The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฝึกสมอง ฉันเอง, 2023-10-24 12:33:34

แผนพัฒ65- 68

แผนพัฒ65- 68

แผนพัฒนาสถานศึกษา ( พ.ศ. 2565 – 2568 ) ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ


ก ความเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย -------------------------------------------------------------------------- เพื่อใหการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย ทันตอการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ ปกครอง และสิ่งแวดลอมโดยการพัฒนาแบบองครวม มีการบูรณาการทุกดานเขาดวยกันอยางสมดุลและ เปนประโยชนในการนำไปใชตอการดำเนินชีวิตของผูเรียน ผูรับบริการ สามารถพึ่งตนเอง และสังคมอยูเย็น เปนสุขรวมกันตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติ สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ใหผูมีสวนเกี่ยวของสนับสนุนประสาน ความรวมมือ ใหคำปรึกษาและพิจารณาใหความเห็นชอบ แผนพัฒนาสถานศึกษา ใหเปนไปตามกรอบของ แผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อพัฒนากลุมเปาหมายใหมีคุณภาพตอไป ทั้งนี้ ตั้งแตปงบประมาณ 2565 เปนตนไป ( นายสุทธิชัย เข็มคง ) ประธานกรรมการสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย


ข คำนำ แผนพัฒนาสถานศึกษา พ.ศ. 2565 - 2568 ระยะเวลา 4 ป จัดทำขึ้นเพื่อใชเปนกรอบและทิศทางใน การดำเนินงานของสถานศึกษา ในชวงระยะเวลา 4 ป ตอไปนี้ ซึ่งไดกำหนดเปาหมายการทำงานไวชัดเจน มีกลยุทธสำคัญที่จะขับเคลื่อนการดำเนินงานใหบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจและเปาหมายของสถานศึกษา แผนพัฒนาสถานศึกษา ประกอบดวยขอมูลพื้นฐานของสถานศึกษา โครงสรางการบริหาร องคกร ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก โครงการ /กิจกรรม ที่ตอบสนองตอทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาไดเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2565 – 2568 แลว สถานศึกษา สามารถดำเนินการตามแผนใหบรรลุตามเปาหมายตอไป การจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูบริหาร คณะครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา องคกรนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย


ค สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ สารบัญ สวนที่ 1 ขอมูลสถานศึกษา..............................................................................................................1 1.1 ขอมูลพื้นฐานอำเภอเมืองสุโขทัย...........................................................................................1 1.2 ขอมูลพื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย..................................................................................4 1.3 โครงสรางการดำเนินงาน กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย................................................................6 1.4 กศน.ตำบล/ศรช....................................................................................................................7 1.5 แหลงเรียนรู...........................................................................................................................8 1.6 ภาคีเครือขาย.........................................................................................................................9 1.7 ภูมิปญญา.............................................................................................................................10 สวนที่ 2 ผลการประเมินสภาพแวดลอม และศักยภาพของสถานศึกษา...........................................12 2.1 หลักการ................................................................................................................................12 2.2 เหตุผล...................................................................................................................................12 2.3 ความจำเปน..........................................................................................................................26 สวนที่ 3 ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา..............................................................................27 3.1 วิสัยทัศนของสถานศึกษา......................................................................................................12 3.2 ปรัชญาของสถานศึกษา........................................................................................................12 3.3 อัตลักษณของสถานศึกษา.....................................................................................................26 3.4 เอกลักษณสถานศึกษา..........................................................................................................27 สวนที่ 4 แผนงาน/งาน/โครงการ....................................................................................................35 1. แผนงานจัดการศึกษานอกระบบ.....................................................................................36 1.1 งานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน.................................................................................................36 1.1.1. โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ.......................................................36 1.1.2. โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียน...........................................................................36 1.1.3. โครงการเทียบระดับการศึกษา...........................................................................37


ง เรื่อง หนา 1.2. งานจัดการศึกษาตอเนื่อง....................................................................................................37 1.2 1. โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน.............................................................................37 1.2.1.1 อาชีพระยะสั้น(ไมเกิน 30 ขม.)...............................................................37 1.2.1.2 ชั้นเรียนวิชาชีพ(31ชม.ขึ้นไป).................................................................37 1.2.1.3 1 อำเภอ 1 อาชีพ.................................................................................37 1.2.2 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต......................................................38 1.2.3 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน.............................................38 1.2.4. โครงการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง..........................38 1.2.5 โครงการศูนยดิจิทัลชุมชน- ระดับตำบล............................................................38 1.2.6 โครงการจัดและสงเสริมการจัดจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการ ทางกาย จิต และสมองผูสูงอายุ.......................................................................39 1.2.6 โครงการภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ......................................39 2. แผนงานจัดการศึกษาตามอัธยาศัย................................................................................40 2.1 งานอัธยาศัย...................................................................................................40 2.1.1 โครงการบรรณสัญจร.......................................................................................40 2.1.2 โครงการพัฒนาบานหนังสือชุมชนและแหลงเรียนรู........................................40 2.2 งานหองสมุด...................................................................................................41 2.2.1 โครงการสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชนอำเภอเมืองสุโขทัย....................41 2.2.2 โครงการพัฒนาหองสมุดประชาชนจังหวัดสุโขทัย ใหเอื้อตอการเรียนรู เปนศูนยกลางการเรียนรูของชุมชน.................................................................41 3. แผนงานบริหารสถานศึกษา............................................................................................42 3.1 โครงการประชาสัมพันธ..........................................................................................42 3.2. โครงการนิเทศติดตามและประเมินผล...................................................................43 3.3 โครงการพัฒนาบุคลากร.........................................................................................44 3.4 โครงการพัฒนาหลักสูตรและคุณภาพการเรียนการสอน.........................................44 3.5 โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และโครงสรางพื้นฐาน..............................................44 3.6 โครงการประกันคุณภาพการศึกษา.........................................................................45


จ เรื่อง หนา สวนที่ 5 การบริหารแผนพัฒนาการจัดการศึกษา...............................................................46 5.1 ความเปนมา............................................................................................................46 5.2 วัตถุประสงค............................................................................................................46 5.3 ประโยชนที่ไดรับ.....................................................................................................46 5.4 สาระสำคัญในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา.............................................................47 5.5 หลักการบริหารแผนพัฒนาการจัดการศึกษา...........................................................48 5.6 วิธีการติดตามและประเมินผล.................................................................................48 ภาคผนวก...........................................................................................................................50 คณะผูจัดทำ...................................................................................................................51


น้ า | 1 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สวนที่ 1 ขอมูลสถานศึกษา ประวัติความเปนมาของสถานศึกษา ขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ขอมูลพื้นฐานอำเภอ สภาพทั่วไปอำเภอเมืองสุโขทัย อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอกับอำเภอศรีสำโรง ทิศใต ติดตอกับอำเภอคีรีมาศ ทิศตะวันออก ติดตอกับอำเภอกงไกรลาศ ทิศตะวันตก ติดตอกับอำเภอบานดานลานหอย ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม โดยตอนเหนือเปนแนวยาวมาทางทิศตะวันตกพื้นที่ตอนกลางเปนที่ราบ และตอนใตเปนที่ราบสูง มีแมน้ำยมไหลผาน พื้นที่อำเภอเมืองสุโขทัย เปนระยะทางยาวประมาณ 70 กิโลเมตร ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศ โดยทั่วไปมีลักษณะเปลี่ยนไปตามอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ แบงออกไดเปน 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว อุณหภูมิ เฉลี่ย 22.2 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปประมาณ 1,208.88 ลูกบาศกมิลลิลิตร


น้ า | 2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ประชากร สวนใหญสืบเชื้อสายมาจากชาวไทยดั้งเดิมที่อาศัยอยูในดินแดนนี้มานานแลว โดยมีวัฒนธรรม และ ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนสำเนียงภาษาพูดเปนเอกลักษณของตนเอง และจะมีคนอพยพมาจากทองถิ่น อื่นบางไมมากนัก ตารางแสดงจำนวนประชากรอำเภอเมืองสุโขทัย ตำบล จำนวนประชากร ชาย หญิง รวม ปากแคว 4,537 4,984 9,521 บานหลุม 4,269 4,641 8,910 ยางซาย 4,711 5,119 9,830 ปากพระ 1,842 1,925 3,767 ตาลเตี้ย 2,139 2,246 4,385 บานสวน 4,452 4,863 9,315 เมืองเกา 4,991 5,202 10,193 วังทองแดง 2,605 2,590 5,195 เทศบาลตำบลบานกลวย 7,960 8,840 16,800 เทศบาลตำบลบานสวน 1,548 2,500 4,048 เทศบาลตำบลเมืองเกา 3,457 3,919 7,376 เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี 6,770 7,663 14,433 รวม 4 เทศบาล 8 ตำบล 49,281 54,492 103,773 หมายเหตุ : ที่มาขอมูลสำนักงานอำเภอเมืองสุโขทัย ธันวาคม พ.ศ. 2564 การปกครอง อำเภอเมืองสุโขทัย แบงการปกครองสวนภูมิภาคเปน 8 ตำบล 4 เทศบาล โดยมีตำบลดังนี้ ตำบลปากแคว ตำบลตาลเตี้ย ตำบลยางซาย ตำบลวังทองแดง ตำบลบานสวน ตำบลปากพระ ตำบลบานหลุม ตำบลเมืองเกา และเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี เทศบาลตำบลบานกลวย เทศบาลตำบล บานสวน เทศบาลตำบลเมืองเกา


น้ า | 3 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพที่สำคัญของประชากรในอำเภอเมืองสุโขทัย คือ การทำนา การทำไร การทำสวนผลไม การเลี้ยงสัตว การทำประมงน้ำจืด ดังนั้นภาวะเศรษฐกิจของอำเภอเมืองสุโขทัย จึงขึ้นอยูกับผลผลิตและราคาสินคาเกษตรกรรม การถือครองที่ดินทางการเกษตรสวนใหญเกษตรกรมีพื้นที่เปนของตนเอง 1. ดานการเกษตร เกษตรกรปลูกพืชในพื้นที่ถือครองเกษตร ไดแก พื้นที่ทำนา พื้นที่ปลูก พืชไร พื้นที่ปลูกไมผล พื้นที่ปลูกพืชผัก ในสภาพพื้นที่ไร เกษตรกรปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกขาวโพด ตามดวยพืชตระกูลถั่วตาง ๆ นอกจากนี้ก็มีออย ฝาย รามทั้งผลไมตาง ๆ สวนในสภาพนามีการมีการปลูกขาวนาป เพียงอยางเดียว และสภาพนาในเขตชลประทาน ฤดูฝนปลูกขาวนาป ฤดูแลงปลูกขาวนาปรัง พืชตระกูลถั่ว แตงโม ยาสูบ พืชผักตาง ๆ 2. ดานปศุสัตว ประชากรภาคการเกษตรทั้งจังหวัด ประกอบอาชีพดานกสิกรรมเปนหลัก โดยมีการเลี้ยงสัตวเปนอาชีพรอง แนวทางสงเสริมการเลี้ยงสัตวที่เปนสัตวเศรษฐกิจของจังหวัดตามลำดับ 3. ดานประมง จากลักษณะภูมิประเทศและลักษณะทางกายภาพของแมน้ำยม ซึ่งไหลผาน ตั้งแตตอนเหนือถึงตอนใตของจังหวัด จะมีลุมน้ำสาขา หวย หนอง คลอง บึง เชื่อมตอหลายสายกระจาย อยูทั่วไปทุกอำเภอ 4. ดานอุตสาหกรรม เนื่องจากประชาชนสวนใหญทำอาชีพเกษตรกรรมทำใหอุตสาหกรรม สวนใหญเปนอุตสาหกรรมการเกษตร โดยใชวัตถุดิบจากผลิตผลทางการเกษตรในทองถิ่น สวนใหญ เปนอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และเทคโนโลยีการผลิตไมซับซอนมาก เชน โรงสีขาว อูซอมรถยนต เปนตน โรงงานอุตสาหกรรมมีการกระจายตัวอยูทั่วอำเภอ การศึกษา อำเภอเมืองสุโขทัยมีสถาบันการศึกษาครอบคลุมทุกระดับ ตั้งแตการศึกษาขั้นพื้นฐาน จนถึงขั้นปริญญาโท โดยแบงออกเปนสถาบันการศึกษาแยกตามสังกัด ดังนี้ 1. สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 6 แหง 1.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 1 ตั้งอยูตำบลบานกลวย อำเภอเมือง สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย มีพื้นที่รับผิดชอบ คือ อำเภอเมืองสุโขทัย อำเภอกงไกรลาศ อำเภอคีรีมาศ และอำเภอบานดานลานหอย มีโรงเรียนในความรับผิดชอบในอำเภอเมืองสุโขทัยของรัฐบาลตั้งแตระดับอนุบาล 1– ม.6 จำนวน 46 แหง และรับผิดชอบของเอกชน จำนวน 3 แหง 1.2 สังกัดคณะกรรมการการศึกษาอาชีวศึกษา มี 3 แหง 1. วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย 2. วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย 3. วิทยาลัยสารพัดชางสุโขทัย


น้ า | 4 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย 1.3 มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสุโขทัย 1.4 สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย 1.5 ศูนยการศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสุโขทัย 2. สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม จำนวน 1 แหง คือ วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 3. สังกัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา จำนวน 1 แหง มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาสุโขทัยสุโขทัย ขอมูลพื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย ชื่อสถานศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย ตำบลบานกลวย อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 64000 โทรศัพท 055-651805 โทรสาร 055-651804 http://sukho.nfe.go.th/mst/index.php ที่ตั้ง ภายในอาณาบริเวณ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดสุโขทัย เลขที่ 245 หมูที่ 2 ตำบลบานกลวย อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย รหัสไปรษณีย 64000 โทรศัพท/โทรสาร 0-5565-1804 มือถือ 0-8197-29414 เว็ปไซด http : /sukho.nfe.go.th/mst/index.php ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย ประกาศจัดตั้งขึ้น เปนสถานศึกษาเมื่อวันที่ 27 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2536 กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศจัดตั้งศูนยบริการ การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอทั่วประเทศ ในขณะนั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 789 แหงตอมาเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2536 กรมการศึกษานอกโรงเรียนไดพิจารณาคัดเลือกขาราชการครูในสังกัดศูนยการศึกษานอก โรงเรียนจังหวัดไปทำหนาที่ผูบริหารสถานศึกษา ในศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ ที่จัดตั้ง ขึ้นดังกลาว ในหนาที่หัวหนาศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ เขียนชื่อยอ กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย สังกัดสำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย โดยกำหนดโครงสรางและอำนาจหนาที่ของสถานศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อการกำหนดอำนาจและหนาที่ของสถานศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2551 ลงนามโดยนาย สมชาย วงศสวัสดิ์ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ลงในราชกิจจานุเบิกษาวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 และคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ 489/2551 ลงวันที่ 21 เมษายน 2551 ดังนี้ ขอที่ 1 ศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ เรียกโดยยอวา กศน.อำเภอและศูนยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเขต เรียกโดยยอ วากศน.เขต


น้ า | 5 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ทำเนียบผูบริหารสถานศึกษา กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย ลำดับที่ ชื่อ - สกุล ระยะเวลาที่ดำรงตำแหง 1 นายประศาสตร แปนจันทน 24 พฤศจิกายน 2536 – 9 พฤศจิกายน 2542 2 นายชาญณรงค ธารีพฤกษ 10 พฤศจิกายน 2542 – 14 ธันวาคม 2549 3 นายสมมาตร คงเรือง 15 ธันวาคม 2549 - 30กันยายน 2564 4 นางสาวจิรวรรณ จันทไชย 1 ธันวาคม 2564 - ปจจุบัน คณะกรรมการกศน.อำเภอเมืองสุโขทัย 1. นายสุทธิชัย เข็มคง ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา ประธานกรรมการ 2. นางประเทือง เหลี่ยมผา ผูทรงคุณวุฒิดานสาธารณสุข กรรมการ 3. นายวินิต เนียมนวม ผูทรงคุณวุฒิดานพัฒนาสังคม ชุมชนและสิ่งแวดลอม กรรมการ 4. นายขรรคชัย ดอนพิมพา ผูทรงคุณวุฒิดานการเมือง การปกครอง กรรมการ 4. นายฉลอง ศรีมวง ผูทรงคุณวุฒิดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสารสนเทศ กรรมการ 5. นางสาวสมปอง ชวยพรม ผูทรงคุณวุฒิดานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กรรมการ 6. นางทุเรียน พรมมิ ผูทรงคุณวุฒิดานภูมิปญญาทองถิ่น กรรมการ 7. นายชนะ เพิ่มพูน ผูทรงคุณวุฒิดานความมั่นคง กรรมการ 8. นายสมมาตร คงเรือง ผูอำนวยการสถานศึกษา กรรมการและเลขานุการ 9. นางสาวเสรี คงเนียม ครู ชำนาญการพิเศษ กรรมการและผูชวยเลขานุการ บุคลากร กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย ในปงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานทั้งในสำนักงาน หองสมุดประชาชน จังหวัดสุโขทัย และ กศน.ตำบล รวมทุกประเภท 24 คน รายละเอียดดังนี้ 1. ผูบริหาร จำนวน 1 คน 2. ขาราชการครู จำนวน 2 คน 3. ลูกจางประจำ จำนวน 1 คน 4. พนักงานราชการ(ครูอาสาสมัคร กศน.) จำนวน 3 คน 5. พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล) จำนวน 12 คน 6. ครูศูนยการเรียนชุมชน (ครูศรช.) จำนวน 1 คน 7. ครูผูสอนคนพิการ จำนวน 1 คน 8. พนักงานจางเหมา (บรรณารักษอัตราจาง) จำนวน 1 คน 9. พนักงานจางเหมา (พนักงานบริการ) จำนวน 1 คน 10. พนักงานจางเหมา (นักวิชาการศึกษา) จำนวน 1 คน


น้ า | 6 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย โครงสรางการดำเนินงานใน กศน.อำเภอ ผูอำนวยการ กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย นายสาวจิรวรรณ จันทไชย กลุมอำนวยการ นางสาวเสรี คงเนียม นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร กลุมจัดการศึกษานอกระบบ นางสาววันนิสา ฉ่ำเจริญ นางพัชรีพร ดวงดาว กลุมภาคีเครือขายและกิจกรรมพิเศษ นางสาววันนิสา ฉ่ำเจริญ นางกานดา หงษผวย • งานธุรการ-งานสารบรรณ (นางสาวณิชกานต เสารแดน) • ประชาสัมพันธ (นางสาววันนิสา ฉ่ำเจริญ) • บริหารงานทั่วไป (นางสาวเสรี คงเนียม) • การเงิน-บัญชี (นางสาวเสรี คงเนียม) • แผนงาน โครงการ (นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร) • งานบุคลากร (นางกานดา หงษผวย) • จัดซื้อพัสดุ (นางสาววันนิสา ฉ่ำเจริญ) • จัดจางพัสดุ (นางกานดา หงษผวย) • ครุภัณฑ (นางกานดา หงษผวย) • ขอมูลสารสนเทศ/รายงาน (นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร) • นิเทศภายในและติดตามผล (นางสาวเสรี คงเนียม) • งานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา (นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร) • งานเลขานุการสถานศึกษา (นางสาวเสรี คงเนียม) • งานอาคารสถานที่ • งาน กศน.ตำบล (นางพัชรีพร ดวงดาว) • งานสงเสริมการรูหนังสือ (นางพัชรีพร ดวงดาว) • งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ (นางพัชรีพร ดวงดาว) • งานการศึกษาตอเนื่อง (นางสาววันนิสา ฉ่ำเจริญ) • งานทะเบียนและวัดผล (นางสาวเสรี คงเนียม) • งานกิจการนักศึกษา (นางพัชรีพร ดวงดาว) • งานสงเสริม สนับสนุน ภาคีเครือขาย (นางกานดา หงษผวย) • งานกิจกรรมพิเศษ (นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร) • งานการศึกษาตามอัธยาศัย (นางสาวกาญจน ไชยทา) • งานหองสมุดประชาชน (นางสาวกาญจน ไชยทา) • งานสงเสริมการอาน (นางสาวกาญจน ไชยทา) • งานบานหนังสือชุมชน (นางสาวกาญจน ไชยทา)


น้ า | 7 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย กศน.ตำบลในสังกัด กศน.ตำบล ที่ตั้ง ผูรับผิดชอบ 1. กศน.ตำบลปากแคว หมูที่ 1 ตำบลปากแคว นายอนุสรณ สอนงาย นางวันนิสา ฉ่ำเจริญ 2. กศน.ตำบลบานกลวย หมูที่ 2 ตำบลบานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง นางวาสนา แกวทุง นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร 3. กศน.ตำบลบานหลุม หมูที่ 8 ตำบลบานหลุม นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม นางพัชรีพร ดวงดาว 4. กศน.ตำบลตาลเตี้ย อบต ตำบลตาลเตี้ย นายทิวา ยี่ทอง นางกานดา หงษผวย 5. กศน. ตำบลปากพระ หมูที่ 1 ตำบลปากพระ นายสมเกียรติ บัวปอม นางพัชรีพร ดวงดาว 6. กศน.ตำบลบานสวน หองสมุดประชาชน ตำบลบานสวน นางสาวพิมพใจ จันทรโพยม นางกานดา หงษผวย 7. กศน.ตำบลธานี หองสมุดประชาชนจังหวัด วาที่ร.ต.พนม วันจันทร นางสาวพิชญกัลยา เจติยานนท นางบำเพ็ญ อิสระไพจิตร 8. กศน. ตำบลยางซาย อาคารศูนยประสานงาน องคกรชุมชนหมูที่ 1 นายกรวิทย เพ็ชรมาตศรี นางพัชรีพร ดวงดาว 9. กศน.ตำบลเมืองเกา อาคารเอกเทศ หมูที่ 10 นางพัชรพร ชัยวรรณ นางสาวเสรี คงเนียม 10. กศน.ตำบลวังทองแดง โรงเรียนบานไสยาศน หมูที่ 2 นางสาวทิพยวรรณ พันธชัย นางสาวเสรี คงเนียม ศูนยการเรียนชุมชน ศูนยการเรียนชุมชน ที่ตั้ง ผูรับผิดชอบ 1. ตำบลเมืองเกา ตำบลเมืองเกา อำเภอเมืองสุโขทัย นางสาวจิรวดี มีฤทธิ์ รวมจำนวน 1 แหง


น้ า | 8 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย แหลงเรียนรู ขื่อแหลงเรียนรู ดาน ที่อยู/เบอรโทร ผูรับผิดชอบ สุเทพสังคโลก หัตกรรม 203/2 ม.3 ต. เมืองเกา นางพัชรพร ชัยวรรณ ถนนวัฒนธรรม ประวัติศาสตร อุทยานประวัติศาสตร สุโขทัย ต.เมืองเกา นางพัชรพร ชัยวรรณ บานหนังสือชุมชน บานคลองตะเคียน การอาน 306 ม.3 ต.บานสวน โทร.081-3841429 นางสาวพิมพใจ จันทรโพยม บานหนังสือชุมชนโพธิ์ทาง ขาม การอาน 26 ม.3 ต.บานสวน โทร.081-2803656 นางสาวพิมพใจ จันทรโพยม การเกษตรตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียง 257 ม.3 ต.ปากพระ โทร.086-2013071 นายสมเกียรติ บัวปอม รพ.สต.ปากพระ สุขภาพอนามัย รพ.สต.ปากพระ โทร.099-2395295 นายสมเกียรติ บัวปอม สวนไผเพิ่มทรัพย เศรษฐกิจพอเพียง ม.6 ต.บานหลุม โทร.0918430335 นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม ขื่อแหลงเรียนรู ดาน ที่อยู/เบอรโทร ผูรับผิดชอบ ศูนยเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง 111/4 ม.1 ต.วังทองแดง โทร. 089-725412 นางสาวทิพยวรรณ พันธชัย ศูนยเศรษฐกิจพอเพียง บานบางหวาน เกษตร ที่อยู 247 ม.1 ต.ยางซาย โทร.097-0461463 นายกรวิทย เพ็ชรมาตศรี เศรษฐกิจพอเพียงบานเกษตร เกษตรกรรม 67/1 ม.4 ต.ตาลเตี้ย โทร.089-4392200 นายทิวา ยี่ทอง วัดไทยชุมพล ศาสนา 220 ต.ธานี โทร.055-654062 วาที่ร.ต.พนม วันจันทร วัดราชธานี ศาสนา 38 ต.ธานี โทร.055-611528 วาที่ร.ต.พนม วันจันทร รพ.สต.บานกลวย สุขภาพ หมูที่ 3 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง วัดบานขวาง ศาสนา หมูที่ 3 ต.บานกลวย นางวาสนา แกวทุง จำนวน 14 แหง


น้ า | 9 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ภาคีเครือขาย ชื่อภาคีเครือขาย ดาน ที่อยู/เบอรโทรศัพท ผูรับผิดชอบ องคการบริหารสวนตำบล เมืองเกา การเมือง การปกครอง อบต.เมืองเกา หมูที่ 7 ต.เมืองเกา นายกองคการบริหารสวนตำบล เมืองเกา เทศบาลตำบลเมืองเกา การเมือง การปกครอง 888 ม.3 ต.เมืองเกา นายกเทศมนตรีตำบลเมืองเกา โทร.055-697322 รพ.สต.บานสวน สุขภาพ 518/1 หมูที่.3ต.บาน สวน ผูอำนวยการรพ.สต.บานสวน โทร.055-699196 องคการบริหารสวนตำบล ปากพระ การเมือง การปกครอง ม.1 ต.ปากพระ นายกองคการบริหารสวนตำบล ปากพระ รพ.สต.ปากพระ สาธารณสุข ม.1 ต.ปากพระ ผูอำนวยการรพ.สต.ปากพระ โทร. 099-2395295 วัดคงคามาลัย ศาสนา ม.1 ต.ปากพระ เจาอาวาสวัดคงคามาลัย ตำบลปากพระ องคการบริหาร สวนตำบลตาลเตี้ย การเมือง การปกครอง ม.1 ต.ตาลเตี้ย นายกองคการบริหารสวนตำบล ตาลเตี้ย โทร .055-632502 องคการบริหาร สวนตำบลวังทองแดง การเมือง การปกครอง ม.2 ต.วังทองแดง นายกองคการบริหารสวนตำบล วังทองแดง โทร. 055-697304 องคการบริหาร สวนตำบลยางซาย การเมือง การปกครอง ม.4 ต.ยางซาย นายกองคการบริหารสวนตำบล ยางซาย โทร.091-8537626 กกต.จังหวัดสุโขทัย การเมือง การปกครอง 333ม.7 ต.บานกลวย ผูอำนวยการ กกต.จังหวัดสุโขทัย โทร.055-651062 เทศบาลตำบล บานกลวย การเมือง การปกครอง หมูที่ 7 ต.บานกลวย ปลัดเทศบาลตำบลบานกลวย โทร.055-616288 องคการบริหาร สวนตำบลบานหลุม การเมือง การปกครอง หมูที่ 9 ต.บานหลุม นายกองคการบริหารสวนตำบล บานหลุม โทร.055-610910 รพ.สต.บานหลุม สุขภาพ หมูที่ 1ต.บานกลวย นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม โรงเรียนศรีมหาโพธิ์ การศึกษา หมูที่ 1 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง รพ.สต.บานกลวย สุขภาพ หมูที่2 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง


น้ า | 10 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ชื่อภาคีเครือขาย ดาน ที่อยู/เบอรโทรศัพท ผูรับผิดชอบ โรงพยาบาลจังหวัดสุโขทัย สุขภาพ หมูที่12 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง เทศบาลตำบลบานกลวย การเมืองการ ปกครอง หมูที่14 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง วัดบานขวาง ศาสนา หมูที่3 ต.บานกลวย นางเสาวภาคย เข็มคง เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี การเมืองการ ปกครอง ต.ธานี อ.เมือง วาที่ร.ต.พนม วันจันทร รวมจำนวน 18 แหง ชื่อภูมิปญญา สาขา/ดาน ที่อยู/เบอรโทรศัพท ผูรับผิดชอบ นางสมศรี แวนแกว หัตกรรม/การสาน ชะลอม บานเลขที่ 44 ม.2 ต.ปากพระ นายสมเกียรติ บัวปอม นางปราสาท ปานทุง การถนอมอาหาร/ ผลิตภัณฑจากปลา บานเลขที่ 10 ม.3 ต.ปากพระ นายสมเกียรติ บัวปอม นายสมศักดิ์ คำสุวรรณ หัตกรรม/การถักแห 209/2 ม.8 ต.บานหลุม นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม นายดำรง ศรีมวง วงมังคละ 128 ม.6 ต.บานหลุม นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม นายสุทธิชัย ปนแจง ปลากัด 5/15 ม.4 ต.ตาลเตี้ย นายทิวา ยี่ทอง นายกำยวน นวมหมวด หัตกรรม /จักสาน ไมไผ 71/1 ม.5 ต.บานกลวย นางวรรณนิดา ออมสิน นายจรูญ คลายจอย เคมีสิ่งทอ(ผามัดยอม) 333/1 ม.3 ต.บานสวน นางสาวพิมพใจ จันทรโพยม นายเชารัตน พุมพันธ เกษตรกรรม/ เศรษฐกิจพอเพียง 6/12 ม. 9 ต.ปากแคว นายอนุสรณ สอนงาย นายเหล็ง จันทรฉาย หัตกรรม/ขาวตอก พระรวง 382/1 ม. 2 ต.เมืองเกา นางพัชรพร ชัยวรรณ นายสุเทพ พรหมเพ็ชร หัตกรรม/สังคโลก 230/2 ม.3 ต.เมืองเกา นางพัชรพร ชัยวรรณ นายเปยน ปนติ เกษตรกรรม/ เศรษฐกิจพอเพียง ม.2 ต.ยางซาย นายกรวิทย เพ็ชรมาตศรี นายสมาน ถาวร เกษตรกรรม/ เศรษฐกิจพอเพียง 114/1 ม.1 ต.วังทองแดง นางสาวทิพยวรรณ พันธชัย นางสุณี เหลานรเศรษฐ คหกรรม/การถนอม อาชีพ 77/6 ถ.ประเวศนคร ต.ธานี วาที่ร.ต.พนม วันจันทร


น้ า | 11 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ภูมิปญญา ชื่อภูมิปญญา สาขา/ดาน ที่อยู/เบอรโทรศัพท ผูรับผิดชอบ นางมารศรี ศรีมวง เกษตรกรรม/ เศรษฐกิจพอเพียง 135 ม.6 ต.บานหลุม โทร.091-8394541 นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม นายปญญาวัจน เหมือนเชตุ หัตกรรม/การจักสาน 149 ม.3 ต.เมืองเกา โทร.081-8817990 นางพัชรพร ชัยวรรณ นางประมวล ฉิมไล หัตกรรม/ผามัดยอม/ พิมพผา 118/2 ม.1 ต.ตาลเตี้ย โทร.083-9518896 นายทิวา ยี่ทอง นางจำนงค ศิริโภคา ม.5 ต.บานกลวย อ. เมืองสุโขทัย อุตสาหกรรมและ หัตกรรม (ผลิตภัณฑจากไมไผ) นางวาสนา แกวทุง รวม 18 คน


น้ า | 12 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สวนที่ 2 ผลการประเมินสภาพแวดลอม และศักยภาพของสถานศึกษา 1. หลักการ การศึกษาเปนเครื่องมือสำคัญในการสรางคน สรางสังคม และสรางชาติ เปนกลไกหลัก ในการ พัฒนากำลังคนใหมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตอยูรวมกับบุคคลอื่นในสังคมไดอยางเปนสุข ในกระแสการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ ๒๑ เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำคัญ ในการสรางความไดเปรียบ ของประเทศเพื่อการแขงขันและยืนหยัดในเวทีโลกภายใตระบบ เศรษฐกิจและสังคมที่เปนพลวัต ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกจึงใหความสำคัญและทุมเทกับการพัฒนา การศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยของตนใหสามารถกาวทัน การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ควบคูกับการธำรงรักษา อัตลักษณของประเทศ ในสวนของประเทศไทยไดใหความสำคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพและขีด ความ สามารถของคนไทยใหมีทักษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการ ของตลาด งานและการพัฒนาประเทศ ภายใตแรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน และ แรงกดดันภายในประเทศที่ เปนปญหาวิกฤตที่ประเทศตองเผชิญ เพื่อใหคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีสังคมไทยเปนสังคมคุณธรรม จริยธรรม และประเทศสามารถกาวขามกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่พัฒนาแลว รองรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและสงผลกระทบตอระบบการศึกษา ระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศไทย 2. เหตุผล จากหลักการดังกลาว ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย จึงตองนำมาวิเคราะหสภาพแวดลอม และศักยภาพในการทำงาน โดยภาพรวมขององคกร สภาพแวดลอมภายใน องคกรคณะผูจัดทำไดจัดทำการวิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยใชเทคนิควิธีการ SWOT ( SWOT Analysis ) ประเมินสถานภาพของสถานศึกษาแลวนำขอมูลมากำหนดทิศทางของสถานศึกษา ดังนี้ สภาพแวดลอมภายใน 1. วิเคราะหสภาพแวดลอมองคกร โดยใชเทคนิค SWOT ดังนี้ 1.1 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร คือการวิเคราะหจุดแข็ง (S : Strength) และจุดออน (W:Weakness) ในตาราง ตอไปนี้ ขั้นตอนในการวิเคราะหจุดแข็ง (S : Strength) และจุดออน (W:Weakness) มีดังนี้ 1) ขอความนั้นจะตองบอกไดวาอะไรเปนจุดแข็ง (S : Strength)/จุดออน (W:Weakness) 2) จุดแข็ง (S : Strength)/จุดออน (W:Weakness)ที่พบนั้นทำใหเกิดอะไร


น้ า | 13 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย 3) วิเคราะหตอไปอีกวาสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นมีผลกระทบอะไร ขอมูลการวิเคราะห SWOT : จุดแข็ง/จุดออน/โอกาส/อุปสรรค ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) 1 ดานบุคลากร 1. มีบุคลากรปฏิบัติงานครบทุกตำบล 10 ตำบล 2. บุคลากรมีใบประกอบวิชาชีพคิด เปนรอยละ 100 3. บุคลากรมีความรูความสามารถ มี ทักษะในการปฏิบัติงานและมีการ ทำงานเปนทีม 1.ครู กศน.ที่จัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานจบวิชาเอกสาระ ความรูพื้นฐานมีนอย (คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ) จึงทำให จัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับ ผูเรียนยังไมดีพอ 2. บุคลากรมีทักษะดาน เทคโนโลยีนอย 2.ดานหลักสูตร/กิจกรรม 1. มีหลักสูตรการรูหนังสือไทย พุทธศักราช 2557 และ คูมือครู สื่อ การเรียนการสอน และการวัดผล ประเมินผลสำหรับจัดการศึกษาการรู หนังสือ 1.หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานครบทั้งระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนตน และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ยังไมไดปรับปรุงให เปนปจจุบัน ดังนั้นการจัดทำ แผนการเรียนรูในแตละภาคเรียน จึงทำไดยาก 2. หลักสูตรการศึกษาตอเนื่องยัง ไมไดปรับปรุงใหทันสมัย สอดคลองกับนโยบายในระดับ ตาง ๆสภาพปญหา ความตองการ ของผูเรียนและชุมชน คือ


น้ า | 14 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) - หลักสูตรการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทำ ควรปรับปรุง โดยเนน New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคลองกับ บริบทของสุโขทัย พื้นที่ความ ตองการและความหลากหลาย ของกลุมเปาหมาย เชน ผูพิการ ผูสูงอายุ ความตองการของ ตลาดแรงงานและกลุมอาชีพใหม ที่รองรับ Disruptive Technology - หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตใหทุกกลุมเปาหมาย ควรเนนสงเสริมการจัดการศึกษา ของผูสูงอายุ เพื่อเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตที่เหมาะสม กับชวงวัย - หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชนควรเนนเรื่อง เมืองสรางสรรคดาน ศิลปหัตถกรรม เพื่อใหสอดคลอง กับวิสัยทัศน พันธกิจ ของ สถานศึกษา


น้ า | 15 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) - หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชนควรเนนเรื่องเมืองสรางสรรค ดานศิลปหัตถกรรม เพื่อใหสอดคลอง กับวิสัยทัศน พันธกิจ ของสถานศึกษา - หลักสูตรการเรียนรูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงควรมีการพัฒนา และตอยอดใหทันสมัยกับสถานการณ ปจจุบัน 3. รูปแบบและกิจกรรมในการจัด กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยยังไมได พัฒนารูปแบบใหสอดคลองกับ สถานการณและการเปลี่ยนแปลงของ สังคมในปจจุบัน ควรดำเนินการ ดังตอไปนี้ - การจัดกิจกรรมการสงเสริมการอาน ควรเนนรูปแบบออนไลน และแหลง เรียนรูตนแบบ Co-learning space - ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบลใหมี ความพรอมเพื่อเปนพื้นที่การเรียนรู ตลอดชีวิตของชุมชน - การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมใน หองสมุดประชาชนโดยเนน Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอานและ การรูหนังสือของประชาชนที่เปน กลุมเปาหมาย


น้ า | 16 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) 3.ผูเรียน/ผูรับบริการ 1. ผูเรียนหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - ผูเรียนมีผลการประเมิน คุณธรรมจริยธรรมอยูในระดับดี มาก - มีอัตราการเขาสอบระดับชาติ (N-net) สูงกวาเกณฑที่กำหนด ไวรอยละ 60 คือ มีอัตราเขาสอบ รอยละ 85 - ผูเรียนมีผลการทำกิจกรรม พัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ผาน ตามเกณฑที่กำหนด คือ ผาน เกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 70 จำนวน 200 ชั่วโมง ทุกระดับ การศึกษา ยกเวนมีการเทียบโอน กพช. 1. ผูเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - มีอัตราการเขาสอบปลายภาคเรียน ตำกวาเกณฑที่สำนักงาน กศน.กำหนด ไวรอยละ 75 คือ มีอัตราเขาสอบรอย ละ 66 3.ผูเรียน/ผูรับบริการ 2. ผูเรียนหลักสูตรการศึกษา ตอเนื่อง - ผูเรียนที่จบการศึกษาอาชีพ รอยละ 80 สามารถ นำความรูไป ใชในชีวิตประจำวัน ในระดับมาก - ผูเรียนการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต รอยละ 80 นำความรู ไปใชในชีวิตประจำวัน ในระดับ มาก - ผูเรียนการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน รอยละ 80 3. ผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย - ผูรับบริการกิจกรรมหองสมุด ประชาชนจังหวัดสุโขทัย มีจำนวนนอย - กิจกรรมสงเสริมการอานไม หลากหลาย ไมนาสนใจทำให ผูใชบริการมารวมกิจกรรมนอย 3. ผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย - ผูรับบริการสงเสริมการอานใน หองสมุดประชาชน มีจำนวนไมมาก


น้ า | 17 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) นำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน ใน ระดับมาก - ผูรับบริการสงเสริมการอานใน หองสมุดประชาชน มีจำนวนไมมาก - ผูรับบริการในบานหนังสือชุมชน มีผูมาใชบริการนอย 4. ดานระบบบริหาร/จัดการ - ดานบริหารทั่วไป - ดานบริหารการเรียน การสอน 1. ดานบริหารทั่วไป มีการ ปฏิบัติงานที่เปนระบบ ดังนี้ - การวางแผนปฏิบัติการประจำป - การเบิกจายงบประมาณ - การติดตามและประเมินผล - การปรับปรุงและพัฒนา อยางตอเนื่อง 2. มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชในการบริหารจัดการอยางเปน ระบบ ดังนี้ - E-Budget - E-Office - EGP – ITW - ระบบเชื่อมโยง - ระบบ DMIS - ระบบรายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา - ระบบรายงานบานหนังสือชุมชน 1. การนำเทคโนโลยีมาใชในการ บริหารจัดการและการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยยังทำไมครอบคลุมทุก ภารกิจ เชน - เว็บไซต กศน.อำเภอ - เว็บไชต หองสมุดประชาชนจังหวัด สุโขทัย - เว็บไซต กศน.ตำบล - โปรมแกรมสำเร็จรูปเพื่อการ วิเคราะหขอมูล - Cloud สำหรับเก็บขอมูลและสื่อ อิเล็กทรอนิกส - Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของ กศน. อำเภอเมืองสุโขทัย 2. ดานการบริหารการเรียนการ สอน มีการปฏิบัติงานที่เปนระบบ ดังนี้ - การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรม - การจัดทำแผนการสอน - การจัดหาสื่อและวัสดุอุปกรณ


น้ า | 18 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในองคกร ประเด็นพิจารณา จุดแข็ง (S : Strength) จุดออน (W:Weakness) - การจัดการเรียนการสอน - การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน - การวัดผลและประเมินผล - การนิเทศติดตามและประเมินผล 5. ดานโครงสรางพื้นฐาน 1. มีสำนักงาน อาคาร สถานที่ ที่ เปนเอกเทศ แข็งแรง มี สาธารณูปโภคครบถวน การ คมนาคมสะดวก ปลอดภัย ดังนี้ - กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย - หองสมุดประชาชนจังหวัดสุโขทัย - กศน.ตำบล 9 แหง 2. มีเครื่องรับสัญญาณอินเตอรเน็ต ความเร็วสูง ครบทุกแหง ( กศน. อำเภอ,หองสมุดประชาชน,กศน. ตำบล ) 1. กศน.ตำบลบานสวนและศูนยการ เรียนชุมชน ยังไมมีอาคารและ สถานที่ที่เปนเอกเทศ 2. สัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็วสูง ในกศน.ตำบล,หองสมุดประชาชน จังหวัดสุโขทัย สัญญาณไมเสถียร 3. ครุภัณฑเกาชำรุดไมพรอมใชงาน 1.2 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร เพื่อพิจารณาหาโอกาส( O : Opportunity) และภยันตราย (T : Threat) ดังตาราง ตอไปนี้ ขั้นตอนในการวิเคราะหมีดังนี้โอกาส( O : Opportunity) และภยันตราย (T : Threat) 1) ขอความนั้นจะตองบอกไดวาอะไรเปนโอกาส ( O : Opportunity) และภยันตราย (T : Threat) 2) โอกาส ( O : Opportunity) และภยันตราย (T : Threat) ที่พบนั้นทำใหเกิดอะไร 3) วิเคราะหตอไปอีกวาสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นมีผลกระทบอะไร


น้ า | 19 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) 1.ดานนโยบาย ระดับตาง ๆ -แผนการศึกษาแหงชาติ 1. ยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) วิสัยทัศน : ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศที่ พัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - นโยบายสำนักงาน กศน. - นโยบายจังหวัด 2. แผนการศึกษาชาติ - วิสัยทัศน พ.ศ. 2560-2579 “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษา และเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดำรงชีวิต อยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑” - เปาหมายดานผูเรียน (Learner Aspirations)โดยมุงพัฒนา ผูเรียนทุกคนใหมี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs8Cs) ประกอบดวยทักษะและ คุณลักษณะตอไปนี้ ✥ 3Rsไดแกการอานออก (Reading)การเขียนได (Writing)และการคิดเลขเปน (Arithmetics) ✥ 8Csไดแก ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแกปญหา(Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตาง กระบวนทัศน(Cross–cultural Understanding)ทักษะดาน ความรวมมือการทำงานเปนทีมและภาวะผูนำ (Collaboration,Teamwork and Leadership) ทักษะดาน การสื่อสารสารสนเทศ และการรูเทาทันสื่อ mmunications,Information and Media Literacy) ทักษะ ดานคอมพิวเตอรและ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)ทักษะอาชีพ และ ทักษะการ


น้ า | 20 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) เรียนรู(Careerand Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มี วินัย คุณธรรมจริยธรรม (Compassion) 3.แผนพัฒนา กศน. 2560-2579 วิสัยทัศน “คนไทยไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมี คุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่ เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และมีทักษะที่จำเปนในโลกศตวรรษที่ 21” จุดเนน “สงเสริม สนับสนุน และใหบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยและ การเรียนรูตลอดชีวิตอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรูที่ เปนปจจุบันและตรงกับความตองการของผูเรียน และสังคม โดยนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายและทันสมัยมาเปนกลไกในการจัด รวมทั้งพัฒนาครูใหเปนผูจัดการศึกษาและการเรียนรูมืออาชีพ เนน พัฒนากระบวนการคิดและการวิจัยใหกับกลุมเปาหมาย ใชกลยุทธ การบริหารจัดการเชิงรุก โดยใหชุมชนและทุกภาคสวนมีสวนรวม ภายใตการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสรางสังคมแหง การเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน” เปาหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเขาถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทั้ง การเรียนรูตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอยางทั่วถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับชวง วัย สอดคลองกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ศตวรรษที่ 21


น้ า | 21 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) 3) หนวยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมี ประสิทธิภาพเพื่อใหบริการ การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตใหกับประชาชนอยางทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ 4) หนวยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ ภายใตการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและ 4. รัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 - มาตรา 54 รัฐตองดำเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปน เวลาสิบสองป ตั้งแต กอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยาง มีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รัฐตองดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับ การดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อ พัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสม กับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดำเนินการดวย รัฐตอง ดำเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบ ตาง ๆ รวมทั้งสงเสริม ใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดใหมีการ รวมมือกันระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ ภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ ดำเนินการ กำกับ สงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษา ดังกลาวมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายวา ดวยการศึกษาแหงชาติซึ่งอยางนอย ตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการ จัดทำแผนการศึกษาแหงชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบ การดำเนินการ ใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย การศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัย ภูมิใจ ในชาติ


น้ า | 22 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็น พิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) 4) หนวยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ ภายใตการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและ 4. รัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 - มาตรา 54 รัฐตองดำเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปน เวลาสิบสองป ตั้งแต กอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยาง มีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รัฐตองดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับ การดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อ พัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสม กับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดำเนินการดวย รัฐตอง ดำเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบ ตาง ๆ รวมทั้งสงเสริม ใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดใหมีการ รวมมือกันระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ ภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ ดำเนินการ กำกับ สงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษา ดังกลาวมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายวา ดวยการศึกษาแหงชาติซึ่งอยางนอย ตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการ จัดทำแผนการศึกษาแหงชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบ การดำเนินการ ใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย การศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีวินัย ภูมิใจใน ชาติ สามารถเชี่ยวชาญได ตามความถนัดของตน และมีความ รับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 5. นโยบาย สำนักงานกศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจัดการเรียนรู 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการ เรียนรูของสำนักงาน กศน.ตลอดจนพัฒนาสื่อการเรียนรูทั้งใน


น้ า | 23 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) รูปแบบออนไลนและออฟไลนและใหมีคลังสื่อการเรียนรูที่เปนสื่อที่ ถูกตองตามกฎหมายงายตอการสืบคนและนำไปใชในการจัดการเรียนรู 2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เนนการพัฒนาทักษะที่ จำเปนสำหรับแตละชวงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรูที่ เหมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบริบทพื้นที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เนน New skill up sskill และ Re skill ที่สอดคลองกับบริบทพื้นที่ ความตองการและความ หลากหลายของกลุมเปาหมาย เชน ผูพิการ ผูสูงอายุ ความตองการ ของตลาอดแรงงาน และกลุมอาชีพใหมที่รองรับ Disruptive Technology 2.5สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุ เพื่อเปน Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับชวงวัย 2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับ กลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการออทิศติก เด็กเรรอน และ ผูดอยโอกาสอื่น ๆ 2.11 สราง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเปนเครือขายในการสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในชุมชน /สถานศึกษา นำไปใชใน การพัฒนากระบวนการเรียนรูรวมกัน 3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนยการเรียนชุมชนไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.) ใหมีความพรอมเพื่อเปนพื้นที่การเรียนรูตลอด ชีวิตที่สำคัญของชุมชน 3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพื้นที่การเรียนรูในรูปแบบ Pubic Learning Space / Co- Learning Space เพื่อการสรางนิเวศการ เรียนรูใหเกิดขั้นในสังคม


น้ า | 24 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) 4. ดานการบริหารจัดการคุณภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท โครงสรางของหนวยงานเพื่อรองรับ การเปลี่ยนตามกฎหมาย 4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตาม มาตรฐานตำแหนงใหตรงกับสายงาน และทักษะที่จำเปนในการจัด การศึกษาและการเรียนรู 4.5 สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการบริหาร จัดการอยางเต็มรูปแบบ 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสราง ความพรอมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรับประชาชน 6. นโยบายจังหวัดสุโขทัย - วิสัยทัศน “สุโขทัยเมืองแหงมรดกโลก ทองเที่ยวประทับใจ เศรษฐกิจ กาวไกล สุขภาพอนามัยดีถวนหนา” 7. วิสัยทัศนอำเภอเมืองสุโขทัย “เมืองแหงการทองเที่ยวแหลงเกษตรพืชไร ใชปุยอินทรียชีวภาพ จัดระบบทรัพยากรน้ำ ” 2ดานสภาพ ของชุมชน - เศรษฐกิจ - การเมือง - สังคม/ วัฒนธรรม 1. เศรษฐกิจของชุมชน ประชาชนสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม ไดแก การทำนาปลูกขาว ยาสูบ ขาวโพด ปลูกผักสวนครัว อาชีพตาง ๆ ของ ชุมชนดังกลาว สามารถนำมาจัดทำเปนหลักสูตรทองถิ่นเพื่อนำมาใชใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทำใหกับ ผูเรียนได และสามารถนำมาเปนแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ดานการเมือง มีการดำเนินการทางการเมืองตามระบอบ ประชาธิปไตย ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยโดยไปใชสิทธิเลือกตั้ง


น้ า | 25 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็น พิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) 3. ดานสังคม ประชาชนมีความเปนอยู2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ สังคมเมือง ซึ่งประชาชนจะมีความเปนอยูในลักษณะตัวใครตัวมัน สวนใหญมีอาชีพประจำ เชน เปนขาราชการ ทำงานเอกชน และ อาชีพอิสระ สวนที่ 2 มีลักษณะเปนชุมชนที่มีความเกี่ยวดอง เปน เครือญาติกัน มีความสามัคคีสมานฉันท มีการรวมกลุมทำกิจกรรม ตาง ๆ รวมกันในชุมชน เชน กลุมสตรี กลุมออมทรัพย กลุม ผูสูงอายุ กลุมวิสาหกิจชุมชน กลุมเยาวชน กลุมอาชีพตาง ๆ กลุม เกษตรกร กลุมผูใชน้ำ ดังนั้น กิจกรรมการรวมกลุมทางสังคมของ ประชาชนในชุมชนดังกลาว จึงสามารถนำมากำหนดเปนเปาหมาย ในการพัฒนาและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเพื่อสรางโอกาสในการเรียนรูใหกับประชาชนใหเปนสังคม แหงการเรียนรูได 4. ดานวัฒนธรรม มีสถาบันศาสนาหลัก คือ อุทยานประวัติศาตร สุโขทัย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติรามคำแหง วัด ซึ่งเปนศูนยรวม จิตใจของคนในชุมชน ซึ่งแสดงใหเห็นวาประชาชนมีจิตใจ ใฝ ทางดานศีลธรรมคุณธรรมนำมาใชในการดำเนินชีวิตวัดดังกลาวและ เปนแหลงเรียนรูสำหรับนำมาใชในการจัดการศึกษา 5.ดานประเพณี อำเภอเมืองสุโขทัย มีประเพณีที่ดีงามตาง ๆ เชน ประเพณีรดน้ำดำหัว ประเพณีตักบาตรเทโว ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเลนไฟ แขงเรือ สนามวัวชน สนามชนไกซึ่งประเพณี ดังกลาวสามารถนำมาพัฒนาเปนหลักสูตร และเปนแหลงเรียนรู ใหกับผูเรียนได 6. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่อำเภอเมืองสุโขทัยมี สภาพแวดลอมที่ดี คือมีแหลงน้ำทุงทะเลหลวง เขื่อนสรีดภงส ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงทุงทะเลหลวง สวนพฤษศาสตรพระ แมยา บึงใหญ สวนหลวงเฉลิมพระเกียรติ ร.9 จังหวัดสุโขทัย และ สภาพแวดลอมตาง ๆ ใหคงอยูดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติและ


น้ า | 26 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ตารางวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ประเด็นพิจารณา โอกาส( O : Opportunity) ภยันตราย (T : Threat) สิ่งแวดลอมตาง ๆ นั้น สามารถนำมาเปนแหลงเรียนรูใหผูเรียนได ศึกษาคนควาหาความรูดวยการเรียนรูจากของจริง 3.ดานภาคี เครือขาย (ปริมาณ/ คุณภาพ) 1. มีภาคีเครือขายที่มีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตครอบคลุมทุก กิจกรรม เชน รพ.สต.บานสวน ร.พ.สต.บานกลวย รวมจัดโครงการ หลักสูตรการดูแลผูสูงอายุ โรงพยาบาลจังหวัดสุโขทัย เปนวิทยากร ใหความรูเรื่องกการปฐมพยาบาล การดูแลผูสูงอายุ 3. ความจำเปน จากหลักการและเหตุผลดังกลาว ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ เมืองสุโขทัย จึงมีความจำเปนตองจัดทำพันธกิจ ของสถานศึกษาดังตอไปนี้ พันธกิจ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพอยางตอเนื่องตลอดชีวิต 2. สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของภาคีเครือขายในการจัด กศน. เพื่อสรางสังคมแหงการเรียนรู ตลอดชีวิต 3. พัฒนาบุคลากรและวิทยากร ใหมีประสิทธิภาพ เพื่อมุงจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจการเรียนรู สื่อ และนวตกรรม การวัดผลและประเมินผลในทุกรูปแบบ 5. สงเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใหเกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษา กศน. 6. พัฒนาผูเรียนในการคิด วิเคราะห และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษา ขั้นพื้นฐาน 7. สงเสริมและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 8. สงเสริมและพัฒนาการ กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผล และรายงานผล การดำเนินงาน กศน. และ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อรับการประกันคุณภาพ 9. สงเสริม การทำงานใหครบตามระบบ PDCA อยางมีคุณภาพ


น้ า | 27 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สวนที่ 3 ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย จะดําเนินงานตามแผนงาน / โครงการ ภายใต้กลยุทธการทํางาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมือง สุโขทัย วิสัยทัศนสถานศึกษา ภายในป 2568 กศน. อำเภอเมืองสุโขทัย จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อยกระดับการศึกษาใหกับประชาชน ทุกกลุมเปาหมายอยางมีคุณภาพ เพื่ออนุรักษและสืบสาน วัฒนธรรมสุโขทัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21 ปรัชญา สืบสานวัฒนธรรมสุโขทัย กาวไปศตวรรษที่ 21 ดวยเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ เปนบุคคลแหงการเรียนรู ผูสืบสานวัฒนธรรมสุโขทัย ใชวิถีชีวิตพอเพียง เอกลักษณสถานศึกษา องคกรแหงการเรียนรูตลอดชีวิต พันธกิจ 1.จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อยกระดับการศึกษาใหกับประชาชน ที่เปนกลุมเปาหมาย โดยเนน Digital Learning Platform 2.จัดการศึกษาหลักสูตรการรูหนังสือไทยใหกับผูไมรูหนังสือ 3.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพใหกับประชาชนเพื่อการมีงานทำ 4.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับประชาชนทุกกลุมเปาหมาย 5.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเนนเรื่องเมืองสรางสรรคดานศิลปหัตถกรรม 6.จัดการศึกษาตามอัธยาศัยเนนการสงเสริมการอานรูปแบบออนไลน และแหลงเรียนรูตนแบบ Co-learning space 7. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขายในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรูตลอดชีวิต 8.พัฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 9.พัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยที่กำหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ตามที่กระทรวงศึกษากำหนด


น้ า | 28 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย บทบาทและอำนาจหนาที่ปจจุบัน 1) จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2) สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 3) ดำเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสรางความมั่นคงของชาติ 4) จัด สงเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริใน พื้นที่ 5) จัด สงเสริม สนับสนุน พัฒนาแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่น 6) วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรูและมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7) ดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรูและประสบการณ 8) กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10) ระดมทรัพยากรเพื่อใชในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11) ดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ใหสอดคลองกับระบบ หลักเกณฑและวิธีการที่กำหนด 12) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย


น้ า | 29 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย กลยุทธการทำงาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทุงเสลี่ยม จะดำเนินการ ตามแผนงาน/งาน/โครงการ ภายใตกลยุทธการทำงาน ดังนี้ ดานบุคลากร เอกภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความทาทาย 1 มีการทำงานเปนทีม 2.มีการมอบหมายงานตามภารกิจ และความสามารถ ความถนัดของบุคคล งานบรรลุเปาหมาย มีประสิทธิภาพ ใชทรัพยากร อยางคุมคา ทันเวลา 1. ผูเรียน ผูรับบริการ มีความรู ความสามารถ ทักษะ ตามจุดมุงหมายของการจัดการศึกษา 2. ผูเรียน ผูรับบริการ นำไปปรับประยุกตใชในการ พัฒนา คุณภาพชีวิตใหดีขึ้น 3. ทำงานบรรลุวัตถุประสงค ผูเรียน ผูรับบริการ มีความพึงพอใจ กศน. เพื่อชุมชน


น้ า | 30 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย การทำงาน กระบวนการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน • การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน • พัฒนาแหลงการเรียนรูและนำเทคโนโลยีมาใชในการจัดกิจกรรม การเรียนรูใหแกผูเรียน • การเขาถึงกลุมเปาหมายโดยการสำรวจสภาพปญหาและความ ตองการในการเรียนรูของผูเรียนและชุมชน การศึกษาแบบตอเนื่อง • การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาและความ ตองการของผูเรียนและชุมชน • การเขาถึงกลุมเปาหมายโดยการสำรวจสภาพปญหาและความ ตองการในการเรียนรูของผูเรียนและชุมชน • ผูเรียนการศึกษาตอเนื่องมีความรูความสามารถและหรือทักษะ และถูกกระทำเปนไปตาม เกณฑการจบหลักสูตร การศึกษาแบบอัธยาศัย • ผูรับบริการมีความรูหรือทักษะหรือประสบการณสอดคลองกับ วัตถุประสงคของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย • การกำหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย • สื่อหรือนวัตกรรมและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการศึกษา ตามอัธยาศัย


น้ า | 31 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย หลักสูตร เปาหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค (ผูเรียน/ผูรับบริการ) การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคลอง กับหลักสูตรสถานศึกษา 2. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะ ที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 3. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณาญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกับผูอื่น 4. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสรางสรรคงาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม 5. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล 6. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ 7. ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอาน การเขียน 8. ผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู ทักษะพื้นฐานที่ไดรับไปใชหรือประยุกตใช การศึกษาขั้นพื้นฐาน • หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 การศึกษาแบบตอเนื่อง • การจัดทำหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องที่สอดคลองกับ สภาพปญหาความตองการของผูเรียนผูรับบริการและชุมชน การศึกษาแบบอัธยาศัย - ผูเรียนและผูรับบริการมีทักษะในการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น


น้ า | 32 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย การประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษา เปนขอกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการให เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง เพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียง สำหรับการสงเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษาใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน มาตรฐานการศึกษาที่กำหนดขึ้น จึงสามารถใชเปนหลักในการเทียบเคียงสำหรับการสงเสริม กำกับดูแล ตรวจสอบ ประเมินผลและการประกัน คุณภาพการศึกษา ดังนั้น การกำหนดใหมีมาตรฐานการศึกษาจึงมีความสำคัญตอการจัดการศึกษา คือ ทำใหสถานศึกษามี เกณฑการเปรียบเทียบที่เปนมาตรฐานการศึกษาเดียวกัน ถึงแมสถานศึกษาแตละแหงจะมีสภาพบริบทหรือ ขอจำกัดที่แตกตางกัน และมาตรฐานการศึกษายังทำใหสถานศึกษามีเปาหมาย ทิศทางในการที่จะพัฒนาคุณภาพ การศึกษาที่ชัดเจน เปนการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพื่อประเมินความกาวหนา หรือประเมินคุณภาพ ภายนอกเพื่อการตรวจสอบ ยืนยันผลการประเมินคุณภาพภายในจึงเปนแนวทางหนึ่งในการกระตุนการปฏิบัติงาน ในดานการบริหารและการจัดการศึกษา นอกจากนี้การกำหนดมาตรฐานการศึกษายังเปนการกำหนดความ คาดหวังใหกับครู ผูบริหาร ผูปกครอง ประชาชน ชุมชน สังคม และหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของในการจัด การศึกษา เพราะหากไมมีมาตรฐานการศึกษา สาธารณชนก็จะไมทราบวาสาระสำคัญที่แทจริงของการจัด การศึกษาเปนอยางไร การจัดการเรียนรูในปจจุบันตองเปนไปในทิศทางใด คุณภาพการจัดการศึกษาแตละแหงมี จุดเดน จุดที่ควรพัฒนาในเรื่องใดบาง เนื่องจากไมมีเครื่องชี้วัดเทียบเคียง ทำใหขาดความรับผิดชอบตอ สาธารณชนการกำหนดใหมีมาตรฐานการศึกษาทำใหสถานศึกษาตองถือเปนความรับผิดชอบที่จะทำใหผูเรียนมี คุณภาพตามมาตรฐาน ซึ่งผูบริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษาตองจัดการเรียนรูใหไดมาตรฐานมี คุณภาพการบริหารจัดการ ตลอดจนคุณภาพดานการจัดสถานศึกษาใหเปนชุมชนแหงการเรียนรู และมีกิจกรรม โครงการที่ สงเสริม สนับสนุน และเสนอตอหนวยงานโดยตนสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงนโยบายของรัฐ และมาตรฐาน ยังเปนแนวทางใหสาธารณชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา ใหการสนับสนุนสงเสริม สถานศึกษาในดานตาง ๆ ได เพื่อใหคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเปนไปตามความคาดหวังของชุมชน และสังคมตอไป มาตรฐาน ตัวบงชี้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดย กลุมพัฒนาการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน. ไดดำเนินการพัฒนาแนวทางการประกันคุณภาพภายใน รวมกับสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน. ทุกประเภท ตามกรอบแนวทางดำเนินงานตามนโยบายการปฏิรูป ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ที่เปนการดำเนินการปฏิรูปในสวนที่เกี่ยวของกับการ ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน กศน. โดยมีแนวคิดวาเปนมาตรฐานที่สถานศึกษาปฏิบัติได ประเมินไดจริง ไม เปนภาระ มีจำนวน นอย และสามารถ สะทอนคุณภาพการจัดการศึกษาไดจริง และไดขอมูลที่จะเกิดประโยชนในการพัฒนา


น้ า | 33 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย การศึกษาของสถานศึกษาในแตละประเภทของสำนักงาน กศน. และใหมีความสอดคลองกับภารกิจ บทบาท หนาที่ของ สถานศึกษา สำนักงาน กศน. ไดกำหนดมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใชเปนเปาหมาย สำหรับการดำเนินงานของสถานศึกษา ที่ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นการพิจารณา คือ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เนนผูเรียน เปนสำคัญ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยแตละมาตรฐานประกอบดวยประเด็นการพิจารณาตามภารกิจและบทบาทหนาที่ของสถานศึกษา ดังตอไปนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประเด็นการ พิจารณา จำนวน 8 ประเด็น ประกอบดวย 1.1 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษา 1.2 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพ จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด 1.3 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกับผูอื่น 1.4 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสรางสรรคงาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม 1.5 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล 1.6 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ 1.7 ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอาน การเขียน 1.8 ผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู ทักษะพื้นฐานที่ไดรับไปใชหรือประยุกตใช มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบดวย 2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคลองกับบริบท และความตองการของผูเรียน ชุมชน ทองถิ่น 2.2 สื่อที่เอื้อตอการเรียนรู 2.3 ครูมีความรู ความสามารถในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ 2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนอยางเปนระบบ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบดวย 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เนนการมีสวนรวม


น้ า | 34 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา 3.4 การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เปนไปตามบทบาทที่กำหนด 3.7 การสงเสริม สนับสนุนภาคีเครือขายใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3.8 การสงเสริม สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรู 3.9 การวิจัยเพื่อการพัฒนา


น้ า | 35 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย สวนที่ 4 แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุโขทัย จะดำเนินการตามแผนงานและ โครงการดังตอไปนี้ 1. แผนงานจัดการศึกษานอกระบบ 1.1 งานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 1.โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 1.1 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียน 1.1 3. โครงการเทียบระดับการศึกษา 1.2. งานจัดการศึกษาตอเนื่อง 1.2 1. โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน 1.2.1.1 อาชีพระยะสั้น(ไมเกิน 30 ขม.) 1.2.1.2 ชั้นเรียนวิชาชีพ(31ชม.ขึ้นไป) 1.2.1.3 1 อำเภอ 1 อาชีพ 1.2.2 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1.2.3 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 1.2.4. โครงการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.2.5 โครงการศูนยดิจิทัลชุมชน-ระดับตำบล 1.2.6 โครงการภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ 2. แผนงานจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 งานหองสมุดประชาชน 2.1.1 โครงการสงเสริมการอานหองสมุดประชาชนจังหวัดสุโขทัย 2.1.2 โครงการพัฒนาหองสมุดประชาชนจังหวัดสุโขทัยใหเอื้อตอการเรียนรู เปนศูนยกลางการเรียนรูของชุมชน 2.2 งานจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2.1 โครงการบรรณสัญจร 2.2.2 โครงการพัฒนาบานหนังสือชุมชนและแหลงเรียนรู 2.2.3 โครงการหองสมุดชาวตลาด


น้ า | 36 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย 3. แผนงานบริหารสถานศึกษา 3.1. โครงการนิเทศติดตามและประเมินผล 3.2 โครงการพัฒนาบุคลากร 3.3 โครงการพัฒนาหลักสูตรและคุณภาพการเรียนการสอน 3.4 โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และโครงสรางพื้นฐาน 3.5 โครงการประกันคุณภาพการศึกษา


แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 4 แผนพัฒนาการจัดการศึกษแผนงาน/โครงการ เปาหมาย ( คน ) 2565 2566 2567 2568 รวม 1.1 งานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 800 800 800 800 3,200 1.1 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผูเรียน 800 800 800 800 3,200


น้ า | 36 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ษา กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ -การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดวยรูปแบบที่หลากหลาย เชน การเรียนแบบออนไลน การเรียนแบบออฟไลน - การพบกลุม การเรียนรูแบบโครงงาน การเรียนรูดวยตนเอง ฯลฯ -สถานศึกษามีผลการประกันคุณภาพ อยูในระดับ ดี - ผูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค ตามเกณฑของสถานศึกษา จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนตามกรอบที่สำนักงาน กศน.กำหนด อาทิ เชน 1. กิจกรรมพัฒนาวิชาการ 2 . กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต 3 . กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย 4 . กิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจดสมุดบันทึก ความดี 5 .กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด 6. กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ 7 . กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 8 . กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูสูประชาคมโลก 9. กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีดวยหัวใจ” กิจกรรมจิตอาสา 10. กิจกรรมสงเสริมการอาน และพัฒนาทักษะการเรียนรู 11. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ 12. กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม 13. กิจกรรมการเรียนรูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข และ กฎหมายที่เกี่ยวของในชีวิตประจำวัน 1.รอยละ 80 ของผูเขารวมกิจกรรมมี ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคของกิจกรรม ที่กำหนด


แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 แผนงาน/โครงการ เปาหมาย ( คน ) 2565 2566 2567 2568 รวม 1.1 3. โครงการเทียบระดับ การศึกษา 20 20 20 20 80 1.2.งานการศึกษาตอเนื่อง 1.2 1. โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน 1.2.1.1 อาชีพระยะสั้น(ไมเกิน 30 ขม.) 1.2.1.2 ชั้นเรียนวิชาชีพ(31ชม.ขึ้นไป) 1.2.1.3 1 อำเภอ 1 อาชีพ 120 172 84 120 172 84 120 172 84 120 172 84 480 688 336


น้ า | 37 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ - อบรมการเรียนรูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข และ กฎหมายที่เกี่ยวของในชีวิตประจำวัน 14. กิจกรรมเสริมสรางความสามารถพิเศษ -คาย To Be Number One -การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ดวยรูปแบบจากการประเมินแฟมผลงานประสบการณ การอบรม สัมมนา การศึกษาดูงานจากประสบการณประกอบอาชีพ - ผูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงคตาม เกณฑของสถานศึกษา 1. อาชีพระยะสั้น (ไมเกิน 30 ชม.) 2. ชั้นเรียนวิชาชีพ ( 31ชม.ขึ้นไป ) 3. เปนการจัดการศึกษาเพื่อมีอาชีพมีงานทำและอาชีพที่สอดคลองกับหลักสูตร อาชีพที่ผานการฝกอบรมแลวสามารถนำไปประกอบอาชีพได หรือรวมกลุมอาชีพ จัดตั้งวิสาหกิจชุมชน 4 .เนนการทำงานกับภาคีเครือขายและองคกรชุมชน องคกรสวนทองถิ่น สถานศึกษาอื่น เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต 5.สงเสริมชองทางการจำหนายและการคาผานระบบออนไลนกับหนวยงานภาคี เครือขาย 1 อำเภอ 1 อาชีพ 1.ผูเรียนรับการฝกอาชีพนำความรูไป ประกอบอาชีพเพื่อสรางรายได 2.ผูเรียนรับการฝกอาชีพนำความรูไปตอ ยอดอาชีพเพื่อมีอาชีพและสรางรายได เพิ่มใหกับครอบครัว 3.ผูเรียนรับการฝกอาชีพมีการรวมกลุม และนำความรูที่ไดรับจากการฝกอาชีพ ไปตอยอดอาชีพในระดับชุมชน 4.ผูจบหลักสูตร การศึกษาโครงการ ตอเนื่องสามารถนำความรูไปใชหรือ ประยุกตบนฐานคานิยมของสังคม 5.ผูจบการศึกษาตอเนื่องที่นำความรูไป ใชจนเห็นเปนประจักษหรือตัวอยางที่ดี รอยละ 50


แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 แผนงาน/โครงการ เปาหมาย ( คน ) 2565 2566 2567 2568 รวม 1.2.2 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิต 85 85 85 85 340 1.2.3 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน 62 62 62 62 248 1.2.4. โครงการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 60 60 60 60 240 1.2.5 โครงการศูนยดิจิทัลชุมชน 160 160 160 160 640


น้ า | 38 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ -อบรบใหความรู เพิ่มทักษะ/พัฒนา ฝกปฏิบัติ ทักษะนันทนาการ ฝกทักษะ ดานอาชีพ -โรคระบาดตาง ๆ -สรางความรอบรูดานสุขภาวะ -ปองกันและควบคุมปจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ -สรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาวะที่ดี -พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดี -ฝกอบรมทักษะการปองกันชีวิตและสุขภำ -รอยละของผูจบหลักสูตรการศึกษา ตอเนื่องดานการพัฒนาทักษะชีวิตที่ สามารถนำความรูที่ไดไปใชหรือ ประยุกตใชในชีวิตประจำวัน บนฐาน คานิยมรวมของสังคม อบรมใหความรู ฝกทักษะ/พัฒนา ฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผูจบหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง สามารถนำความรูไปใช หรือประยุกตใช บนฐานคานิยมรวมของสังคม กิจกรรมการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. จัดฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น 2. กิจกรรมใหความรู/อธิบาย/บรรยาย/สาธิต/แลกเปลี่ยนเรียนรู กิจกรรมศึกษาดูงาน 1. ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุงหมาย ของโครงการ 2. รอยละของผูเรียนที่มีความพึงพอใจ ในระดับ ดี ขึ้นไป การฝกอบรม - หลักสูตร Digital Literacy - หลักสูตรการคาออนไลน - หลักสูตรอื่น ๆ ตามความตองการและจำเปนในแตละสถานการณนั้น ๆ 1. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความรู ความเขาใจและทักษะในการใช เทคโนโลยีดิจิทัล 2. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีการ พัฒนาตนเองและสามารถใชเทคโนโลยี ดิจิทัลในการประกอบอาชีพได


แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565 -2568 แผนงาน/โครงการ เปาหมาย ( คน ) 2565 2566 2567 2568 รวม 1.2.6 โครงการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และ สมองผูสูงอายุ 100 100 100 100 400 1.2.7 โครงการภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสาร ดานอาชีพ 15 15 15 15 60


น้ า | 39 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองสุโขทัย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย กิจกรรม ตัวชี้วัดความสำเร็จ 3. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความ พึงพอใจตอการจัดกิจกรรมอยูในระดับ ดี ขึ้นไป 1.อบรมใหความรูดานสุขภาพกาย – สุขภาพจิต 2. ฝกอาชีพระยะสั้น 1. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความรู ความเขาใจและทักษะในการดูแล สุขภาพกาย - สุขภาพจิต 2. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีการ พัฒนาตนเองไปในทางที่ดีขึ้น 3. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความ พึงพอใจตอการจัดกิจกรรมอยูในระดับ ดี ขึ้นไป อบรมภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ 1. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความรู ความเขาใจภาษาตางประเทศเพื่อการ สื่อสารดานอาชีพไปใชในการประกอบ อาชีพของตนเองได 2. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีการ พัฒนาตนเองไปในทางที่ดีขึ้น 3. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมมีความ พึงพอใจตอการจัดกิจกรรมอยูในระดับ ดี ขึ้นไป


Click to View FlipBook Version