The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรที่ ๓ เรื่อง เปิดโลกการศึกษาไร้ขีดจำกัดในยุคจักรวาลนฤมิต วันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.จำนวน ๓ ชั่วโมง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thadsanee Thawpayung, 2022-05-04 08:34:27

หลักสูตรที่ ๓ เรื่อง เปิดโลกการศึกษาไร้ขีดจำกัดในยุคจักรวาลนฤมิต

หลักสูตรที่ ๓ เรื่อง เปิดโลกการศึกษาไร้ขีดจำกัดในยุคจักรวาลนฤมิต วันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.จำนวน ๓ ชั่วโมง

รายงานผลการอบรม

ตลาดนัดการเรยี นรอู้ อนไลนว์ ังจนั ทรเกษม เฟส ๒
หลักสตู รที่ ๓

เปิดโลกการศกึ ษาไร้ขดี จากดั ในยคุ จักรวาลนฤมิต

รายงานโดย
นางสาวทศั นยี ์ ท้าวพยุง

ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย

โรงเรียนบ้านซบั เจรญิ สุข จงั หวัดชัยภูมิ
สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภมู ิ เขต ๓

ตลาดนัดการเรียนรอู้ อนไลน์วังจนั ทรเกษม หลกั สูตรที่ ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไรข้ ดี จากัดในยคุ จักรวาลนฤมิต”

พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชริ เมธี)ปราชญ์ร่วมสมัย นกั คดิ นักเขยี น.

บนั ทกึ ข้อความ พฤหสั บดี 3 มีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

ส่วนราชการ โรงเรยี นบา้ นซบั เจรญิ สขุ สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๓

ท่ี พิเศษ/2565 วันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕

เร่อื ง รายงานการอบรมตลาดนัดการเรยี นรอู้ อนไลนว์ ังจนั ทรเกษม หลักสตู รที่ ๓ “ตลาดนดั การเรยี นรูอ้ อนไลน์

วังจันทรเกษม หลกั สูตรท่ี ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไรข้ ีดจากัดในยคุ จกั รวาลนฤมิต”

เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านซบั เจริญสุข

ด้วย นางสาวทัศนีย์ ท้าวพยุง ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรยี นบา้ นซบั เจรญิ สขุ ปฏบิ ัตหิ น้าทส่ี อนในรายวชิ า

ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ได้เข้าอบรมตลาดนัดการเรยี นรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม

หลกั สูตรท่ี ๓ เรือ่ ง เปิดโลกการศกึ ษาไร้ขดี จากดั ในยุคจกั รวาลนฤมิต ๑. ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนนั ท์ นิลสขุ

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ และคณะจากสมาคมเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา

๒. ศาสตราจารย์ ดร.จินตวรี ์ คลา้ ยสงั ข์ ผศ.ดร.พรพมิ ล ศุขะวาที รศ.ดร.ประกอบ กรณีกิจ คณะครุศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๓. บริษัท ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย จากัด พฤหัสบดี ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕

๐๐.๐๙ – ๑๒.๐๐ น. นั้น

บัดนี้ การอบรมดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแลว้ ข้าพเจ้าจงึ ขอรายงานผลการอบรม ดงั เอกสารแนบทา้ ย

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพิจารณา

ลงชือ่ ...........................................................
(นางสาวทัศนีย์ ท้าวพยงุ )
ตาแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

ขอ้ เสนอแนะจากผู้อานวยการโรงเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...........................................................
(นายอภชิ ัย สรุ เสน)

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านซับเจริญสุข

โรงเรยี นบ้านซับเจริญสขุ สพป. ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรียนรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม หลกั สตู รท่ี ๓ “เปดิ โลกการศกึ ษาไร้ขีดจากดั ในยคุ จกั รวาลนฤมิต”

พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธ)ี ปราชญ์ร่วมสมยั นกั คดิ นักเขียน.

คานา พฤหสั บดี 3 มีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

ตามทกี่ ระทรวงศึกษาธิการได้ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการอบรมออนไลน์ ตลาดนัดวงั จันทรเกษม เฟส ๒
ในครง้ั นม้ี ีการอบรมทง้ั หมด ๑๐ หลกั สูตรให้แกบคุ คลากรทางการศึกษาและผูท้ สี่ นใจในการพฒั นาตนเองดงั นี้

หลกั สตู รท่ี ๑ คณุ ธรรมสร้างสขุ สาหรบั ครูสผู่ เู้ รียน
หลักสตู รที่ ๒ การสร้างวนิ ยั สู่ความเป็นเลิศทางกีฬาของเยาวชนไทย
หลกั สูตรที่ ๓ เปดิ โลกการศกึ ษาไรข้ ีดจากัดในยุคจักรวาลนฤมิต
หลักสตู รที่ ๔ ค่านยิ มท่ดี ีงามของเด็กและเยาวชน
หลกั สตู รที่ ๕ คณุ คา่ ทางวัฒนธรรมในความงดงามของชวี ิต
หลกั สตู รที่ ๖ จาอวดหน้าวัง (จันทรเกษม) “ศิลปวัฒนธรรมพ้นื บา้ น รากฐานการศกึ ษา
สนุ ทรียภาพทางปญั ญาคุณค่ามรดกแผ่นดิน
หลักสูตรท่ี ๗ สอ่ื ยุคใหม่ การศึกษาออนไลน์
หลักสตู รที่ ๘ การสอนให้สนุกจากครทู ่ีมีประสบการณ์
หลกั สตู รท่ี ๙ หลกั การปฏบิ ตั ิราชการ
หลกั สูตรท่ี ๑๐ Active Learning
ข้าพเจ้าขอขอบคณุ กระทรวงศึกษาธิการ และผูท้ ่ีมีสว่ นเก่ยี วข้องทุกฝา่ ย ทม่ี สี ่วนร่วมในการจดั อบรมในครง้ั
นี้เพอ่ื ให้บุคลากรทางการศกึ ษาได้นาแนวทางไปต่อยอดและเปน็ วิธีปฏบิ ตั ิเพ่อื ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการเรียน
การสอนพรอ้ มทกั ษะความรใู้ นดา้ นต่าง ๆ สืบไป

นางสาวทัศนีย์ ท้าวพยุง
ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบา้ นซบั เจริญสขุ สพป. ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรียนรู้ออนไลน์วงั จนั ทรเกษม หลกั สตู รที่ ๓ “เปิดโลกการศกึ ษาไรข้ ดี จากัดในยคุ จกั รวาลนฤมิต”

พระเมธวี ชโิ รดม (ว.วชิรเมธ)ี ปราชญ์ร่วมสมัย นกั คดิ นกั เขียน.

สารบัญ พฤหสั บดี 3 มีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

เร่ือง หนา้
บันทึกข้อความ ก
คานา ข
สารบญั ค
เอกสารประกอบการประชุม ๑-๕
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ภาพเกียรติบัตร

โรงเรยี นบา้ นซับเจรญิ สุข สพป. ชยั ภูมิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรียนรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม หลกั สูตรท่ี ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไรข้ ดี จากัดในยคุ จกั รวาลนฤมิต”
พระเมธวี ชโิ รดม (ว.วชริ เมธ)ี ปราชญ์ร่วมสมัย นกั คดิ นักเขียน.

ตลาดนัดการเรยี นรูอ้ อนไลนว์ ังจันทรเกษม หลกั สตู รท่ี ๓ “เปิดโลกการศึกษาไรพข้ฤหีดสั จบาดกี 3ดั มในีนายคคุ มจ2ัก5ร6ว5า0ล9.น00ฤม- 1ิต2”.00 น.”
พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชริ เมธี)ปราชญ์ร่วมสมัย นกั คดิ นกั เขียน.
พฤหัสบดี 3 มนี าคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

ศาสตราจารย์ ดร. ปรัชญนนั ท์ นิลสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ อธบิ าย
ความหมายของ “Metaverse” หรือแปลเป็นภาษาไทยวา่ “จกั รวาลนฤมติ ” เปน็ การสร้างสภาพแวดลอ้ มของ
โลกแห่งความจรงิ และเทคโนโลยเี ข้าด้วยกันจนกลายเป็น “ชุมชนโลกเสมือนจรงิ ” ท่ีสามารถหลอมรวมวัตถุ
รอบตวั และสภาพแวดลอ้ มให้เช่ือมตอ่ กันเป็นหนึ่งเดยี วผ่านเทคโนโลยี AR และ VR สรา้ งประสบการณ์ท่ี
เช่ือมต่อผู้คนระหวา่ งโลกแห่งความเป็นจรงิ ไปสู่โลกดิจิทลั โดยอาศยั การใชเ้ ทคโนโลยหี ลายประเภท เพ่ือทา
กิจกรรมใดก็ได้พร้อมกนั

Metaverse คอื โลกเสมือนท่ีถูกสรา้ งข้ึนเพ่ือเปิดให้ผูค้ นไดเ้ ขา้ มามีปฏิสมั พันธ์ และสามารถทา
กิจกรรรมตา่ ง ๆ ร่วมกันได้ ไมว่ า่ จะเป็นการประชมุ พบปะพดู คยุ ติดต่อ ท่องเที่ยว บนั เทงิ หรือชอ้ ปปิ้งเสมอื น
อย่ใู นโลกจริง ผา่ นตัวตนทเี่ ป็นอวตาร (avatar) ซ่งึ เปน็ กราฟฟิก 3 มติ ิ แทนตวั เราเวลาทากิจกรรมใน
metaverse โดยใชเ้ ทคโนโลยีและอุปกรณ์รองรับการเขา้ ถึงโลกเสมือน ไดแ้ ก่ Augmented Reality (AR)
และ Virtual Reality (VR)

Augmented Reality (AR) เป็นเทคโนโลยีทเี่ สริมประสบการณ์การทากิจกรรมบนโลกเสมอื นให้
เสมือนจรงิ ยิง่ ขึ้น โดยมีการนาสภาพแวดลอ้ มจริงบางส่วนผนวกกับกิจกรรมในโลกเสมือน และแสดงผลผา่ น
อุปกรณ์ เช่น คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์มือถอื หรือแทบ็ เล็ต เช่น เกม Pokemon Go ท่ผี ้เู ลน่ สามารถทาภารกจิ
ในเกมโดยเช่อื มต่อกบั แผนท่ีในโลกจรงิ

โรงเรยี นบ้านซบั เจริญสุข สพป. ชัยภูมิ เขต ๓ ๓

ตลาดนดั การเรียนร้อู อนไลน์วงั จนั ทรเกษม หลกั สูตรท่ี ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไร้ขดี จากัดในยคุ จกั รวาลนฤมิต”

พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชริ เมธ)ี ปราชญ์รว่ มสมยั นักคดิ นกั เขยี น.

Virtual Reality (VR) เปน็ เทคโนโลยีท่ีมกี ารจาลองสภาพแวดลอ้ มจริงพเขฤห้าสัไปบดในี 3โลมีนกาเคสมมือ25น65โด0ย9.ต00้อง-ใ1ช2้ .00 น.”
งานผ่านอุปกรณ์ เช่น Headset VR หรอื แวน่ VR โดยเม่ือผู้ใช้งานสวมใส่อุปกรณด์ งั กล่าวแล้ว จะถูกนาเขา้ ไปสู่
โลกเสมอื น ตัดขาดจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก และสามารถรบั ร้ปู ระสบการณใ์ นโลกเสมือนผ่านอุปกรณ์
ดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของประเทศ ท่ีต้องการสร้าง DIGITAL CITIZEN ท่จี ะเป็นผู้ใชเ้ ทคโนโลยีเป็น
ธรรมชาติ ซึ่งในด้านการศึกษา จะทาให้ครกู ับนักเรยี นพบกันได้ทกุ ท่ี ครสู ามารถสาธิตสง่ิ ต่าง ๆ โดยไม่จาเปน็
ตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ของจรงิ ผเู้ รยี นสามารถลงมือปฏิบตั ไิ ด้ในโลก Metaverse กอ่ นจะไปเจอกับของจรงิ ได้

Metaverse มปี ระโยชนอ์ ย่างไร?
Metaverse สามารถชว่ ยจาลองใหเ้ ราไปอยู่ในสถานท่ีต่าง ๆ ได้ แม้จะนั่งอยู่กับท่ีกต็ าม โดยอาศยั
การเชอ่ื มต่อผา่ นรปู แบบต่าง ๆ เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ , อปุ กรณ์, สมารท์ โฟน, แอปพลิเคชนั และซอฟตแ์ วร์ ถือเป็น
เทคโนโลยีใหม่ท่กี าลงั ปลุกกระแสเพ่ือปูทางไปสโู่ ลกแห่งอนาคต แม้ว่าในช่วงแรก ๆ จะเริ่มมีการนา
Metaverse มาใชใ้ นแวดวงเกมออนไลน์ แต่ในภายหลังเร่มิ มกี ารเขา้ ไปลงทุนในบรษิ ัทเทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ
เพอ่ื สรา้ งแพลตฟอร์มท่ีสามารถครอบคลมุ และรองรบั เทคโนโลยี Metaverse ในอนาคตได้ ยกตัวอย่าง
Facebook ทไ่ี ด้กระจายการลงทุนไปหลายแพลตฟอร์ม รวมถึง Oculus Go แว่นตาเทคโนโลยี VR ทีเ่ คยสรา้ ง
เสยี งฮอื ฮาเมื่อหลายปกี ่อน อีกทัง้ แว่นตา Ray-Ban Stories ทีแ่ สดงให้เห็นความชัดเจนของ Facebook
ทีไ่ ม่ได้ต้องการเป็นเพยี งแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย แตย่ งั มุง่ หน้าส่กู ารขยายไปสู่โลก Metaverse
รศ.ดร.ปณิตา วรรณพริ ณุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ กลา่ วถึงการสร้างนสิ ยั
ผูเ้ รียนใหเ้ รียนรตู้ ลอดชีวิตได้โดยการประยุกต์ใช้ Metaverse ซึง่ จะชว่ ยในเร่ืองของการสรา้ งประสบการณก์ าร
เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง นาเหตุการณ์ประจาวันในชวี ติ ของแตล่ ะคนเช่อื มโยงส่งิ ท่เี รียนรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั ใิ นชีวติ จริง
ชว่ ยการสะทอ้ นประสบการณ์เรยี นรทู้ ่ีแตกตา่ งกนั พร้อมกับการปรับปรงุ การสร้างข้อมลู ใหม่อยา่ งสรา้ งสรรค์
ขณะเดียวกนั ยงั ช่วยเอาชนะข้อจากัดด้านพื้นที่และข้อจากัดทางกายภาพในการเรียนรแู้ ละการศกึ ษา ดว้ ยการ
ใช้เป็นเสมอื นโลกจาลองสาหรับจัดชน้ั เรยี นออนไลน์แบบ Real Time สามารถสร้างภาพซอ้ นทับดจิ ิทัล เพื่อ
สรา้ งวัตถุ 3 มติ ิในธรรมชาติ เพ่มิ พลงั ใหภ้ าพรวมเชิงลกึ สร้างประสบการณเ์ ชิงโต้ตอบ ประสบการณ์แบบ
ดื่มดา่ ประสบการณแ์ บบมสี ว่ นร่วม การจาลองเสมือน และการสาธิตเชงิ ปฏบิ ัติในสภาพแวดลอ้ มดจิ ิทลั
ทัง้ น้เี ม่ือผู้เรยี นกลายเปน็ DIGITAL CITIZEN แลว้ จะตอ้ งมีการสรา้ งค่านยิ มความรบั ผิดชอบในการใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัลเหลา่ น้นั ดว้ ย

พลเมอื งดิจทิ ลั หรอื Digital Citizens เป็นกระแสท่แี พรห่ ลายไปทว่ั โลกนบั ต้ังแต่อินเตอรเ์ นต็ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศไดเ้ ข้ามามีบทบาทในการดาเนนิ กิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ประเทศไทยให้
ความสาคญั กบั เรือ่ งดงั กล่าวอย่างจรงิ จังหลังจากที่รัฐบาลผลกั ดันนโยบายเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล (Digital Economy)
เพือ่ เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งใหก้ ับระบบเศรษฐกจิ และเตรียมความพร้อมเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียนในอนาคต
อนั ใกล้น้ใี นยุคปัจจุบนั เทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามเก่ียวขอ้ งกบั การใชช้ ีวิตประจาวนั อยา่ งหลกี เล่ียงไม่ได้จึงมี

โรงเรียนบา้ นซับเจริญสขุ สพป. ชัยภูมิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรยี นรอู้ อนไลน์วังจนั ทรเกษม หลักสตู รท่ี ๓ “เปิดโลกการศึกษาไร้ขดี จากัดในยคุ จกั รวาลนฤมิต”

พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชิรเมธ)ี ปราชญ์ร่วมสมัย นกั คดิ นักเขยี น.

ความจาเป็นอย่างย่ิงที่ทกุ คนควรเสริมสร้างศกั ยภาพการใช้เทคโนโลยดี งั กล่าวอยพา่ฤงหชัสบาญดี 3ฉลมาีนดาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”
ลักษณะที่ดีของพลเมืองดิจทิ ัล
พลเมืองดจิ ิตอลที่มคี ุณลักษณะท่ีดี (Good Digital Citizens) มอี งคป์ ระกอบหลายประการ สรุปได้

โดยย่อ ดงั น้ี
๑. การตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยสี ารสนเทศของผู้อนื่ ผูใ้ ช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ ทุกคนควรตระหนักว่าบคุ คลมีโอกาสในการเขา้ ถึงและมศี กั ยภาพใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ี
แตกต่างกนั พลเมืองดิจติ อลท่ีดีจงึ ไม่ควรเลือกปฏบิ ัติและดูหมิ่นบคุ คลผู้ขาดทกั ษะการใช้เทคโนโลยี ฯ หากแต่
จะตอ้ งช่วยกนั แสวงหามาตรการต่างๆเพื่อเสริมสรา้ งความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ เทคโนโลยี ฯ อนั จะทาให้
สังคมและประเทศนนั้ ๆ กา้ วเขา้ สู่ยคุ ดิจติ อลได้อยา่ งภาคภูมิ

๒. การเป็นผู้ประกอบการและผ้บู ริโภคที่มีจริยธรรมเป็นท่ีทราบกนั โดยทวั่ ไปว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้เปลย่ี นแปลงระบบตลาดแบบดงั้ เดมิ (Traditional Marketplace) ไปสูต่ ลาดในระบบอเิ ลคทรอนิกส์
(Electronic-Marketplace) และไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลายดังจะเหน็ ไดจ้ ากความหลายหลายของ
ประเภทสนิ ค้าทีส่ ามารถซ้ือหาไดใ้ นระบบออนไลน์ ตลอดจนบรกิ ารประเภทต่าง ๆ ทีผ่ ู้บรโิ ภคสามารถทา
ธรุ กรรมได้อยา่ งสะดวก พลเมืองยคุ ดิจติ อลจะตอ้ งมีความซ่ือสตั ย์และมีศีลธรรมในการทานติ กิ รรมและธรุ กรรม
ทกุ ประเภทบนโลกออนไลน์ เชน่ ไมซ่ ้ือขายและทาธุรกรรมทผ่ี ดิ กฎหมาย เช่น การดาวน์โหลดส่ิงท่ขี ดั ตอ่
กฎหมาย ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยเี พอ่ื หลอกลวงผู้อื่นใหซ้ ้ือสินคา้ และบริการทีไ่ มม่ คี ุณภาพ
เปน็ ตน้

๓. การเป็นผูส้ ่งสารและรับสารทมี่ มี รรยาท รปู แบบการส่ือสารได้มกี ารพฒั นาและเปล่ียนแปลงไป
อย่างมากในช่วงศตวรรษที่ ๒๑ ดังจะเห็นได้จากรูปแบบการส่ือสารผ่านอินเตอรเ์ นต็ ที่สะดวก รวดเร็วและ
มคี วามเชื่อมโยงท่วั โลก เชน่ อีเมลลแ์ ละโซเชยี ลมเี ดียหลากหลายประเภท ปัจจบุ ันมผี ู้ใชข้ อ้ ได้เปรยี บของ
ช่องทางการสอื่ สารดงั กลา่ วอยา่ งไม่เหมาะสม เชน่ การสง่ สารท่ี มเี จตนาหมน่ิ ประมาทผู้อื่นและการสง่ สารที่มี
เจตนาใหส้ ังคมเกิดความแตกแยก ท้งั ท่ีกระทาไปโดยเจตนาหรอื รูเ้ ทา่ ไม่ถึงการณ์ ดงั นน้ั พลเมอื งดิจิตอลที่ดี
จะต้องมมี รรยาทและความรับผดิ ชอบต่อการกระทาของตนในโลกออนไลน์ หรอื ทเ่ี ราร้จู ักกันดใี นนามของ
(Digital Etiquette) ท่ีจะเป็นเครอ่ื งมอื ในการยา้ เตือนสติตลอดจนการกระทาทเี่ หมาะสมในการส่ือสาร
ทกุ ประเภทในยุคดิจิตอล

๔. การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ ปจั จุบันการทาธุรกรรมและนิติกรรมทางอเิ ลคทรอนกิ ส์
อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายและกฎระเบยี บวา่ ดว้ ยการทาธรุ กรรมทางอเิ ลคทรอนกิ ส์ซ่งึ มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลักใน
การปอ้ งกันและปราบปรามการละเมดิ ในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีมลี ักษณะเปน็ อาชญกรรมทางอีเลคทรอนกิ ส์ เช่น
การลักขโมยและการจารกรรมข้อมลู ประเภทต่าง ๆ เช่น ข้อมูลทางธรุ กจิ และข้อมลู ส่วนบคุ คล ตลอดจน
มาตรการคุ้มครองเก่ยี วกบั ทรัพยส์ ินทางปญั ญาในรูปแบบต่าง ๆ ดังนน้ั พลเมืองยคุ ติจิตอลท่ดี ีจะต้องตระหนัก

โรงเรยี นบา้ นซบั เจริญสุข สพป. ชัยภมู ิ เขต ๓ ๓

ตลาดนดั การเรียนรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม หลักสตู รที่ ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไร้ขีดจากดั ในยุคจักรวาลนฤมิต”

พระเมธีวชิโรดม (ว.วชริ เมธี)ปราชญ์ร่วมสมยั นกั คดิ นักเขยี น.

และรับทราบถึงกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว ตลอดจนมคี วามยับยง้ั ช่างใจตพ่อฤกหาสั รบกดีร3ะมทีนาาขคอมง2ต5น65ท0่ีอ9า.จ00เป-น็ 12.00 น.”
การละเมิดสิทธิของบุคคลอน่ื

๕. การใชเ้ ทคโนโลยใี หม้ ีความเหมาะสมและไมส่ ่งผลเสยี ต่อสุขภาพ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
ท่ีขาดความเหมาะสมอาจสง่ ผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม เช่น ความเครียดต่อสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ
ตลอดจนการกอ่ ให้เกดิ การสูญเสียสมั พันธ์ภาพในสงั คมได้ พลเมืองยุคดิจิตอลจะต้องควบคมุ การใชอ้ ปุ กรณ์
อเิ ลคทรอนิกส์ให้มคี วามเหมาะสมเพ่ือป้องกนั มใิ หเ้ กิดอาการเสพติดตอ่ ส่งิ ดังกล่าวจนเกิดผลเสยี ตอ่ สุขภาพ
โดยรวมได้ นอกจากนี้ การลดปรมิ าณการส่ือสารแบบออนไลน์มาเป็นรูปแบบการสื่อสารแบบด้ังเดิมในบาง
โอกาสจะก่อให้เกดิ ผลดตี ่อสัมพนั ธภาพของบุคคลใกลช้ ดิ อีกด้วย

๖. เรยี นรู้วธิ ีการเสรมิ สร้างความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยี พลเมืองดิจติ อลนอกจากจะตอ้ งเป็น
ผู้ท่มี ที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมีประสิทธภิ าพแล้วจะต้องใฝร่ ู้และให้ความสาคัญกับมาตรการ เพอื่ ความ
ปลอดภยั และการค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคลดว้ ย (Digital Security) เน่ืองจากในยคุ ดจิ ิตอลนน้ั ผมู้ เี จตนากระทา
ผดิ และหลอกลวงสามารถใช้เทคโนโลยที ีม่ คี วามทนั สมยั เพื่อหลอกลวงผู้อ่นื ไดง้ ่ายกวา่ กระบวนการสอ่ื สารแบบ
ดัง้ เดิม วธิ กี ารเสรมิ สรา้ งความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทสี่ ามารถกระทาได้โดยง่ายมี
หลากหลายวิธี เชน่ การตดิ ตั้งระบบปอ้ งกนั การจารกรรมและการทาลายข้อมลู ใหก้ ับอปุ กรณก์ ารส่อื สารทุก
ประเภท ตลอดจนรู้เท่าทันต่อรปู แบบและกลอบุ ายของอาชญากรอิเลคทรอนกิ สท์ ีม่ ักมีการพฒั นารปู แบบของ
การกระทาผดิ อยเู่ สมอ

นางศิรินชุ ศรารชั ต์ ผ้อู านวยการภาคธรุ กจิ การศกึ ษา บริษัทไมโครซอฟท์ ประเทศไทย จากัด กลา่ วว่า
Metaverse มปี ระโยชนใ์ นการสรา้ งประสบการณ์ “อย่ใู นรองเท้าของคนอ่นื ”ผ่านเทคโนโลยี Immersive เพ่อื
เพมิ่ ความเข้าใจและการมสี ่วนรว่ ม ช่วยให้นกั เรียนสามารถบูรณาการแนวคิดตาราเรยี นเข้ากบั สภาพแวดล้อม
ทางกายภาพของพวกเขา สามารถสร้างสถานการณจ์ าลองท่เี หมือนจริงและเตรยี มความพรอ้ มสาหรับการมี
สว่ นร่วมในอนาคต ลดภาระทางข้อมูลทซ่ี ับซ้อน ตลอดจนเพิ่มขดี ความสามารถในการปรับตวั และประยุกตใ์ ช้
สงิ่ ทเี่ รยี นรใู้ นสถานการณ์จริงที่หลากหลาย

ดร.สภุ ทั ร จาปาทอง ปลัด ศธ. กล่าวว่า ปัจจบุ นั มกี ารเปลีย่ นแปลงด้านการศึกษาอยา่ งมาก สามารถ
นาเทคโนโลยเี ข้าสู่ผู้เรยี นได้หลายช่องทาง และมวี ิธีนาเสนอทแ่ี ตกตา่ ง ซึง่ สง่ิ สาคัญคือเนื้อหาและวิธกี าร
นาเสนอทจ่ี ะพฒั นาผู้เรยี นได้อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ วันนี้จึงอยากเห็นแนวคดิ ใหม่ในการจดั การเรยี นรูผ้ ่าน
เทคโนโลยี Metaverse ตลอดจนขอให้ความรู้ที่ไดร้ ับในวันนี้เป็นโอกาสในการสรา้ งประสบการณท์ ด่ี ีให้กบั
ผ้เู รียน ต่อยอดทาใหเ้ ป็นการจดั การศึกษาแบบ Active Learning Practice ให้ได้

การเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วม
และมีปฏิสัมพันธก์ ับกจิ กรรมการเรียนรผู้ า่ นการปฏบิ ัตทิ ่ีหลากหลายรปู แบบ เชน่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
การระดมสมอง การแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และการทากรณศี ึกษา เปน็ ตน้ โดยกิจกรรมที่นามาใช้ควรช่วย

โรงเรียนบ้านซบั เจริญสขุ สพป. ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรียนรู้ออนไลน์วังจันทรเกษม หลักสตู รท่ี ๓ “เปดิ โลกการศกึ ษาไร้ขีดจากัดในยุคจกั รวาลนฤมิต”
พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชริ เมธ)ี ปราชญ์รว่ มสมัย นกั คิดนกั เขยี น.

พัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอ่ื สาร/นาเสนอ พแฤลหะสั กบาดรี 3ใชมเ้ ีนทาคคโมน2โ5ล6ย5ี 09.00 - 12.00 น.”
สารสนเทศอยา่ งเหมาะสมบทบาทของผเู้ รียนนอกจากการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมดังกลา่ วข้างตน้ แลว้ ยังต้องมี
ปฏสิ มั พนั ธ์กับผูส้ อนและผู้เรยี นกับผูเ้ รียนด้วยกันด้วย ผู้สอนควรลดบทบาทในการถา่ ยทอดความรู้แก่ผ้เู รียน
ในลกั ษณะการบรรยายลง และเพิ่มบทบาทในการกระต้นุ ให้ผู้เรยี นมีความกระตือรือรน้ ที่จะทากิจกรรมต่าง ๆ
รวมถงึ การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมในการเรียนรู้

โรงเรียนบา้ นซับเจริญสุข สพป. ชยั ภูมิ เขต ๓ ๓

ตลาดนดั การเรียนร้อู อนไลน์วังจันทรเกษม หลักสูตรท่ี ๓ “เปดิ โลกการศึกษาไรข้ ีดจากัดในยคุ จักรวาลนฤมิต”

พระเมธวี ชิโรดม (ว.วชริ เมธี)ปราชญ์รว่ มสมัย นกั คิดนักเขยี น.

บรรณานกุ รม พฤหสั บดี 3 มีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

ดร.แพง ชินพงศ์ อมรรัตน์. (๒๕๖๓). วินยั ที่เด็กไทยต้องมี สืบค้นวนั ท่ี ๑๗ มีนาคม 2565,
https://mgronline.com/qol/detail/9630000068821

ปารชั ญ์ ไชยเวช. (2565). ศธ.เปิดตลาดนดั การเรยี นรู้ออนไลน์วังจนั ทรเกษม หลักสตู รที่ ๒
“การสรา้ งวินยั ส่คู วามเป็นเลิศทางกฬี าของเยาวชนไทย”. สืบคน้ วนั ที่ ๑๗ มีนาคม 2565
https://moe360.blog/2022/03/03/wang-chan-kasem
-online-learning-market1/

ISTE Publication.(2009).Passport to Digital Citizenship. Learning and Leading with Technology
Magazine, No. 4 -Vol. 36.

ISTE Publication.(2004).Digital Citizenship: Addressing Appropriate Technology Behavior.
Learning and Leading with Technology Magazine, No. 1 - Vol. 32.

Karen Mossberger, Caroline J. Tolbert, and Ramona S. McNeal.(2011).Digital Citizenship :
The Internet, Society and Participation, The MIT Press (London, England).

โรงเรยี นบา้ นซับเจรญิ สขุ สพป. ชยั ภูมิ เขต ๓ ๓

ตลาดนดั การเรยี นรู้ออนไลน์วงั จันทรเกษม หลักสูตรท่ี ๓ “เปดิ โลกการศกึ ษาไร้ขีดจากดั ในยคุ จักรวาลนฤมิต”
พระเมธีวชิโรดม (ว.วชริ เมธี)ปราชญ์รว่ มสมยั นกั คิดนกั เขียน.
พฤหสั บดี 3 มีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”

ภาคผนวก ก

เกียรตบิ ตั รผ่านการอบรม

โรงเรยี นบ้านซบั เจรญิ สขุ สพป. ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๓

ตลาดนัดการเรียนรูอ้ อนไลน์วงั จนั ทรเกษม หลักสูตรที่ ๓ “เปิดโลกการศกึ ษาไร้ขดี จากดั ในยคุ จักรวาลนฤมิต”
พระเมธีวชโิ รดม (ว.วชริ เมธ)ี ปราชญ์ร่วมสมยั นักคดิ นกั เขยี น.

ตลาดนดั การเรียนรอู้ อนไลน์วังจนั ทรเกษม หลพักฤสหสัตู บรดที 3่ีม๓ีนาคม 2565 09.00 - 12.00 น.”
“เปดิ โลกการศึกษาไร้ขดี จากดั ในยคุ จักรวาลนฤมติ ”

โรงเรยี นบ้านซับเจริญสขุ สพป. ชยั ภูมิ เขต ๓ ๓

โรงเรียนบา้ นซบั เจริญสุข
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต ๓

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version