังได้รับการรักษา

ทีม่ า: http://www.mayoclinic.org/tests-procedures/ เมื่อผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีการฝังวัสดุกัมมันตรังสีแบบ
brachytherapy/multimedia/interstitial-brachytherapy/ ถาวรแล้ว กอ่ นอนญุ าตใหก้ ลบั บา้ น โรงพยาบาลต้องให้เอกสาร หลักฐาน
img-20006362 ท่ีแสดงรายละเอียดข้อมูลท่ีจ�ำเป็น เช่น ชื่อผู้ป่วย แพทย์ผู้ให้การตรวจ
รักษา วันท่ีฝังวัสดุกัมมันตรังสี หมายเลขโทรศัพท์ท่ีติดต่อได้ตลอดเวลา
และข้อแนะน�ำส�ำหรับการปฏิบัติตัว เพ่ือให้ผู้ป่วยพกติดตัวไว้ ท้ังนี้ผู้ป่วย
ต้องปฏิบัติตามข้อแนะน�ำของแพทย์และเอกสารแนวปฏิบัติต่างๆ อย่าง
เคร่งครัด

16 วารสารปรมาณเู พ่อื สันติ ปที ่ี 30 ฉบบั ที่ 2 ประจำ�ปี 2560

ขอ้ แนะน�ำสำ� หรับการปฏิบัติตวั ของผ้ปู ว่ ย กรณีท่แี พทย์อนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาล เพ่อื ความปลอดภยั ทางรังสดี ังตอ่ ไปนี้
1. หลีกเล่ยี งการสัมผสั หรอื อยู่ใกล้ชดิ กับสตรมี ีครรภ์ ทารก และเดก็ เลก็ โดยเฉพาะ 2 เดือนแรกหลงั จากการรักษา
2. หลกี เลยี่ งการอยใู่ กลช้ ิดกับบุคคลในครอบครัวเปน็ เวลานานๆ และให้อย่หู า่ งอย่างน้อย 1 เมตร
3. งดเว้นการมเี พศสัมพันธ์ 1 สัปดาหห์ ลกั การรักษา
4. ควรแยกนอนหรือนอนให้หา่ งจากบุคคลในครอบครวั (รวมทงั้ ค่สู มรส) อย่างน้อย 1 เมตร
5. กรณภี รรยาหรอื ญาตทิ อ่ี าศยั ในครอบครวั เดยี วกนั ตง้ั ครรภใ์ นระหวา่ งผปู้ ว่ ยรบั การรกั ษา ใหแ้ จง้ แพทยผ์ รู้ กั ษาและเจา้ หนา้ ที่
ความปลอดภัยทางรังสีทราบ เพือ่ ขอค�ำแนะนำ� ในการปฏิบัตติ ัวเพิ่มเติม
6. ไมค่ วรใช้ห้องนำ้� ร่วมกับบุคคลอ่ืนในครอบครัว (ถ้าเปน็ ไปได)้
7. ต้องไม่หยิบจับหรือสัมผัสโดยตรงกับเม็ดวัสดุกัมมันตรังสีในกรณีท่ีพบเม็ดวัสดุกัมมันตรังสีหลุดออกมาจากตัวผู้ป่วย
ให้ใช้ช้อนตักหรือคีมหนีบแล้วน�ำไปเก็บไว้ในภาชนะโลหะหรือสเตนเลส และให้น�ำส่งคืนโรงพยาบาลตามที่แพทย์นัด
คร้ังตอ่ ไป หรอื ใหแ้ จง้ เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภัยทางรงั สที ราบเพื่อด�ำเนินการตอ่ ไป
8. เมื่อเดนิ ทางโดยรถยนต์ส่วนตัวท่ีมีเพอ่ื นรว่ มเดนิ ทางให้อยู่หา่ ง อย่างนอ้ ย 1 เมตร
9. จำ� กัดการเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชน (รถเมล์ รถทัวร์ รถไฟฟ้า หรอื เครอ่ื งบิน)
10. ให้แสดงเอกสารที่ทางโรงพยาบาลผู้รักษาออกให้ ตอ่ เจ้าหนา้ ทีท่ ุกครั้ง หากทผ่ี ปู้ ว่ ยเข้ารบั การตรวจวินิจฉัยหรือรักษาโรค
ต่อเนอ่ื งทโ่ี รงพยาบาลอ่ืน
11. ใหแ้ สดงเอกสารทท่ี างโรงพยาบาลผรู้ กั ษาออกใหต้ อ่ ศลั ยแพทย์ หรอื เจา้ หนา้ ทท่ี เ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ครงั้ หากตอ้ งเขา้ รบั การผา่ ตดั
12. กรณีเดินทางไปต่างประเทศ ให้แสดงบัตรน้ีต่อเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องทุกคร้ัง หากมีการตรวจพบการแผ่รังสีออกจาก
ตวั ผู้ป่วย ทีด่ า่ นตรวจของสนามบินหรอื ชายแดน

ตัวอย่างบัตรส�ำ หรับใหผ้ ู้ปว่ ยพกติดตวั (Wallet card) หลงั ออกจากโรงพยาบาล

ดา้ นหนา้

โปรดระวงั วสั ดุกมั มนั ตรงั สี
(Caution Radioactive Material)

การักษามะเร็งตอ่ มลกู หมากด้วยการฝงั เมด็ วสั ดกุ ัมมันตรงั สแี บบถาวร
(Permanent Prostate Seed)

ชือ่ ผูป้ ว่ ย วนั เดือนปีเกดิ
(Patient name)……………………………………………….… (Date of birth)..........................................................
แพทย์ผ้รู กั ษา ไอโซโทป
(Rad. oncologist)………………………………………......... (Isotope)……………………………....................................
กมั มันตภาพรวม วนั ทฝี่ งั
(Total activity)……………………………………….............. (Implant date)..........................................................
อตั ราปรมิ าณรังสีที่ระยะ 1 เมตร วนั ท่ีตรวจวัด
(Dose rate at 1 meter)............................................ (Date of survey).......................................................
ลายมือช่ือเจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภัยทางรังสี................................................................................................................

ด้านหลัง

ข้อแนะน�ำเบอ้ื งตน้ ในการปฏิบตั ติ วั ของผปู้ ว่ ย
1. ใหแ้ สดงบัตรน้ีตอ่ เจา้ หนา้ ทโี่ รงพยาบาลทกุ ครงั้ หากท่ผี ู้ป่วยเขา้ รบั การรักษาตอ่ เนอ่ื งท่โี รงพยาบาลอนื่
2. ใหแ้ สดงบัตรนต้ี อ่ ศลั ยแพทย์ หรอื เจา้ หน้าท่ีทเ่ี กีย่ วขอ้ งทกุ ครงั้ หากต้องเข้ารับการผา่ ตัด
3. ให้หลีกเลย่ี งการอยใู กล้ชดิ กับสตรีมีครรภ์ ทารก และเด็กเล็ก
4. ไม่ควรอยใู่ กลช้ ิดกบั บุคคลอน่ื เป็นเวลานานๆ โดยตอ้ งอย่หู า่ งอย่างนอ้ ย 1 เมตร
5. ผปู้ ว่ ยต้องพกบัตรน้ีไว้ติดตวั ตลอดเวลา อยา่ งน้อยเปน็ เวลา 1 ปี หลังจากไดร้ ับการรกั ษา
6. กรณเี ดนิ ทางไปตา่ งประเทศ ใหแ้ สดงบตั รนตี้ อ่ เจา้ หนา้ ทท่ี เี่ กย่ี วขอ้ งทกุ ครง้ั หากมกี ารตรวจพบการแผร่ งั สี

ออกจากตวั ผูป้ ว่ ย ท่ดี า่ นตรวจของสนามบนิ หรือดา่ นชายแดน

กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมให้ติดต่อแพทย์ผู้รักษาหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ทางรงั สี หมายเลขโทรศพั ท.์ ...........................................................................................................

Atoms for Peace Journal 17

แนวปฏิบตั กิ รณผี ้ปู ่วยเสยี ชีวิต

ข้อแนะน�ำ ในการปฏิบัติตัวของผดู้ ูแลผู้ป่วยและญาติ 1. กรณีผู้ป่วยเสียชีวิตหลังจากรักษาด้วยการฝังวัสดุ
1. ผู้ดูแลผู้ป่วยเมื่อเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยควรใช้เวลาให้น้อย กัมมันตรังสี ญาติผู้ป่วยจะต้องแจ้งแพทย์ผู้ให้การรักษา
(แพทยเ์ จา้ ของไข)้ และเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ทางรงั สที ราบ
ทสี่ ดุ และควรอยใู่ หห้ า่ งมากทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะทำ� ได้ และใหช้ ว่ ย เพื่อทำ� การประเมินความปลอดภัยกอ่ นด�ำเนินการใดๆ
เหลือผู้ปว่ ยเท่าที่จ�ำเปน็ เท่าน้นั
2. ญาติผ้เู ขา้ เยีย่ มผู้ปว่ ย ไม่ควรอย่ใู กลผ้ ปู้ ว่ ยนานเกินความ 2. แพทยผ์ ใู้ หก้ ารรกั ษาหรอื เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ทางรงั สี
จ�ำเป็น และอยู่ให้ห่างจากผู้ป่วยให้มากท่ีสุด หรืออย่าง ตอ้ งจดั ทำ� เอกสารและขอ้ แนะนำ� เบอ้ื งตน้ ดา้ นการปอ้ งกนั
น้อย 1 เมตร อนั ตรายจากรังสีให้กบั บคุ คลทเี่ กี่ยวขอ้ ง

3. ในระหว่างทีช่ ันสตู รศพ เจ้าหนา้ ที่ควรใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกัน
อันตรายจากรงั สีเพื่อให้ไดร้ บั รงั สีนอ้ ยท่สี ดุ

4. ต้องมีเอกสาร หลักฐานที่บันทึกรายละเอียดเก่ียวกับ
การฝงั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี เชน่ ชอื่ ผปู้ ว่ ย แพทยผ์ ใู้ หก้ ารรกั ษา
วันที่ฝังวัสดุกัมมันตรังสี ชนิดของวัสดุกัมมันตรังสีท่ีใช้
จ�ำนวน ปริมาณกัมมันตภาพรังสี หมายเลขโทรศัพท์
ทต่ี ดิ ตอ่ ไดต้ ลอดเวลา และขอ้ แนะนำ� เบอื้ งตน้ สำ� หรบั การ
ปฏิบัตติ ัวของผูป้ ่วย เปน็ ต้น เพ่อื แนบไปกบั ใบมรณบัตร

แนวปฏบิ ตั ิหากผู้ปว่ ยตอ้ งไดร้ ับการผา่ ตัด ข้อแนะน�ำ ในการฝงั หรอื การฌาปนกิจศพ
หลงั การฝังวัสดุกัมมันตรงั สีแบบถาวร 1. ก่อนฝังศพหรือการฌาปนกิจศพ ญาติผู้ป่วยต้องแจ้งให้

1. ก่อนท�ำการผ่าตัด เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี โรงพยาบาลทด่ี ำ� เนนิ การรกั ษาดว้ ยการฝงั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี
ประจำ� โรงพยาบาล ตอ้ งประเมนิ ความปลอดภยั ทางรังสี ทราบ กอ่ นดำ� เนินการใดๆ เพ่อื ขอคำ� แนะนำ� การปฏบิ ตั ิ
และจดั หาเครอ่ื งบนั ทกึ ปรมิ าณรงั สปี ระจำ� ตวั บคุ คลใหก้ บั เพ่ือการปอ้ งกันอนั ตรายจากรงั สี
แพทย์และผ้ปู ฏิบตั งิ านท่ีเกีย่ วข้อง 2. กรณีฝังศพ สามารถด�ำเนินการฝังได้โดยให้ด�ำเนินการ
ตามข้อแนะน�ำด้านการป้องกันอันตรายจากรังสีจาก
2. เมื่อผ่าตัดช้ินเนื้อหรือเน้ือเย่ือท่ีมีการฝังวัสดุกัมมันตรังสี เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ทางรงั สี
จะต้องแยกเอาไว้ต่างหากและไม่ควรสัมผัสกับช้ินเน้ือ 3. กรณีการฌาปนกิจศพสามารถด�ำเนินการได้ หากฝัง
โดยตรง โดยให้ใช้ถุงมือตะกั่วและปากคีบในระหว่าง วัสดุกัมมันตรังสีไอโอดีน-125 มาไม่น้อยกว่า 1 ปี
ท�ำการผ่าตดั เพือ่ ลดโอกาสการไดร้ บั รงั สี ฝังแพลเลเดียม-103 ไม่น้อยกว่า 3 เดือน หรือฝัง
ซีเซียม-131 ไม่นอ้ ยกว่า 50 วัน
3. ช้ืนเน้ือหรือเน้ือเย่ือท่ีมีวัสดุกัมมันตรังสีฝังอยู่ตามข้อ 2 4. ในกรณที ผ่ี ูป้ ว่ ยเสียชีวติ กอ่ นระยะเวลาตามข้อ 3 ควรได้
เมื่อท�ำการผ่าตัดออกมาจะต้องน�ำไปเก็บไว้ในภาชนะ รบั การผา่ ตดั นำ� อวยั วะทไ่ี ดร้ บั การฝงั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สอี อก
ท่ีสามารถป้องกันรังสีได้และให้จัดการตามข้อก�ำหนด กอ่ นที่จะด�ำเนนิ การฌาปนกจิ ศพ
กฎระเบียบท่ีเกี่ยวข้องส�ำหรับการจัดการเป็นกาก 5. หากไม่สามารถผ่าตัดน�ำอวัยวะท่ีได้รับการฝังวัสดุ
กมั มนั ตรงั สีตอ่ ไป กมั มนั ตรงั สอี อกได้ ผทู้ ท่ี ำ� การเกบ็ อฐั หิ รอื เถา้ กระดกู หลงั
จากฌาปนกจิ ศพ ตอ้ งสวมหนา้ กากและถงุ มอื เพอื่ ปอ้ งกนั
18 วารสารปรมาณเู พ่ือสันติ ปีที่ 30 ฉบับท่ี 2 ประจำ�ปี 2560 อนั ตรายจากรงั สี โดยอฐั แิ ละเถา้ ถา่ นทเ่ี หลอื ตอ้ งจดั เกบ็ ไว้
ในภาชนะโลหะอยา่ งน้อย 1 ปี
6. ไม่ควรแพร่กระจายอัฐิสู่สิ่งแวดล้อม จนกว่าระยะเวลา
ผ่านไปประมาณ 20 เดือนส�ำหรับไอโอดีน-125 หรือ
170 วัน สำ� หรับแพลเลเดียม-103 หรอื 100 วนั สำ� หรับ
ซีเซียม-131 (ประมาณ 10 เท่าค่าคร่ึงชีวิตของวัสดุ
กมั มนั ตรงั สที ใ่ี ชร้ กั ษา) โดยนบั จากวนั ทฝี่ งั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สี

แนวปฏิบตั สิ �ำ หรับการคัดกรองผปู้ ่วยกรณที ไ่ี ด้
รบั การรกั ษาดว้ ยการฝังเม็ดวัสดุกมั มนั ตรังสี
จากตา่ งประเทศ

แนวปฏิบัตกิ รณสี ำ�หรบั ผปู้ ่วยที่ได้รบั การรกั ษา 1. ให้เจ้าหน้าที่ (พยาบาล) ผู้ท�ำหน้าที่คัดกรองผู้ป่วยนอก
ดว้ ยวธิ กี ารฝงั วสั ดกุ มั มันตรงั สแี บบถาวรมาจาก ทเ่ี ขา้ รบั การบรกิ ารตรวจรกั ษาตอ่ เนอื่ ง ณ โรงพยาบาลนน้ั ๆ
สถานพยาบาลหรอื โรงพยาบาลในตา่ งประเทศ ซักประวัติการรักษาและอาการของผู้ป่วย ท้ังจากการ
1. ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตามข้อแนะน�ำของแพทย์หรือสถานพยาบาล สอบถามและเอกสารหลกั ฐานการรักษา (ถ้าม)ี ตวั อยา่ ง
เชน่ ไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยการฝงั ดว้ ยวสั ดกุ มั มนั ตรงั สี (ฝงั แร)่
ที่ใหก้ ารรกั ษาอยา่ งเคร่งครัด มาจากต่างประเทศหรือไม่ โรงพยาบาลท่ีให้การรักษา
2. ผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยการฝงั วสั ดกุ มั มนั ตรงั สจี ากตา่ งประเทศ แพทย์ผู้ท�ำการรักษา วันท่ีท�ำการรักษาต�ำแหน่งหรือ
บรเิ วณท่ที ำ� การรักษา เป็นตน้
และได้เข้ารับการรักษาต่อเน่ืองที่โรงพยาบาลในประเทศ
ต้องแสดงเอกสาร หลักฐานต่างๆ ต่อ แพทย์เจ้าของไข้ และ 2. ในกรณที ป่ี ระเมนิ และ/หรอื ตรวจสอบจากเอกสารแลว้ พบวา่
เจ้าหน้าทที่ ี่เกยี่ วข้องทราบ ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการฝังเม็ดวัสดุกัมมันตรังสี
3. ขอ้ ปฏบิ ัตโิ ดยทัว่ ไป ใหผ้ ู้ปว่ ยปฏบิ ตั ิตามข้อแนะนำ� เช่นเดยี วกบั มาจากต่างประเทศ ให้เจ้าหน้าที่ผู้คัดกรองผู้ป่วยติดต่อ
ผปู้ ว่ ยท่ไี ดร้ บั การรกั ษาจากโรงพยาบาลในประเทศ (ตามหวั ข้อ ไปที่หน่วยรังสีรักษา (ถ้ามี) หรือหน่วยรังสีวินิจฉัย หรือ
ผู้ป่วยตอ้ งปฏิบัตติ ัวอยา่ งไรหลงั ไดร้ บั การรกั ษา) หน่วยงานอื่นใดของโรงพยาบาลท่ีใช้ประโยชน์จากรังสี
เพ่ือแจ้งให้เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทางรังสี (RSO)
มาตรวจพิสูจน์ ประเมินความปลอดภัยทางรังสีและ
ให้ค�ำแนะน�ำเก่ียวกับความปลอดภัยทางรังสี ก่อนส่ง
ผปู้ ว่ ยเขา้ รบั การตรวจยงั หอ้ งตรวจตา่ งๆ หรอื ดำ� เนนิ การใดๆ

3. หากโรงพยาบาลไม่มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
หรือต้องการข้อมูลเก่ียวกับความปลอดภัยทางรังสี
สามารถติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติ
หมายเลขโทรศพั ท์ 0 2596 7600 ตอ่ 3515, 1612, 1513
หรอื 09 4778 4466

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยอ่ืนๆ ให้เป็นไปตาม คู่มือ
ความปลอดภัยทางรังสี: การใชว้ สั ดกุ มั มนั ตรงั สีสำ� หรับงานการฝังวสั ดุ
กมั มนั ตรงั สแี บบถาวร สามารถดาวนโ์ หลดไดจ้ าก www.oap.go.th

อา้ งองิ
ค่มู อื ความปลอดภยั ทางรังสี: การใชว้ สั ดกุ ัมมันตรงั สีสำ� หรบั งานการฝงั วสั ดุกัมมันตรังสีแบบถาวร, สำ� นกั งานปรมาณเู พ่ือสันติ, 2557.
AnglesioS,CalamiaE,FiandraC,GiglioliFR,RacardiU,et al. Prostate brachytherapy with iodine-125 seeds : Radiation protection
issue.Tumari 2005 ; 91:335-38.
BiceWS,Prestidge BR, Kurtzman SM, BeriwalS,MoranBJ,PatelRR,et al. Recommendations for permanent prostate brachytherapy
with Cesium-131: A consensus Report from the Cesium Advisory Group. Brachytherapy 2008;7:290-96.
International Commission on Radiological Protection. Radiation Safety Aspects of Brachytherapy for Prostate Cancer Using
Permanent Implanted Sources,ICRP 98. Vol. 35 No.3:Elsevier;2005

Atoms for Peace Journal 19

Nuclear Update

ปส. ยกระดับคุณภาพชวี ิตคนไทย

แนะสงั เกตสญั ลกั ษณก์ อ่ นรบั บริการทางรงั สี

สำ� นกั งานปรมาณเู พอื่ สนั ติ (ปส.) ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ คนไทยแนะประชาชนโปรดสงั เกตสญั ลกั ษณ์
แสดงสถานประกอบการท่ีได้รับใบอนุญาตครอบครองหรือใช้รังสีอย่างถูกต้องจาก ปส. ก่อนเข้ารับบริการ
เพ่อื ให้มัน่ ใจปลอดภยั จากรงั สตี ามมาตรฐานสากล

หลังจากท่ีพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี
1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2560 ปส. ได้เร่งสร้างความเข้าใจต่อผปู้ ระกอบการ และประชาชนใหพ้ รอ้ มตอ่ การบังคับ
ใชอ้ ย่างเต็มรูปแบบเมือ่ กฎหมายล�ำดบั รองแล้วเสรจ็ ในเดอื นตลุ าคม 2560 น้ี โดยลา่ สุดมสี ถานประกอบการ
มายนื่ คำ� ขอรบั ใบอนญุ าตจาก ปส. แลว้ กวา่ 3,500 แหง่ ซง่ึ เมอื่ ผปู้ ระกอบการไดร้ บั ใบอนญุ าตแลว้ ปส. จะมอบ
สัญลักษณ์แสดงการได้รบั ใบอนุญาตอยา่ งถูกต้องจาก ปส. และสามารถน�ำไปติดบริเวณใหบ้ รกิ ารประชาชน
เพื่อใหเ้ ปน็ จดุ สงั เกตซ่งึ จะท�ำใหข้ องประชาชนเกิดความม่นั ใจก่อนเข้ารับบรกิ ารจากสถานทีน่ นั้ มากข้นึ

สำ� หรบั สถานประกอบการใดทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั สญั ลกั ษณแ์ สดงการไดร้ บั ใบอนญุ าตอยา่ งถกู ตอ้ ง สามารถ
ติดต่อขอรับหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่ กองอนุญาตทางนิวเคลียร์และรังสี ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
โทรศพั ท์ 0 2596 7600 ตอ่ 1521 (ในวันและเวลาราชการ)

20 วารสารปรมาณเู พือ่ สนั ติ ปีท่ี 30 ฉบบั ท่ี 2 ประจ�ำ ปี 2560

Nuclear Update

ไหทายกมีสมถกี าานรี RทNด6ล5อตงรนวิวจเไคดท้ลันียทร.ี .์

ช่วงก่อนหน้านี้ สัญญาณความไม่สงบบนคาบสมุทร ด้านความเคล่ือนไหวของอาเซียน เมื่อไม่นานมานี้มี
เกาหลีเริ่มก่อตัวข้ึนอีกคร้ัง ภายหลังสหรัฐ ยิงขีปนาวุธร้ายแรง การประชุม ASEAN Summit ที่ประชุมมีความเห็นที่จะร่วมมือ
ถล่มซเี รยี ท�ำใหร้ ฐั บาลเกาหลเี หนือยอมรับไมไ่ ดก้ บั การกระท�ำ ขอให้เกาหลีเหนือปฏิบัติตามมติสหประชาชาติ ซ่ึงท่าทีโดยรวม
ของสหรัฐในครั้งน้ีและเสมือนเป็นชนวนย่ัวยุให้เกาหลีเหนือ ของอาเซียนคือ ไม่ต้องการให้มีการครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ใดๆ
เดนิ หนา้ พัฒนาโครงการทดลองอาวธุ นิวเคลยี ร์ เพอ่ื เตรยี มการ ในคาบสมุทรเกาหลี และมีเจตนารมณ์ท่ีจะแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ตอบโต้หากมกี ารจโู่ จมจากสหรัฐ โดยสนั ตวิ ธิ ี สว่ นทา่ ทขี องประเทศไทย รฐั บาลไทยยนิ ดใี หก้ ารสนบั สนนุ
สหรัฐในการสร้างสันตภิ าพในคาบสมุทรเกาหลี
ส่ือมวลชนต่างจับตาการด�ำเนินนโยบายของนายโดนัล
ทรัมป์ ประธานาธิบดีคนลา่ สุดของสหรฐั หลายแหล่งข่าวชี้ใหเ้ ห็นวา่ ดร.อจั ฉรา วงศแ์ สงจนั ทร์ เลขาธกิ ารส�ำนกั งานปรมาณู
ภายหลังจากท่ีทรัมป์ เข้ามารับต�ำแหน่งเพียงไม่นาน เหตุการณ์ เพื่อสันติ เปิดเผยถึงกรณีนี้ว่า ปส. ได้ติดตามความเคล่ือนไหว
ความไม่สงบได้ปะทุข้ึน เช่น การยิงขีปนาวุธถล่มซีเรีย และระเบิด ดงั กลา่ วรว่ มกบั หนว่ ยงานกลางระหวา่ งประเทศ เชน่ คณะกรรมาธกิ าร
เอม็ โอเอบี (Massive Ordnance Air Blast) หรอื เจา้ แม่แห่งระเบดิ เตรียมการส�ำหรับองค์การสนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามทดลองอาวุธ
(Mother of all bombs) ทำ� ลายเครอื ขา่ ยถำ�้ และอโุ มงคข์ องพวกนกั รบ นวิ เคลียร์โดยสมบรู ณ์ (CTBTO) มนั่ ใจว่าประเทศไทยมคี วามพรอ้ ม
รัฐอิสลาม (ไอเอส) เขตอะชิน จังหวัดนันกาฮาร์ อัฟกานิสถาน ในการเฝ้าระวัง และเตรียมรับสถานการณ์ทางนิวเคลียร์
ซงึ่ สง่ ผลใหผ้ คู้ นบาดเจบ็ ลม้ ตายเปน็ จำ� นวนมาก หลายฝา่ ยไมย่ อมรบั ที่อาจเกิดขึ้น โดยประเทศไทยมสี ถานีเฝ้าตรวจนิวไคลดก์ มั มันตรังสี
ทา่ ทอี นั เกรย้ี วกราดนขี้ องสหรฐั และมองวา่ เปน็ การกระทำ� อนั เหย้ี มโหด (RN65) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน
เพอ่ื ส่งสัญญาณถึงรสั เซียและเกาหลีเหนือ ในขณะเดียวกัน ทางฝ่งั จ.นครปฐม ซึ่งสามารถตรวจรู้ได้ทันทีหากมีการทดลองอาวุธ
เกาหลีเหนือก็พร้อมส่งสัญญาณตอบโต้สหรัฐในทันทีเช่นกัน นิวเคลียร์ขึ้นทั่วโลก นอกจากน้ี ปส. ยังมีบุคลากรท่ีมีความรู้
โดย นายคมิ จอง อนึ ผู้น�ำเกาหลีเหนือได้ประกาศวา่ เกาหลเี หนอื ความสามารถ และเครอื่ งมอื ทท่ี นั สมยั พรอ้ มปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรฐาน
จะทำ� การทดสอบทางนวิ เคลยี รใ์ นทกุ ๆ สปั ดาห์ สง่ ผลใหน้ านาประเทศ สากลอย่างทันท่วงที ทั้งนี้ขอให้ประชาชนอย่าตื่นตระหนกจาก
ต่างเตรียมการเฝ้าระวัง ตั้งรับการเคล่ือนไหวของเกาหลีเหนือ ข่าวสารท่เี กิดข้ึน และขอใหเ้ ฝา้ ตดิ ตามสถานการณ์ความเคลอ่ื นไหว
โดยเฉพาะอย่างย่ิงรัฐบาลสหรัฐ โดยการน�ำของประธานาธิบดี ในกรณดี งั กล่าวอย่างใกล้ชดิ ตอ่ ไป
โดนัลด์ ทรัมป์ ได้ส่ังการให้เรือบรรทุกเคร่ืองบินแล่นเข้าไปใน
คาบสมุทรเกาหลี และได้ติดต้ังระบบป้องกันขีปนาวุธ (THAAD)
ณ เกาหลใี ต้ รวมทั้งมกี ารซ้อมทดสอบยิงจรวดขีปนาวุธไม่ติดหวั รบ
(มินิทแมน 3) และมีการเจรจากับประเทศต่างๆ เพื่อขอให้ร่วม
คดั คา้ นโครงการทดสอบทางนวิ เคลยี ร์ และรอ้ งขอใหล้ ดความสมั พนั ธ์
ทางการทูตกับเกาหลีเหนือ และล่าสุดสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐ
เห็นชอบต่อร่างกฎหมายเพื่อเพิ่มมาตรการคว่�ำบาตรเกาหลีเหนือ
รอบใหม่

Atoms for Peace Journal 21

Inside OAP Orbit

แค่คลกิ๊ ..กท็ ราบระดบั รงั สแี กมมา
ในอากาศและในนำ�้ ของไทย

การตรวจวดั ระดบั รงั สแี กมมาในอากาศและในนำ้� แล้วส่งข้อมูลแบบเรียลไทม์มายังศูนย์ข้อมูลเฝ้าตรวจ
เป็นการเฝ้าตรวจหรือเฝ้าระวังอันตรายจากรังสีที่อาจเกิดจาก กัมมันตภาพรังสี ณ ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ นอกจากน้ี
กจิ กรรมต่างๆ อาทิ อบุ ตั ิเหตุทางรงั สี หรอื การทดลองอาวุธหรือ หากมีการตรวจวัดระดับรังสีแกมมาท่ีผิดปกติได้ ระบบจะมี
ระเบิดนิวเคลียร์ของต่างประเทศ เพราะหากมีการร่ัวไหลของ การเตือนให้ทราบเพ่ือด�ำเนินการตรวจสอบและประกาศ
สารกัมมันตรังสีจากกิจกรรมดังกล่าวไปสู่สิ่งแวดล้อมแล้ว มาตรการรองรับเพ่ือให้ประชาชนและส่ิงแวดล้อมปลอดภัย
จะสามารถแพรก่ ระจายไปไดไ้ กลโดยใชต้ วั กลางคอื อากาศและนำ้� จากอนั ตรายของรงั สี พรอ้ มประสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ปจั จบุ นั ปส. ไดด้ ำ� เนนิ การตดิ ตง้ั สถานเี ฝา้ ระวงั ภยั ทาง ตอ่ ไป
รงั สใี นสถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยงานของรฐั ทวั่ ประเทศทงั้ หมด ขอ้ มลู รายงานผลดงั กลา่ วจะถกู นำ� ขน้ึ เวบ็ ไซตข์ อง ปส.
22 สถานี ประกอบด้วยสถานีเฝ้าระวังภัยทางรังสีในอากาศ (www.oap.go.th) ใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ถงึ ขอ้ มลู แบบออนไลนท์ กุ วนั
17 สถานี และสถานเี ฝา้ ระวงั ภยั ทางรงั สใี ตน้ ำ�้ 5 สถานคี รอบคลมุ ซึ่งจะท�ำให้ประชาชนมีความมั่นใจได้ว่า ประเทศไทยมีระบบ
ท่ัวประเทศ โดยจะมีการรายงานผลการวัดระดับรังสีแกมมา การเฝ้าระวงั ภยั ทางรงั สที ม่ี ปี ระสิทธภิ าพ

22 วารสารปรมาณเู พอื่ สันติ ปีที่ 30 ฉบบั ท่ี 2 ประจำ�ปี 2560

เชียงราย

แมฮ องสอน เชยี งใหม

พะเยา

นาน

ลำปาง หนองคาย บงึ กาฬ
ลำพูน

แพร

อุตรดิตถ เลย หนองบัวลำพนู อุดรธานี เลย
สกลนคร
ตาก สโุ ขทัย
พิษณโุ ลก

ขอนแกน กาฬสนิ ธุ มุกดาหาร

กำแพงเพชร พจิ ิตร เพชรบรู ณ

ชยั ภูมิ มหาสารคาม รอยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจรญิ

นครสวรรค

อทุ ยั ธานี ชยั นาท ลพบุรี อบุ ลราชธานี
สระบุรี
สุพรรณบุรอี สา งิงทหอบงุรี นครราชสีมา สรุ นิ ทร ศรีสะเกษ

กาญจนบรุ ี บุรรี ัมย

อยุธยา นครนายก ปราจนี บุรี
สุพรรณบรุ ี ปทมุ ธานี
สระแกว
ราชบุรี ฉะเชงิ เทรา

เพชรบุรี ชลบรุ ี จนั ทรบุรี
ระยอง

ประจวบครี ีขันธ สมทุ รปราการ ตราด
กรงุ เทพมหานคร
นนทบรุ ี
สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม

ชมุ พร สถานเี ฝ้าระวงั ภยั ทางรังสี

ระนอง สถานีเฝ้าระวงั ภัยทางรงั สีในอากาศ
สถานีเฝ้าระวังภัยทางรังสีใต้นำ�้
สรุ าษฏรธ านี
www.oap.go.thสามารถตรวจสอบข้อมูลแบบออนไลนท์ กุ วนั ตลอด 24 ชม.
พังงา นครศรีธรรมราช
ภเู กต็ ชมุ พร ได้ที่

ตรงั พัทลุง

สตูล สงขลา ปต ตานี 23
ยะลา นราธิวาส

Atoms for Peace Journal

ส�ำนกั งานปรมาณูเพอ่ื สนั ติ กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เลขท่ี 16 ถนนวิภาวดรี ังสติ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0 2579 5230, 0 2596 7600 โทรสาร 0 2561 3013
WebSite: http://www.oap.go.th


Click to View FlipBook Version