The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญเหตุและการเฝ้าระวังติดตาม แนวทางตามมาตรการในการปฏิบัติ
และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านซับเจริญสุข สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thadsanee Thawpayung, 2021-11-02 02:29:36

แผนเผชิญเหตุโรงเรียนบ้านซับเจริญสุข

แผนเผชิญเหตุและการเฝ้าระวังติดตาม แนวทางตามมาตรการในการปฏิบัติ
และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านซับเจริญสุข สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3

แผนเผชญิ เหตตุ ามมาตรการปอ้ งกัน

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

โรงเรยี นบ้านซบั เจรญิ สุข อาเภอซับใหญ่ จังหวดั ชัยถูมิ
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต ๓
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ไวรสั โคโรนำ หรอื โควิด-19 คอื อะไร
ไวรสั โคโรนา (Coronavirus) เปน็ ไวรสั ท่ถี ูกพบคร้ังแรกในปี 1960 แตย่ ังไม่ทราบแหล่งท่ีมาอย่าง

ชดั เจนวา่ มาจากที่ใด แต่เปน็ ไวรสั ท่สี ามารถตดิ เชอ้ื ไดท้ ้งั ในมนษุ ย์และสัตว์ ปัจจุบันมีการคน้ พบไวรสั สายพนั ธุ์น้ี
แล้วท้งั หมด 6 สายพนั ธ์ุ สว่ นสายพนั ธท์ุ ี่กาลงั แพรร่ ะบาดหนักท่วั โลกตอนน้ีเปน็ สายพนั ธทุ์ ่ยี งั ไม่เคยพบมากอ่ น
คอื สายพันธุ์ท่ี 7 จึงถูกเรียกวา่ เป็น “ไวรัสโคโรนา 2019” และในภายหลงั ถูกตงั้ ชอื่ อยา่ งเปน็ ทางการว่า
“โควิด-19” (COVID-19)

1.2 สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19)
จากการรายงานสถานการณ์ของทมี ตระหนักรู้สถานการณใ์ นภาวะฉกุ เฉนิ โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา

2019 (COVID-19) กรมควบคมุ โรคกระทรวงสาธารณสุข ณ วนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2564
- มาตรการในประเทศไทย ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร ตรวจความพรอ้ ม “ศูนย์พักคอยเพอ่ื ส่งต่อ

วัดอินทรวหิ าร” เพื่อเตรยี ม รองรบั ผู้ปว่ ยทต่ี ดิ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในพ้นื ท่ีก่อนนาสง่
โรงพยาบาล ซึ่งรองรับผ้ปู ่วยได้250 เตยี ง โดยคาดว่าจะเปิด ให้บรกิ ารวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 ต้งั เปา้ ขยาย
20 ศูนยเ์ พ่ือให้สามารถรองรับผปู้ ่วยได้ 3,000 ราย

- กรมอนามยั จดั ทาแผนเผชญิ เหตุ เมอ่ื พบการติดเชื้อในชุมชน โรงเรียน ครูและนักเรยี น สถานศึกษา
จะต้องปฏิบัตอิ ยา่ งไร สาหรบั มาตรการในการเปดิ เรยี นทีต่ ้องเนน้ ยา้ คือ โรงเรยี นต้องประเมนิ Thai Stop 9
แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 COVID Plus ส่วนนกั เรียน ครู
บุคลากรทางการศึกษาและครอบครัว ประเมินความเส่ยี ง Thai Save Thai หากมคี วามเสี่ยงสูงตอ้ งปฏิบัติตาม
DMHT-RC อย่างเครง่ ครดั สวมหนา้ กากอนามยั 100% โดยเฉพาะครจู ะตอ้ ง มีการสวมหน้ากากอนามยั
ใสเ่ ฟสชลิ ปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตเุ มือ่ มีการติดเชื้อในโรงเรียนหรอื ชมุ ชน และมีทีมกากับติดตามเฝา้ ระวงั
การระบาดในโรงเรียนหรอื ชุมชน

- กรมควบคมุ โรค เสนอปรับมาตรการควบคุมโรคใหเ้ หมาะสมใน 4 มาตรการ คอื
1. การค้นหาผูต้ ิดเชอ้ื ดูแลรักษา แยกกักตัวและควบคุมโรค เน้นผสู้ งู อายแุ ละผู้ท่เี สีย่ งต่อการป่วย
รุนแรง
2. การจัดการเตียง มีการกักตัวดแู ลรักษาทบ่ี ้าน หากมีอาการมากข้ึนจะสง่ ตอ่ เข้ารักษา
ในสถานพยาบาล
3. มาตรการวคั ซนี โดยจัดวคั ซีนบสู เตอร์โดสใหบ้ คุ ลากรทางการแพทยด์ า่ นหน้า เพ่อื ใหภ้ มู คิ ้มุ กัน
สูงข้ึนป้องกันโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชนิดกลายพันธไ์ุ ดร้ วมถงึ เนน้ ฉีดวัคซีนในผูส้ ูงอายุ
และโรคเรอ้ื รัง 7 กลุม่ โรค เพื่อลดอตั ราการป่วยรุนแรงและเสียชวี ิต
4. มาตรการทางสงั คมและองคก์ รก่อนเขา้ สูช่ ีวิตวถิ ีใหม่

2

1.3 กำรประเมินควำมเสยี่ งสถำนกำรณ์โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19)
จากข้อมูล ณ วันท่ี 14 มกราคม 2564 (ทีม่ า : worldometer) ทัว่ โลกมีรายงานผู้ปว่ ยสะสมท้ังสน้ิ
92,799,635 คน เสยี ชวี ิต 1,987,310 คน และรักษาหายแล้ว 66,322,284 คน ในจานวนผู้เสียชวี ติ
เปน็ บคุ ลากรทางการแพทย์กวา่ 1 หมืน่ คน (สหรฐั อเมรกิ ากว่า 1 พันคน และสาธารณรัฐประชาชนจนี กวา่ 40
คน) เด็กติดเชอ้ื นอ้ ยกวา่ คนกล่มุ อ่ืน อตั ราตายในเด็กต่ากว่าอตั ราตายในคนหนุ่มสาวอายุ 20 กว่าปี ถงึ 10 เทา่
คนท่อี ายุมากกว่า 80 ปี มโี อกาสเสียชีวิตมากกวา่ หนมุ่ สาว 600 เทา่
จากสถานการณก์ ารแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดงั กล่าว หน่วยงาน
ทเี่ กยี่ วข้องจงึ ต้องเรง่ บูรณาการและประสานการทางานร่วมกันทุกภาคสว่ นทั้งหน่วยงานสาธารณสุข มหาดไทย
กลาโหม รวมถงึ ภาคประชาชน และสถานประกอบการเอกชนตา่ ง ๆ ในการค้นหาจุดเสีย่ งทอี่ าจมี การลักลอบ
ข้ามพรมแดนระหวา่ งประเทศ การดาเนนิ การกักกนั ในสถานกักกนั ของรัฐในรปู แบบตา่ ง ๆ อยา่ งเข้มงวด
การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของระบบเฝา้ ระวงั ผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ใน ผปู้ ่วยกลมุ่
อาการคล้ายไข้หวดั ใหญ่ และผู้ป่วยปอดอกั เสบในสถานพยาบาล ตลอดจนความร่วมมือของภาค ประชาชน
ในการสอดส่องผทู้ เ่ี ดนิ ทางแปลกหน้าทเี่ ขา้ มาภายในชุมชน และปฏิบัติตามมาตรการทาง สาธารณสุขต่าง ๆ
นอกจากนี้ควรเร่งดาเนนิ การจัดสรร กระจายและฉีดวคั ซีนให้กบั ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน และบุคลากร ทางการแพทย์
ดา่ นหน้าตามแนวชายแดน เน่ืองจากเป็นกลมุ่ คนทอ่ี ยู่ใกลช้ ิดกับประชากรกลมุ่ เสีย่ งมากที่สดุ เพ่ือลดโอกาส
การตดิ เชอ้ื และลดผลกระทบท่ีอาจส่งผลตอ่ ระบบบริการสขุ ภาพในพืน้ ท่ี

1.4 อำกำรเมือ่ ติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 หรอื ไวรัสโควิด-19
อาการของไวรัสโควดิ -19 ทส่ี ังเกตไดง้ า่ ย ๆ ดว้ ยตัวเอง ดังน้ี

1. มีไข้
2. เจบ็ คอ
3. ไอแหง้ ๆ
4. น้ามกู ไหล
5. หายใจเหนอื่ ยหอบ

1.5 กล่มุ เสีย่ งตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนำ 2019 หรือโควิด-19
1. เดก็ เล็ก (แต่อาจไมพ่ บอาการรนุ แรงเทา่ ผู้สงู อายุ)
2. ผสู้ ูงอายุ
3. คนที่มีโรคประจาตัวอยูแ่ ล้ว เช่นโรคหัวใจ เบาหวาน โรคปอดเร้ือรัง
4. คนทภ่ี มู ิคุม้ กนั ผดิ ปกติ หรือกินยากดภูมิตา้ นทานโรคอยู่
5. คนท่ีมนี ้าหนักเกนิ มาตรฐานมาก (คนอ้วนมาก)

3

6. ผู้ทเ่ี ดนิ ทางไปในประเทศเสี่ยงตดิ เชื้อ เชน่ จนี เกาหลใี ต้ ญ่ปี ่นุ ไตห้ วนั ฮ่องกง มาเกา๊
สิงคโปร์ มาเลเซยี เวียดนาม อิตาลี อิหรา่ น ฯลฯ

7. ผทู้ ีต่ อ้ งทางาน หรือรกั ษาผ้ปู ่วย ติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โควิด-19 อย่างใกลช้ ิด
8. ผู้ท่ที าอาชีพท่ีตอ้ งพบปะชาวต่างชาตจิ านวนมาก เช่น คนขบั แท็กซี่ เจ้าหน้าทีใ่ น
โรงพยาบาล ลูกเรือสายการบินตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
หากมอี าการโควดิ 19 ควรทาอย่างไร
- หากมีอาการของโรคทีเ่ กิดขึ้นตาม 5 ขอ้ ดงั กลา่ ว ควรพบแพทยเ์ พื่อทาการตรวจ
อยา่ งละเอยี ด และ เม่ือแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจรงิ ไมป่ ิดบงั ไม่บิดเบือนข้อมลู ใด ๆ
เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการ วินจิ ฉัยโรคอยา่ งถูกตอ้ งมากที่สดุ
- หากเพงิ่ เดินทางกลับจากพ้ืนที่เสย่ี ง ควรกกั ตวั เองอยู่แต่ในบ้าน ไม่ออกไปข้างนอกเปน็ เวลา
14 – 27 วัน เพ่อื ให้ผา่ นช่วงเชอื้ ฟักตัว และให้แนใ่ จ ว่าไม่ติดเช้ือ

1.6 วธิ ีป้องกันกำรติดเชอื้ ไวรัสโคโรนำ 2019
1. หลีกเลย่ี งการใกล้ชดิ กับผู้ป่วยท่มี ีอาการไอ จาม น้ามูกไหล เหนือ่ ยหอบ เจ็บคอ
2. หลกี เลย่ี งการเดินทางไปในพ้ืนที่เสย่ี ง
3. สวมหนา้ กากอนามยั ทกุ ครง้ั เมอื่ อยู่ในที่สาธารณะ
4. ระมดั ระวังการสัมผสั พน้ื ผิวท่ไี มส่ ะอาด และอาจมเี ชอ้ื โรคเกาะอยู่ รวมถึงสิ่งที่มีคนจับบอ่ ยครั้ง
เช่น ทีเ่ ปิด-ปิดประตใู นรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้า ราวบันได โตะ๊ เกา้ อี้ ฯลฯ เมอ่ื จบั แล้วอยา่ เอามอื สมั ผัส
หน้า และขา้ วของเคร่ืองใช้สว่ นตวั ต่าง ๆ เช่น โทรศัพทม์ ือถือ กระเปา๋ ฯลฯ
5. ล้างมือใหส้ มา่ เสมอดว้ ยสบู่ หรอื แอลกอฮอลเ์ จลอยา่ งน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของ
แอลกอฮอล์ไมต่ า่ กว่า 70% (ไม่ผสมนา้ )
6. งดจับตา จมูก ปากขณะท่ีไม่ได้ลา้ งมือ
7. หลีกเลยี่ งการใกล้ชดิ สัมผัสสตั ว์ตา่ ง ๆ โดยท่ไี ม่มกี ารปอ้ งกัน
8. รับประทานอาหารสุก สะอาด ไมท่ านอาหารท่ที าจากสัตวห์ ายาก
9. สาหรบั บคุ ลากรทางการแพทยห์ รือผู้ทีต่ ้องดแู ลผปู้ ่วยที่ตดิ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรอื ใสแ่ ว่นตานริ ภัย เพื่อป้องกันเชื้อในละอองฝอยจากเสมหะ หรือสารคดั หลง่ั
เขา้ ตา
โรงเรยี นบ้านซบั เจรญิ สุข มีความตระหนักและมคี วามหว่ งใยในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระยะเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นได้ดาเนนิ การ
เตรยี มความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอน การจดั เตรยี มสถานท่ี เพ่ือรองรับการเปดิ เรียนแบบ On - site
ท้งั รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การเวน้ ระยะห่าง การจดั สถานที่นัง่ เรียน รบั ประทานอาหาร

4

การเว้นระยะหา่ งในกจิ กรรมต่าง ๆ อีกทั้งเตรยี มความพร้อมด้าน ความรูค้ วามเข้าใจในการปฏบิ ตั ติ นของ
นักเรยี นเมอ่ื โรงเรยี นสามารถเปิดเรียนแบบ On site ได้

โรงเรียนบา้ นซับเจริญสุข ดาเนนิ การตามพระราชกาหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณ์ ฉกุ เฉิน
พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) ของกระทรวงสาธารณสุข โดยการประเมินตนเองสาหรบั สถานศึกษา ในการเตรยี ม
ความพร้อมก่อนเปิดเรียนผ่านระบบ TSC+ Thai Stop Covid Plus จานวน 44 ขอ้ 6 มติ ิ นอกจากนโี้ รงเรยี น
บ้านซับเจรญิ สุข ออกคาส่ัง มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการและแผนเผชิญเหตุ รองรบั สถานการณ์
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

5

เกณฑก์ ำรพิจำรณำตำมระดับควำมรุนแรงของกำรระบำด
ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) ระดับโรงเรยี น

6

7

บทที่ 2
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถำนกำรณแ์ พรร่ ะบำดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนำ 2019

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มคี วามรุนแรงมากขึ้น
การแพรร่ ะบาดของโรคยังสามารถแพรร่ ะบาดไดง้ ่ายขึน้ และมกี ารกลายพันธ์ุของโรคทาให้เกิดอาการที่
แตกตา่ งกนั ของแตล่ ะคน โรงเรียนบา้ นซบั เจรญิ สุขไดจ้ ัดทาแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ข้นึ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อกาหนดมาตรการการเตรียมความพรอ้ มการป้องกนั การควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ
กรณกี ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นบา้ นซับเจริญสุข
2. เพื่อกาหนดบทบาทหนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบของบุคลากรในการเตรยี มความพร้อม การป้องกัน
ควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินกรณสี ถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
ของโรงเรยี นบา้ นซบั เจรญิ สุข
3. เพ่ือให้การประสานงานระหว่างบุคลากรภายในและภายนอกในการเตรยี มความพร้อมการป้องกนั
ควบคุมโรค และตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉินกรณี สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของโรงเรียนบา้ นซับเจรญิ สุข
4. เพ่ือสร้างความมนั่ ใจในการเตรียมความพร้อมการป้องกัน การควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะ
ฉกุ เฉินกรณีสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใหก้ บั บคุ ลากรและ
นกั เรยี นของโรงเรียนบา้ นซบั เจรญิ สุข

8

แผนเผชิญเหตแุ ละกำรเฝ้ำระวงั ตดิ ตำม แนวทำงตำมมำตรกำรในกำรปฏบิ ตั ิ
และปอ้ งกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ -19 ในสถำนศกึ ษำ

โรงเรยี นบำ้ นซับเจริญสขุ สำนกั งำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำชัยภูมิ เขต 3
....................................................................

โรงเรยี นบา้ นซบั เจรญิ สขุ ได้กาหนดมาตรการการจัดการเรียนการสอนในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
โดยได้วางแผนไว้ 2 สถานการณ์ เพ่ือเตรียมความพร้อมในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา
(Covid–19)

สถำนกำรณท์ ่ี 1 กรณีทีส่ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โควิด-19 (Covid–19) คลี่คลาย
จะจดั การเรียนการสอนปกตใิ นโรงเรียน โดยให้เว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรยี มการ
เพ่อื รองรบั สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ตา่ ง ๆ โดยจะต้องไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัด ซงึ่ มผี วู้ ่า
ราชการจังหวดั เปน็ ประธาน โรงเรยี นจะดาเนนิ การ 8 มาตรการ ประกอบดว้ ย

มำตรกำรท่ี 1 (กำรคดั กรอง )
1.1 จดั ตัง้ จุดคดั กรอง ทางเขา้ -ออกโรงเรียน
1.2 วัดไขน้ กั เรยี น ผ้ปู กครอง ครูและบุคลากร ก่อนเข้าโรงเรียนทุกคน
1.3 ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนและผู้ปกครอง ขอความรว่ มมือให้ประวตั หิ ากมีความเส่ยี งกรณีเดินทาง

มาจากตา่ งจังหวัดตอ้ งกักตัว 14 วนั หรอื หากมีอาการไข้ไม่สบายตอ้ งหยดุ เรยี นทันที
1.4 จัดทาขอ้ มูลนกั เรยี น ครู บคุ ลากรและผู้มาติดต่อราชการทกุ วัน เพื่อติดตาม และตรวจสอบ
1.5 ผทู้ ม่ี ไี ข้และไมส่ วมหน้ากากอนามัยไม่อนุญาตใหเ้ ขามาภายในโรงเรียน
1.6 แจ้งเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ (อสม.)หรอื หนว่ ยงานสาธารณสุขในพน้ื ท่เี ข้าตรวจสอบ
1.7 มอบหมายครูเวรประจาวัน ทาหน้าท่ี คัดกรอง

มำตกำรท่ี 2 (กำรป้องกนั กำรสวมหนำ้ กำกอนำมัย )
2.1 นักเรยี น ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ คนสวมหนา้ กากอนามยั
2.2 ผู้ปกครองที่มารบั สง่ นักเรียนทกุ คนสวมหน้ากากอนามัย
2.3 ผทู้ มี่ าติดต่อราชการ ทกุ คนสวมหน้ากากอนามยั
2.4 จดั หาหนา้ กากอนามยั ไว้สาหรับนกั เรยี นและบุคลากร

9

มำรตกำรท่ี 3 (กำรจัดจุดล้ำงมือ )
3.1 จัดจดุ ลา้ งมือบริเวณทางเข้า – ออกโรงเรียน
3.2 จดั แอลกอฮอลเ์ จลล้างมืออยา่ งเพยี งพอทุกห้องเรยี นและอาคารสานกั งาน
3.3 จัดจุดลา้ งมอื บรเิ วณทางเขา้ โรงอาหาร

มำตรกำรที่ 4 (กำรเว้นระยะหำ่ งทำงสังคม) (Social Distancing)
4.1 จัดโตะ๊ นกั เรียนใหเ้ ว้นระยะห่าง 1-2 เมตร
4.2 จดั ใหน้ กั เรยี นในชัน้ เรียนไม่เกินห้องละ 25 คน
4.3 จดั โตะ๊ น่ังรบั ประทานอาหารของนักเรียนใหเ้ ว้นระยะห่าง 1.5 เมตร
4.4 การยนื เข้าแถวหน้าเสาธง ใหเ้ ว้นระยะห่าง 2 เมตร
4.5 การยนื เขา้ แถวรับอาหารกลางวนั ให้เวน้ ระยะหา่ ง 2 เมตร
4.6 กาหนดให้เว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing)

มำตรกำรท่ี 5 (กำรทำควำมสะอำดพืน้ ผิวสมั ผสั )
5.1 จดั ทาความสะอาดห้องเรียนโดยการพน่ ยาฆ่าเชื้อ สัปดาห์ละ 1 ครัง้
5.2 จดั เขตพื้นท่กี ารดูและความสะอาดเรียบรอ้ ยภายในบริเวณโรงเรียน
5.3 จัดทาความสะอาดห้องน้าและโรงอาหารทุกวัน
5.4 จากดั การเขา้ เล่นสนามเด็กเล่น เพื่อชว่ ยลดการสมั ผัสร่วมกันจานวนมาก

มำตรกำรที่ 6 (กำรลดควำมแออดั ไมจ่ ัดกิจกรรมทเ่ี กิดกำรรวมกลุ่มของเด็ก)
6.1 จากดั เขตพนื้ ที่การปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนักเรียนแต่ละช้ันเรียน
6.2 เพ่อื ความปลอดภยั ของเด็ก ครู ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการศกึ ษา ทั้งนี้ต้องเตรยี ม

ความพร้อมการจัดการเรียนการสอนท่ีอน่ื ไวด้ ้วย ในกรณีท่ีไมส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนทโี่ รงเรียนได้
6.3 ลดการทากจิ กรรมที่นานักเรียนมารวมกนั

10

มำตรกำรท่ี 7 (กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน)
7.1 จดั การเรยี นการสอนปกติตามหลักสตู รและโครงสรา้ งรายวิชา
7.2 จัดตารางเรยี น เวลาเรยี น ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบรบิ ท
7.3 ครูจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามมาตรฐานและตวั ช้ีวัด
7.4 จดั กิจกรรมการเรียน ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์และบรบิ ท
7.5 วดั และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาด้วยวธิ ีทีห่ ลากหลาย ตามหลกั สตู รสถานศึกษา

มำตรกำรที่ 8 (กำรบริหำรจัดกำร)
8.1. จัดทาคาส่ังมอบหมายครูและบุคลากร ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่จี ดั การเรียนการสอนตามโครงสร้าง

บรบิ ทและความเหมาะสมของโรงเรียน และคาสง่ั อืน่ ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง
8.2. จัดทาประกาศ เพ่ือแจง้ ให้ครูและบุคลากร นักเรยี น ผู้ปกครอง ทราบแนวทางการปฏิบัติ
8.3. จดั ทาโครงการเพ่ือสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ พยี งพอ
8.4. จัดทามาตรการและคู่มือการปฏบิ ตั ิสาหรับสถานศึกษาปอ้ งกนั โควิด-19
8.5 ดาเนนิ กจิ กรรมตามมาตรการและแนวทางของ ศบค. ของจงั หวัดและส่วนกลาง
8.6 จัดตง้ั ศูนย์เฝ้าระวงั การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โควิด-19 Covid-19 ของโรงเรียน
8.7 ตดิ ตาม รายงาน ผลการดาเนินการเป็นระยะต่อหน่วยงานต้นสังกดั และหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง

สถำนกำรณท์ ี่ 2 กรณีทส่ี ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โควดิ -19 (Covid-19) ยงั ไมค่ ลี่คลาย
จะจดั การเรียนการสอนระดับปฐมวยั ถงึ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ดว้ ยระบบทางไกลผ่าน DLTV
ดว้ ยวดี ีทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ และระบบ On-Hand ด้วยเคร่อื งมือการเรียนรตู้ ามความเหมาะสมและ
บริบทของสถานศึกษา เน้นความรว่ มมือของโรงเรยี นและผูป้ กครอง โดยแบง่ มาตรการออกเปน็ 5 มาตรการ
ดงั น้ี

มำตรกำรที่ 1 (กำรปอ้ งกัน)
1. ประชุมชแี้ จงใหค้ ณะครูและบุคลากร ไดท้ ราบถึงมาตรการปอ้ งกนั ทกุ คน 100 %
2. จดั ต้งั ศูนยเ์ ฝา้ ระวงั การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโควดิ -19 Covid-19 ของโรงเรียน
โดยตั้งอยู่ ณ อาคารห้องประชมุ
3. จัดตง้ั จุดคัดกรองบรเิ วณอาคารอานวยการ
4. ทาความสะอาดห้องน้าเป็นระยะ เช้า – เย็น โดยใช้น้ายาฆ่าเชื้อ/ผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณ
แอลกอฮอล์เปน็ ส่วนผสมตั้งแตร่ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป

11

5. เตรียมสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลล้างมือ หน้ากากอนามัย น้ายาทาความสะอาด ถังขยะที่มี
ฝาปดิ ใหพ้ ร้อมใช้งานอยเู่ สมอ
6. ควรจดั เตรียมหนา้ กากอนามัยและแอลกอฮอลเ์ จล เพ่ือใชส้ าหรบั ตนเองและเพ่ือน
ร่วมงาน
7. งดการใชอ้ าคารหรือสถานท่ีในโรงเรียนเพ่ือจัดประชมุ ชุมนุมหรือนาผูค้ นมารวมกนั
8. นักเรียน และผปู้ กครอง ทุกคนสวมหน้ากากอนามยั เมื่อมาตดิ ตอ่ รบั ใบงานท่โี รงเรยี น
9. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนสวมหนา้ กากอนามัยทุกคร้งั ทอ่ี อกไปพบปะนักเรียน
ผ้ปู กครองในชมุ ชน

มำตรกำรที่ 2 (กำรดแู ล และเฝ้ำระวงั )
1. ลดการปฏิบตั งิ านในโรงเรียน
2. จดั กล่มุ ผูป้ ฏบิ ตั งิ านอยู่เวรวนั ละ 1 คน เพื่อปฏบิ ตั งิ านทีส่ านักงาน
3. จดั ครแู ละบุคลากรท่ีไม่ได้อยู่เวรใหป้ ฏิบัตหิ น้าท่ีและประสานงาน/ส่งงาน ผา่ นทางระบบ
ออนไลน์ โดยให้ปฏบิ ัติงานท่โี รงเรยี นและบา้ น ในสัดสว่ น 30/70
4. หากบคุ ลากรพบวา่ ตนเองมีอาการป่วย ควรหยุดพกั รักษาตวั อยทู่ ่บี า้ น ให้แจ้ง
ผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั
5. หากมเี หตจุ าเปน็ ให้ต้องไปทางาน ควรสวมหน้ากากอนามัยทุกครง้ั
6. หากสังเกตเห็นเพื่อนร่วมงานมีอาการไอ จาม ผิดปกติ ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาตามลาดับ

มำตรกำรที่ 3 (กำรส่งตอ่ และรักษำ)
1. จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าระวัง/ติดตามสถานการณ์ โดยทางานร่วมกับ (อสม.) และหน่วยงาน
สาธารณสขุ เพือ่ ควบคมุ พ้ืนท่ีและติดตามการแพรเ่ ชือ้
2. เม่ือตรวจพบผู้เขา้ ข่ายติดเช้อื ให้สง่ ตอ่ โรงพยาบาลใกล้เคียงทป่ี ระสานการปฏบิ ัตไิ ว้แล้ว
3. นักเรียนทีต่ รวจพบเชื้อ เมื่อรักษาหายปกติแล้วใหก้ ลบั มาเรยี นตามปกติ
4. ปิดสถานท่ีทันที่ เมื่อพบผู้เข้าข่ายตดิ เชื้อ เพ่ือทาความสะอาดและฆา่ เชื้อโรค

มำตรกำรท่ี 4 (กระบวนกำรจัดกำรเรียนร้)ู
1. จัดกระบวนการเรียนการสอนทางไกล ด้วยระบบ DLTV ผ่านช่องทาง On-Air Online

หรือ On-hand ตามความเหมาะสมของสถานการณ์
2. ครจู ัดทาขอ้ มลู การติดตามการเรียนของนักเรียนและการเรยี นผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ
3. ครูจดั ทาเอกสาร ใบงาน ใบความรู้สาหรบั นกั เรยี นใชป้ ระกอบการจัดการเรียนการสอน
4. จัดทาจดุ และรับ-สง่ เอกสารใบงานให้กบั นักเรยี น ในแตล่ ะระดบั ชน้ั ทุกวันจนั ทร์

12

5. กาหนดการเย่ียมบา้ นนักเรียนและรบั สง่ เอกสารการเรียนรู้ ส่ือ ใบงาน แบบฝกึ หดั
ระหว่างครนู ักเรยี นกบั ผ้ปู กครองสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ทกุ วนั จันทร์

6. โรงเรียนจัดทาช่องทางการตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งครูกบั ผปู้ กครองและนักเรียน ผ่านทาง
โทรศัพท์ Line และ Fecebook
7. วดั และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาด้วยวิธที ห่ี ลากหลาย ตามหลกั สตู รสถานศึกษา
8. จดั การเรยี นการสอน ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั และตามหลักสตู รสถานศกึ ษา

มำตรกำรที่ 5 (กำรบริหำรจดั กำร)
1. จัดทาคาสั่งมอบหมายครูและบุคลากร ปฏิบตั ิหนา้ ทจี่ ดั การเรยี นการสอนตามโครงสร้าง

บรบิ ทและความเหมาะสมของโรงเรียน
2. จัดทาประกาศ เพ่ือแจ้งให้ครแู ละบุคลากร นกั เรียน ผู้ปกครอง ทราบแนวทางการปฏิบัติ
3. จัดทาโครงการเพ่ือสนบั สนุนงบประมาณในการดาเนนิ การกจิ กรรมต่าง ๆ ให้เพยี งพอ
4. จัดทามาตรการและคู่มอื การปฏิบัติสาหรับสถานศกึ ษาป้องกันโควิด-19
5. จัดต้งั ศนู ย์เฝ้าระวังการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 Covid-19 ของโรงเรียน
6. ตดิ ตาม รายงาน ผลการดาเนนิ การเป็นระยะต่อหน่วยงานต้นสงั กัดและหน่วยงานท่ี

เก่ยี วขอ้ ง

13

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สง่ ผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน
เม่อื สถานการณเ์ ปน็ ไปในทางทด่ี ขี ึน้ การเปดิ สถานศึกษาหลงั จากปิด จากสถานการณ์ โควดิ 19 มีความ
จาเป็นอยา่ งยงิ่ ในการเตรียมความพรอ้ มของสถานศกึ ษา การปฏิบัตติ นของนักเรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา
เพื่อลดโอกาสการติดเช้อื และป้องกันไมใ่ หเ้ กิดการตดิ เชื้อโรคโควิด 19 ให้เกิดความปลอดภยั แก่ทุกคน จึงควรมี
การประเมนิ ความพรอ้ มการเปิดภาคเรยี นของสถานศึกษา ซึง่ องคก์ ารเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาตแิ ละองค์กร
ภาคี ได้เสนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่ การดาเนนิ งานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลมุ ถึงเดก็
ด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการค้มุ ครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดใน การสร้างความ
เชอื่ มโยงกับมาตรการป้องกันโรคเพ่อื ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโควดิ 19 ของศนู ยบ์ ริหาร สถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของ โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ -19) (ศบค.) อนั จะเปน็ การวางแผนท่ี จะช่วยสรา้ งเสริม
ความเข้มแขง็ ดา้ นการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภยั ของนักเรยี น โดยมีมาตรการควบคุมหลักในมิติการ
ดาเนนิ งาน เพ่ือความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ช้ือโรค 6 ขอ้ ปฏิบตั ิในสถานศึกษา ได้แก่

1. เว้นระยะห่ำง (Distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถงึ การ
จัดเวน้ ระยะห่างของสถานที่

2. สวมหน้ำกำก (Mask) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กาก อนามัย ตลอดเวลาทีอ่ ยู่
ในสถานศกึ ษา

3. ล้ำงมอื (Hand Washing) ล้างมือบอ่ ย ๆ ดว้ ยสบู่และน้า นานอย่าง น้อย 20 วินาทหี รอื ใช้เจล
แอลกอฮอล์ หลกี เล่ยี งการสัมผัสบรเิ วณจดุ เส่ยี ง รวมทั้ง ไม่ใช้มอื สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดย ไมจ่ าเป็น

4. คัดกรองวดั ไข้ (Testing) ผู้ทีเ่ ขา้ มาในสถานศกึ ษาทุกคน ตอ้ งได้รบั การคดั กรอง วัดอุณหภมู ิ
ร่างกาย

5. ลดกำรแออดั (Reducing) ลดระยะเวลาการทากิจกรรมให้สั้นลงเทา่ ท่จี าเปน็ หรือเหลือ่ มเวลา
ทากิจกรรมและหลกี เลีย่ ง การทากจิ กรรมรวมตวั กนั เปน็ กลุ่มลดแออัด

6. ทำควำมสะอำด (Cleaning) เปิดประตู หนา้ ต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทาความสะอาด หอ้ งเรยี น
และบรเิ วณต่าง ๆ โดยเชด็ ทาความสะอาดพ้ืนผวิ สัมผัสของโตะ๊ เกา้ อ้ี และวัสดอุ ปุ กรณ์ ก่อนเข้าเรียน
ช่วงพกั เท่ียง และหลงั เลกิ เรยี นทุกวนั รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออก
จากห้องเรียน เพอ่ื นาไปกาจัดทกุ วัน

14

15

กำรวัดอณุ หภูมิรำ่ งกำย

*** หากตรวจวดั อณุ หภมู ริ า่ งการคร้ังแรก บุคลากร นักเรยี นหรือผู้มาติดต่อราชการมีอณุ หภูมิ รา่ งกายมากกวา่
37.5 องศาเซลเซยี ส ให้พักคอยหรอื ควรอยู่ในบรเิ วณจดุ ตรวจวดั อยา่ งน้อย 5 นาทกี ่อน การวดั อีกครง้ั

- กรณี วดั อณุ หภมู ริ า่ งกายได้ ไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการ ทางเดนิ หายใจ อาทิ ไอ
มนี า้ มกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่อื ยหอบ ไม่ไดก้ ลิน่ ไม่ ร้รู ส ไม่มปี ระวตั สิ ัมผัสใกลช้ ดิ กบั ผปู้ ่วยยืนยัน
ในชว่ ง 14 วนั ก่อนมีอาการ ถือวา่ ผ่านการคดั กรอง ใหเ้ ข้าเรียน ปฏิบตั งิ านหรอื ติดต่อไดต้ ามปกติ

- กรณี วัดอณุ หภมู ิร่างกาย ต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซยี สข้ึนไป หรือมไี ข้ รว่ มกับอาการ ทางเดินหายใจ
อย่างใดอยา่ งหน่งึ อาทิ ไอ มีนา้ มูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไม่รรู้ ส ใหป้ ฏบิ ัติ ดังน้ี >
แยกนักเรยี นไปไว้ที่ห้องแยก ซ่ึงทางงานอนามยั โรงเรยี นได้จัดเตรียมไว้ > บนั ทกึ รายชอื่ และอาการปว่ ย >
ซกั ประวัตแิ ละสงั เกตอาการเสีย่ ง > แจง้ ผ้ปู กครอง

กำรสอบถำมและซกั ประวตั ิ

สอบถามและซักประวตั ิการสัมผสั ในพ้ืนที่เสยี่ งและบนั ทึกผล ลงในแบบบนั ทกึ การตรวจคัดกรอง
สุขภาพสาหรบั นกั เรียน บคุ ลากรหรือผมู้ า ตดิ ตอในสถานศึกษา

1. หากไมม่ ีประวตั ิเส่ยี ง ให้พานักเรียนไปพบแพทย์ และให้ หยดุ พกั จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ
2. หากตรวจพบว่า มปี ระวตั ิเส่ยี ง และ/หรือมีประวัตสิ มั ผัส ใกล้ชดิ กับผู้ป่วยยนื ยันหรอื สงสัย
มปี ระวัตเิ ดินทางไปในพ้นื ท่ีเส่ียงหรือพ้ืนท่ีเกิดโรค ไปในพืน้ ที่ทม่ี คี นแออดั จานวนมาก ในชว่ ง 14 วนั กอ่ น
มอี าการ ถอื ว่าเปน็ ผ้สู ัมผสั ท่ีมีความเสยี่ ง หรือเป็นกลมุ่ เสีย่ ง โดยจาแนกเปน็ กล่มุ เสี่ยงมปี ระวตั เิ ส่ียงสงู
และกล่มุ เส่ยี ง มีประวตั เิ สยี่ งต่า ใหป้ ฏิบตั ิดังน้ี
กลุ่มเสีย่ งมปี ระวัตเิ สี่ยงสงู

- แยกนักเรยี นไปไว้ท่ีห้องแยกซ่ึงงานอนามัยโรงเรียนจดั เตรียมไว้
- บนั ทึกรายชื่อและอาการปว่ ย
- แจง้ ผู้ปกครอง ใหม้ ารับนกั เรยี น แลว้ พาไปพบแพทย์
- แจง้ เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ ประเมนิ สถานการณ์ การสอบสวนโรค
- ทาความสะอาดจุดเส่ียงและบริเวณโดยรอบ
- เก็บตัวอย่าง ATK
- กักตวั อยูบ่ า้ น
- ติดตามอาการใหค้ รบ 14 วนั
- ครูรวบรวมข้อมลู และรายงานผลให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผู้เกยี่ วข้อง

16

กลมุ่ เสี่ยงมีประวตั เิ สี่ยงต่า
- แยกนักเรยี นไปไวท้ ีห่ ้องแยกซ่งึ งานอนามัยโรงเรียนจัดเตรียมไว้
- บนั ทกึ รายชอ่ื และอาการป่วย
- แจ้งผูป้ กครอง ใหม้ ารบั นกั เรยี น แลว้ พาไปพบแพทย์
- แจง้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ
- แจ้งทอ้ งถิน่ ทาความสะอาด จดุ เสี่ยงและบรเิ วณโดยรอบ
- ตดิ ตามอาการใหค้ รบ 14 วนั
- ครูรวบรวมขอ้ มูลและรายงานผลให้ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผู้เกี่ยวขอ้ ง

โรงเรยี นมีการกาหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสาหรบั บุคลากรและนักเรยี นทส่ี งสัยติดเชื้อ
หรือปว่ ย ดว้ ยโรคโควดิ - 19 โดยไมถ่ ือเปน็ วันลาหรอื วันหยุดเรียน โดยนาหลักฐาน ใบรบั รองแพทย์มายืนยนั
เพอ่ื กลบั เข้าเรยี นตามปกติ โดยไมถ่ ือวา่ วันลา ขาดเรยี นหรอื ขาดงาน และมีการกักตวั ผู้ใกลช้ ิดกับผ้ปู ่วย
ตามเกณฑค์ วบคมุ โรคและดาเนนิ การช่วยเหลือ เชน่ เดียวกับผู้ปว่ ย

17

แนวปฏบิ ตั ิสำหรบั ครู ผู้ดแู ลนกั เรียน

1. ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสาร สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค พ้ืนทเ่ี ส่ียง คาแนะนาการป้องกนั
ตนเองและลดความเสย่ี งจากการแพร่กระจายของเชือ้ โรคโควดิ -19 จากแหลง่ ขอ้ มูลทีเ่ ชื่อถือได้

2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการไขไ้ อ มนี า้ มูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนือ่ ย หอบ
ไมไ่ ดก้ ลิ่น ไม่ร้รู ส ให้หยดุ ปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณมี ีคนในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคโควดิ -19
หรอื กลบั จากพืน้ ทเี่ ส่ียงและอยู่ในช่วงกกั ตัว ให้ปฏิบัตติ ามคาแนะนาของเจา้ หน้าที่สาธารณสุขอย่างเคร่งครัด

3. แจง้ ผปู้ กครองและนักเรียน ใหน้ าของใช้สว่ นตัวและอุปกรณป์ อ้ งกนั มา ใชเ้ ป็นของตนเองพร้อมใช้
เชน่ ชอ้ น สอ้ ม แกว้ นา้ แปรงสีฟัน ยาสฟี ัน ผา้ เช็ดหนา้ หนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามยั เป็นต้น

4. ส่ือสารความรู้คาแนะนาหรือจัดหาส่ือประชาสัมพันธใ์ นการป้องกนั และลดความเส่ียงจากการ
แพร่กระจาย โรคโควิด-19 ให้แก่นักเรียน เชน สอนวิธกี ารล้างมอื ท่ถี ูกตอ้ ง การสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากาก
อนามัย คาแนะนาการปฏิบัติตวั การเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเล่ียงการทากจิ กรรม
รว่ มกัน จานวนมากเพอ่ื ลดความแออดั

5. ทาความสะอาดสอื่ การเรียนการสอนหรืออปุ กรณข์ องใช้ร่วมท่ี เปน็ จุดสัมผสั เสย่ี งทุกครัง้ หลงั
ใชง้ าน

6. ควบคุมดูแลการจดั ที่น่ังในห้องเรียน ระหวา่ งโต๊ะเรยี น ท่ีนงั่ ใน โรงอาหาร การจัดเวน้ ระยะหา่ ง
ระหว่างบคุ คลอยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร และเหลื่อม เวลาพกั ทานอาหารกลางวันและกากับใหน้ ักเรยี นสวม
หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัยตลอดเวลา และล้างมือบ่อย ๆ

7. ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรยี นของนักเรียนขาดเรยี น ถูกกักตัวหรอื อยู่ในกลมุ่ เสี่ยงต่อการ
ติดโรค โควดิ -19 และรายงานต่อผู้บริหาร

8. ทาการตรวจคดั กรองสุขภาพทุกคนทเี่ ข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้าให้กบั นักเรียน ครู บคุ ลากร
และผูม้ าตดิ ต่อ โดยใช้เคร่ืองวัดอณุ หภมู ทิ างหนา้ ผาก พรอ้ มสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบ
ทางเดินหายใจ เชน่ ไข้ไอ มนี ้ามกู เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ด้กล่ิน ไม่รู้รส โดยตดิ สญั ลักษณ์
สติกเกอรห์ รอื ตราปั๊ม แสดงให้เหน็ ชัดเจนว่า ผา่ นการคดั กรองแล้ว

- กรณีพบนักเรยี นหรือผูม้ ีอาการมไี ขอ้ ุณหภมู ริ ่างกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป ร่วมกับ
อาการระบบทางเดินหายใจอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง จัดให้อยใู่ นพ้ืนทีแ่ ยกสว่ น ให้รบี แจง้ ผปู้ กครองมารบั และ
พาไปพบแพทย์ให้หยุดพักที่บ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขเพือ่ ประเมิน
สถานการณ์และดาเนนิ การสอบสวนโรคและแจง้ ผบู้ รหิ ารเพื่อพจิ ารณาการปิดสถานศกึ ษาตามแนวทาง
ของกระทรวงสาธารณสขุ

- บันทึกผลการคัดกรองและส่งตอ่ ประวตั กิ ารป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ
- จดั อปุ กรณ์การล้างมือ พร้อมใชง้ านอย่างเพยี งพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณทางเขา้
สบู่ลา้ งมอื บริเวณอา่ งล้างมือ

18

9. กรณีครูสังเกตพบนักเรียนทม่ี ปี ญั หาพฤติกรรม เชน่ เดก็ สมาธสิ ้ัน เดก็ ที่มีความวิตกกังวลสงู
อาจมีพฤติกรรม ดูดนิ้วหรือกัดเล็บ ครูสามารถตดิ ตามอาการและนาเขา้ ข้อมลู ทสี่ ังเกตพบในฐานข้อมูล
ดา้ น พฤติกรรมอารมณ์สังคมของนักเรยี น เพื่อใหเ้ กดิ การดูแลชว่ ยเหลอื รว่ มกับ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นสุขภาพจติ
ตอ่ ไป

10. วธิ ีการปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรยี นทไี่ มร่ ่วมมือปฏบิ ตั ติ ามมาตรการที่ครูกาหนด ด้วยการ
แกป้ ญั หาการเรียนร้ใู หมใ่ ห้ถกู ต้อง นั่นคือ “สร้างพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมที่ไม่
พึงประสงค”์

11. ครูสื่อสารความรู้เกย่ี วกับความเครยี ด วา่ เปน็ ปฏกิ ิริยาปกตทิ ่ี เกดิ ขน้ึ ไดใ้ นภาวะวกิ ฤติท่มี ีการแพร่
ระบาด ของโรคโควดิ -19 และนากระบวนการ การจัดการความเครียด การฝกึ สติใหก้ ลมกลืนและเหมาะสม
กบั นักเรียนและวัย รว่ มกับการฝึกทักษะชีวติ ท่ีเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ทางใจให้กับ นักเรียน ได้แก่ ทักษะชีวติ
ดา้ นอารมณส์ ังคมและความคิด เป็นตน้

12. ครูสงั เกตอารมณ์ความเครียดของตวั ทา่ นเอง เน่ืองจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรยี น จานวนมาก
และ กากบั ให้ปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ้ งกันการติดโรคโควิด 19 เปน็ บทบาทสาคัญ อาจจะสร้าง ความเครยี ด
วิตกกงั วล ท้งั จากการเฝา้ ระวังนกั เรียนและการป้องกนั ตัวท่านเองจากการสัมผสั กับเช้ือโรค ดังนน้ั เมอ่ื ครู
มคี วามเครียดจากสาเหตุต่าง ๆ มขี อ้ เสนอแนะ ดังนี้

1) ความสับสนมาตรการของสถานศึกษาท่ีไม่กระจา่ งชัดเจน แนะนาให้สอบทานกับผบู้ ริหาร
หรือเพ่ือน ร่วมงาน เพ่ือใหเ้ ข้าใจบทบาทหนา้ ท่แี ละข้อปฏิบัติทต่ี รงกัน

2) ความวิตกกงั วล กลวั การติดเช้อื ในสถานศึกษา พูดคยุ ส่ือสารถึงความไมส่ บายใจ ร้องขอ
ส่ิงจาเป็น สาหรบั การเรียนการสอนทเ่ี พยี งพอต่อการป้องกันการตดิ โรคโควิด-19 เช่น สถานที่ส่อื การสอน
กระบวนการเรียนรู้การสง่ งานหรือตรวจการบา้ น เปน็ ต้น หากท่านเป็นกลุ่มเสยี่ ง มโี รคประจาตัว สามารถเขา้ สู่
แนวทางดแู ลบุคลากรของสถานศกึ ษา

3) จดั ใหม้ ีการจดั การความเครยี ด การฝกึ สติเป็นกจิ วัตรก่อนเร่มิ การเรยี นการสอน
เพือ่ ลดความวติ กกังวลต่อสถานการณท์ ต่ี ึงเครยี ด

19

กำรจัดกำรดำ้ นสขุ ภำพจติ ในสถำนกำรณโ์ ควดิ -19

สรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนทีด่ าเนินการในโรงเรียนแต่ละแหง่ เพิ่มข้ึน
โดย 5 ข้นั ตอนหลัก มีดงั นี้

1. กำรรจู้ กั นักเรียนเปน็ รำยบคุ คลดำเนินกำรได้โดย
1) ครูให้เวลาในการสร้างความสัมพันธ์ ทาความรจู้ กั นักเรียน ท้งั ระดับบุคคลและครอบครัว

สร้างความไว้วางใจ กบั นักเรียน เพอื่ พจิ ารณาความพร้อมของนกั เรยี นต่อการเรยี นรู้
2) ครูควรเปิดโอกาสใหต้ วั ท่านเองและนักเรยี นในห้องเรียน หรอื ช้นั เรียนได้เรยี นรูท้ กั ษะทาง

สงั คมกับเพ่ือนใหม่ ครูใหม่ ช้นั เรียนใหม่ โดยเว้นระยะห่างทางกายภาพเพ่ือป้องกนั การแพรก่ ระจาย
ของโรคตดิ ต่อ

3) ครูสงั เกตสภาวะอารมณ์ การปรับตวั ของเด็ก ทง้ั ทเ่ี กิดจากสถานการณโ์ รคระบาด และ
การเรยี นรู้ตามหลักสูตร โดยติดตามความรว่ มมือ ความรบั ผดิ ชอบของเด็ก ผา่ นการสังเกต การพูดคุย
การตรวจสอบผลงาน เพ่ือให้ไดข้ อ้ มลู เชิงประจกั ษ์

2. กำรคัดกรองนกั เรยี น
1) เม่ือครูสงั เกตความผดิ ปกติทางอารมณ์ พฤติกรรมหรอื สังคมของนักเรียนโดยใชเ้ คร่อื งมอื

ง่าย ๆ ในการคดั กรอง ปัญหา โดยเฉพาะปัญหาทางอารมณ์ท่จี าเป็นตอ้ งสอบถามจากนักเรยี นหรอื
ให้นกั เรียนประเมินตัวเอง

2) นอกจากปญั หาดา้ นอารมณ์ พฤติกรรม หรอื สังคมแลว้ ครูควรประเมนิ ความสามารถ
ดา้ นการส่ือสารตามระดับ พัฒนาการ หรือระดบั ความสามารถของนกั เรียนแตล่ ะคน เพ่อื พิจารณา
ชว่ ยเหลอื ใน ด้านความบกพร่องดา้ นการสอ่ื สาร หรอื การเขา้ ใจภาษาของนักเรยี น

3. กำรปอ้ งกันและแก้ไขปัญหำ ประกอบด้วย 2 เทคนิค หลัก คอื การให้คาปรึกษา และการจัด
กจิ กรรมเพอ่ื ป้องกันและแก้ไขปัญหา

1) เม่อื ครสู งั เกตเห็นความผิดปกติของนกั เรียน ประกอบการคดั กรองเพื่อคน้ หานักเรยี นกลมุ่
เสย่ี งหรือ มีปญั หาเพม่ิ เติมแล้ว ให้ครูใช้ทักษะการใหค้ าปรึกษาเพอื่ ช่วยเหลอื ด้านจิตใจแก่นักเรยี น
โดยให้ เวลาอยู่นักเรยี น คนน้ันอย่างสงบ รับฟังปญั หาและสนบั สนุนใหน้ กั เรียน มองหาแหลง่
ช่วยเหลอื ด้านจิตใจทีเ่ ขา้ ถึงง่าย

20

2) จัดกิจกรรมกับกลุม่ นักเรียน เพือ่ ช่วยใหเ้ กดิ การยอมรบั อารมณ์ท่เี กิดข้ึนในภาวะวกิ ฤติ
มบี ทสนทนาท่เี ปดิ กวา้ งสาหรับปัญหาความไม่สบายใจของทกุ คนในห้องเรียน เพ่ิมวิธกี ารสรา้ งสรรค์
ในการช่วยเหลอื รว่ มมือกนั และให้กาลังใจสาหรบั ผ้ทู าดมี ีความเอือ้ เฟื้อและเมตตาต่อผู้อ่ืน

3) ครใู หข้ ้อกาหนดกบั นักเรียนวา่ ขณะที่ต้องเรยี นรผู้ า่ นออนไลนเ์ พมิ่ ข้ึน อาจขยายเวลา
การอยหู่ น้าจอเพิ่มข้ึน แตเ่ มือ่ สถานการณ์กลับสู่ภาวะปกตริ ะยะเวลาหนา้ จอจะลดลงเท่าปกติ

4) ครแู ละพ่อแม่ใหค้ วามสาคัญกบั “กระบวนการ” ของการเรยี นรหู้ รอื การแก้ปัญหา
มากกวา่ ผลลัพธ์เพยี งอย่างเดียว เพอ่ื สรา้ งความกระตือรือร้นในการเรยี นรู้และใหค้ วามสาคัญกบั ความ
พยายามต่อ ความยากลาบากมากข้ึน

4. สง่ เสริมพัฒนำนกั เรียน ด้วย 4 เทคนคิ หลกั คือ กจิ กรรมโฮมรมู การเยย่ี มบา้ น การหารือ
ผ้ปู กครองชัน้ เรยี น และการจัดกิจกรรมทักษะชีวติ

1) การจดั กิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน ควรบรู ณาการองค์ความรูด้ า้ นสุขภาพกายและ
สุขภาพจติ เขา้ ด้วยกนั โดยครูสอ่ื สารเรอ่ื งความเครียดว่าเป็นปฏกิ ิรยิ า ปกตทิ ่เี กดิ ข้ึนไดใ้ นภาวะวกิ ฤติ
ท่ีมี การแพร่ระบาดของไวรัส โควดิ -19 ในเวลานี้ และนากระบวนการจดั การความเครยี ด การฝึกสติ
ให้กลมกลนื และเหมาะสมกับนกั เรยี นแต่ละวยั ร่วมกบั การฝกึ ทักษะชีวิตทีเ่ สริมสร้างความเขม้ แขง็
ทางใจ ให้กับนักเรยี น ได้แก่ ทกั ษะด้านอารมณส์ งั คมและความคิด

2) ประสานความรว่ มมือระหว่างโรงเรยี นและครอบครัวอย่างใกล้ชดิ เพ่ือสง่ ต่อข้อมลู สาคญั
ใหก้ ับผู้ปกครอง ในการดแู ลต่อเนอ่ื ง

5. กำรสง่ ต่อ ในกรณีท่ีครูพบปัญหาของนักเรียนท่ียากต่อการช่วยเหลือ ควรสง่ ตอ่ ใหผ้ ู้เชยี่ วชาญ
ได้ แก้ไขเยียวยาอยา่ งเหมาะสม

1) การส่งต่อภายในไปยังครูแนะแนว
ครูพยาบาลหรือนกั จิตวิทยาโรงเรียน

2) การส่งต่อภายนอกไปพบผู้เช่ยี วชาญ
จากหน่วยงาน สาธารณสุข

3) ใหข้ ้อมูลแหลง่ ช่วยเหลอื ด้านจิตใจ
ที่เข้าถึงง่าย ได้แก่ สายดว่ นกรมสขุ ภาพจิต 1323,
facebook สายด่วน สุขภาพจติ 1323,
www.Lovecarestation.com และแหลง่ อน่ื ๆ

21

บทท่ี 3
แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับสถำนศึกษำ กรณสี งสัยว่ำนกั เรียนหรอื บุคลำกรที่มภี ำวะเสีย่ งต่อ

กำรติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID – 19)

ในกรณที ี่โรงเรยี นพบว่ามีนักเรียน ครหู รือบุคลากรอ่ืน ๆ ในโรงเรยี นท่ีอยู่ ในกลุ่มเสี่ยง ใหโ้ รงเรยี น
ดาเนนิ การตามมาตรการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 กรณีเกิดการระบาดของกรมควบคมุ โรค
กระทรวงสาธารณสขุ ดังตอ่ ไปนี้

กรณเี กิดกำรระบำดในสถำนศกึ ษำ
เหตกุ ารณ์การระบาด หมายถึง เมอื่ พบผู้ป่วยยืนยนั อย่างน้อย 1 ราย ท่คี ิดว่าอาจมีการแพร่กระจาย
เช้อื ในสถานศึกษา
1. ผปู้ ว่ ยทเ่ี ข้าเกณฑ์ตอ้ งสอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ทม่ี ี ประวตั ไิ ข้
หรือวดั อณุ หภูมิกายไดต้ ั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซยี สข้ึนไป ร่วมกบั อาการทางเดินหายใจอย่างใด อย่างหนง่ึ
(ไอ นา้ มกู เจ็บคอ หายใจเรว็ หรอื หายใจเหนื่อยหรือหายใจลาบาก) และมีประวตั สิ มั ผัสใกลช้ ิดกับ ผปู้ ว่ ยยนื ยนั
ในชว่ ง 14 วันกอ่ นมีอาการ
2. ผปู้ ่วยยืนยนั หมายถึง ผ้ทู ่ีมผี ลตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร พบว่า ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
3. ผู้สมั ผสั ท่ีมีความเส่ยี งตอ่ การติดเชื้อสงู (High risk contact) หมายถงึ ผู้สมั ผสั ใกล้ชดิ
ตามลกั ษณะขอ้ ใดข้อหนง่ึ ดังนี้

- ผู้ทีเ่ รยี นร่วมหอ้ ง ผูท้ นี่ อนร่วมหอ้ งหรือเพ่ือนสนิทที่คลุกคลกี ัน
- ผู้สมั ผัสใกล้ชิดหรอื มกี ารพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาทีหรือถกู ไอ จาม
รดจากผู้ปว่ ย โดยไมม่ ีการปอ้ งกัน เช่น ไม่สวมหน้ากากอนามัย
- ผู้ทอ่ี ยู่ในบรเิ วณทป่ี ดิ ไม่มีการถา่ ยเทอากาศ เชน่ ในรถปรบั อากาศ ในหอ้ งปรบั อากาศ
รว่ มกบั ผู้ปว่ ยและอยหู่ ่างจากผ้ปู ่วยไม่เกนิ 1 เมตร นานกวา่ 15 นาทโี ดยไม่มีการป้องกนั
4. ผู้สัมผัสที่มีความเสีย่ งต่อการติดเชื้อตา่ (Low risk contact) หมายถงึ ผู้ทท่ี ากิจกรรม อ่นื ๆ
ร่วมกับผูป้ ว่ ย แตไ่ มเ่ ขา้ เกณฑ์ความเสย่ี ง
5. ผู้ไม่ได้สมั ผสั หมายถึง ผทู้ ่ีอยู่ในสถานศกึ ษาแต่ไมม่ ีกจิ กรรมหรือพบผปู้ ว่ ยในชว่ ง 14 วนั ก่อนป่วย
6. ผ้ทู ีม่ ีภาวะเสี่ยงต่อการปว่ ยรนุ แรง (Underlying condition) หมายถึง ผ้ทู มี่ ีภูมิต้านทาน ต่า หรือ
มโี รคประจาตวั หรอื ผสู้ ูงอายุ กจิ กรรมการเฝา้ ระวังกอ่ นการระบาด
1) ใหม้ กี ารตรวจสอบการลาป่วยของนกั เรียนและบุคลากรในสถานศึกษา หากพบวา่ ป่วย
มากผดิ ปกติ ให้รายงานเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ ในพื้นทที่ ราบ
2) ให้มกี ารคัดกรองไขบ้ รเิ วณทางเข้าสถานศกึ ษาทุกวัน หากพบวา่ มเี ด็กท่ีมีไขจ้ านวนมาก
ผดิ ปกตใิ ห้แจ้งเจ้าหน้าที่
3) หอ้ งพยาบาลให้มีการบนั ทึกรายชอื่ และอาการของนักเรียนทีป่ ่วย

22

กจิ กรรมเม่ือมกี ำรระบำด
1) ปดิ สถานศึกษา/ชัน้ เรียน เพือ่ ทาความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วัน โดย ผู้อานวยการสถานศกึ ษา
มอี านาจสง่ั ปดิ ด้วยเหตุพเิ ศษ ไมเ่ กนิ 7 วนั ผูอ้ านวยการเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ไม่เกิน 15 วัน เลขาธกิ าร
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ไมเ่ กนิ 30 วัน และรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร และ
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการสั่งปิดได้ตามความเหมาะสม
2) สารวจคัดกรองนกั เรยี นและบุคลากรทุกคน บรเิ วณทางเขา้ สถานศึกษา โดยใช้เครื่องวัด อณุ หภูมิ
แบบมือถอื (Handheld thermometer) และดาเนินการตามแผนผัง ตาม QR Code ที่ปรากฏ ด้านล่าง •
หากพบผเู้ ข้าเกณฑส์ อบสวน (PUI) ให้เก็บตวั อย่าง ATK หรอื NP swab สง่ ตรวจหาเช้อื
3) ผู้สมั ผสั กลุม่ High risk ใหด้ าเนินการเกบ็ ตวั อย่าง ATK หรอื NP swab สง่ ตรวจหาเชอ้ื
4) ผสู้ มั ผัสกลมุ่ Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอย่าง แตใ่ ห้แยกตัวอยทู่ บี่ ้านและรายงานอาการ
(Self-report) ทกุ วัน หากพบว่ามีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ให้ดาเนินการแบบผปู้ ่วย PUI
5) เม่อื เปิดเทอม ให้ดาเนินการเกบ็ ตัวอย่าง ATK นกั เรยี น 100 % ให้มีการคดั กรองไข้ทุกวัน หากพบ
มอี าการเข้าไดก้ ับ PUI ใหเ้ ก็บตัวอยา่ งและ พจิ ารณาความเสี่ยงเพื่อตัดสินใจวา่ จะใหผ้ ปู้ ว่ ยดูอาการทีบ่ ้านหรอื
ต้องแยกตัวในโรงพยาบาล
6) ทีมสอบสวนโรคทาการตดิ ตามผสู้ ัมผัสทกุ วนั จนครบกาหนดการป้องกนั การแพร่ระบาดของ
โรค COVID-19 กรณีเกิดการระบาด 22 ขน้ั ตอนการคัดกรองนกั เรียน และเจา้ หน้าที่ในสถานศกึ ษา

กำรกำกับ ตดิ ตำม และรำยงำนผล สถานศกึ ษามีการกากับตดิ ตาม ทบทวนการดาเนนิ งาน ให้
สอดคลอ้ งตามแนวปฏบิ ัติ สถานการณ์ และบริบทพ้นื ท่ี อย่างตอ่ เน่ือง กรณพี บผมู้ ีอาการเสีย่ งหรอื ป่วย
ต้องรีบรายงาน ต่อผู้บรหิ าร และแจ้ง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทนั ที

23

แผนเผชญิ เหตุ โรงเรยี นบำ้ นซับเจรญิ สุข
มำตรกำรปอ้ งกันตำมระดบั กำรแพรร่ ะบำดโควิด – 19

ระดบั กำรแพร่ระบำด มำตรกำรป้องกนั

ในชุมชน ใน คร/ู นักเรียน สถำนศกึ ษำ
สถำนศึกษำ

ไมม่ ีผ้ตู ดิ ไมพ่ บผู้ตดิ เชอื้ 1. ปฏิบัติตามมาตรการ DMHT-RC 1. เปิดเรยี น On-Site
เชื้อ ยืนยนั 2. ปฏบิ ัติตามมาตรการ SSET-CQ 2. ปฏบิ ตั ิตาม TST Plus
3. ประเมิน TST Plus เปน็ ประจา 3. เฝา้ ระวงั คัดกรอง

ไม่พบผู้ติดเช้ือ 1. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ DMHT-RC 1. เปดิ เรยี น On-Site
ยนื ยนั 2. ปฏิบตั ิตามมาตรการ SSET-CQ 2. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ TSC Plus
3. ประเมนิ TST Plus เป็นประจา 3. เฝ้าระวงั คดั กรอง

มีผู้ตดิ เช้ือ พบผ้ตู ดิ เชื้อ 1. ปฏิบตั ิเขม้ ตาม DMHT-RC 1. ปิดหอ้ งเรียนท่พี บผู้ติดเชื้อ 3 วนั เพอ่ื ทาความ
ประปราย ยนื ยนั เน้นใส่หน้ากากเว้นระยะห่างระหวา่ ง สะอาด
บคุ คล 1 ถงึ 2 เมตร 2. เปดิ ห้องเรียนอนื่ ๆ On-Site ไดต้ ามปกติ
ในหอ้ งเรียน 2. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ SSET-CQ 3. ส่มุ ตรวจเฝ้าระหว่าง sentinel surveillance
1 รายข้ึนไป 3. ประเมิน TST Plus ทกุ วนั ทกุ 2 ครั้งตอ่ สปั ดาห์
กรณี High risk contact : 4. ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ TSC Plus
- งดเรยี น on-site และกักตวั ที่บ้าน
14 วัน
กรณี High risk contact :
- ใหส้ งั เกตอาการของตนเองและปฏิบตั ิ
ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

1. ปฏบิ ัติเขม้ ตาม DMHT-RC 1. ปดิ หอ้ งเรียนทพี่ บผูต้ ิดเชื้อ 3 วันเพื่อทาความ
พบผู้ติดเช้อื เน้นใส่หนา้ กากเวน้ ระยะห่างระหวา่ ง สะอาดหรือตามอานาจการพิจารณาของ
ยนื ยันมากกว่า บคุ คล 1 ถึง 2 เมตร กระทรวงศึกษาธกิ าร
1 ห้องเรียน 2. ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ SSET-CQ 2. ปฏบิ ัตเิ ข้มตามมาตรการ TSC Plus

3. ประเมนิ TST Plus ทุกวนั

24

มผี ู้ติดเชือ้ 1. ปฏิบัติเขม้ ตาม DMHT-RC 1. พจิ ารณาการเปดิ เรยี น On-Site โดยเข้ม
เปน็ กลุม่ เน้นใสห่ น้ากากเว้นระยะห่างระหวา่ ง ตามมาตรการทุกมติ ิ
บุคคล 1 ถึง 2 เมตร 2. สาหรับพ้นื ทร่ี ะบาดเป็นกลมุ่ ก้อน พจิ ารณาปิดโดย
ก้อน 2. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ SSET-CQ คณะกรรมการควบคุมการแพรร่ ะบาด ระดบั พ้ืนที่
3. ประเมิน TST Plus ทกุ วนั หากมีหลกั ฐานและความจาเป็น
มีการแพร่ กรณี High risk contact : 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวัง sentinel surveillance
ระบาดใน - งดเรียน on-site และกักตัวท่บี า้ น ทกุ 2 สปั ดาห์
ชมุ ชน 14 วนั
กรณี High risk contact :
- ให้สังเกตอาการของตนเองและปฏิบัติ
ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

1. ปฏิบตั ิเข้มตาม DMHT-RC 1. พิจารณาเปิดเรยี น On-Site โดยเข้มตามมาตรการ
เนน้ ใสห่ น้ากากเวน้ ระยะห่างระหวา่ ง ทุกมิติ
บุคคล 1 ถึง 2 เมตร 2. สาหรบั พนื้ ทร่ี ะบาดแบบกลุม่ กอ้ นพจิ ารณาปิดตัว
2. ปฏิบตั ิเขม้ ตามมาตรการ SSET-CQ คณะกรรมการควบคุมการแพร่ระบาดระดับพ้ืนที่
3. ประเมิน TST Plus ทุกวัน หากมีหลักฐานและความจาเป็น
3. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง sentinel surveillance
ทุก 2 สัปดาห์

กำรจัดรปู แบบหอ้ งเรียนในสถำนกำรณ์ กำรระบำดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19)
ภำคเรียนท่ี 2 ปกี ำรศกึ ษำ 2564

ระดบั ชัน้ จำนวนนกั เรียน (คน) จดั รูปแบบกำรสอน

อนุบาล 2 10 เรียน on site วนั จันทร์-ศุกร์
อนบุ าล 3 8 เรยี น on site วนั จนั ทร์-ศุกร์
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 6 เรียน on site วันจนั ทร์-ศกุ ร์
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 6 เรียน on site วนั จนั ทร์-ศกุ ร์
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 7 เรยี น on site วันจันทร์-ศกุ ร์
ประถมศึกษาปที ่ี 4 10 เรยี น on site วนั จันทร์-ศุกร์
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 8 เรียน on site วนั จันทร์-ศกุ ร์
ประถมศึกษาปีที่ 6 6 เรียน on site วันจนั ทร์-ศกุ ร์

25

ภาคผนวก

คำส่งั โรงเรียนบ้ำนซับเจริญสุข

ที่ ๒๙/๒๕๖๔

เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการเตรียมการเปิดภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๔ และจดั ทาแผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

เพ่ือเปน็ การเตรยี มการเปดิ ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และจัดทาแผนเผชญิ เหตรุ องรับ

การเปดิ โรงเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ตามมาตรการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื

ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) สาหรบั นักเรยี น ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองนกั เรยี น

โรงเรียนบ้านซับเจรญิ สุข สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓ ซงึ่ ต้องดาเนนิ การตาม

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง หลักเกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนสาหรบั โรงเรยี นพักนอน และโรงเรยี นไป-กลบั

ที่มีความพร้อมดาเนนิ การตามแนวทางดาเนินการของสานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และสานกั งาน

เขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๓ โรงเรยี นบา้ นซบั เจรญิ สุข จงึ ไดด้ าเนนิ การจดั ทาแผนเผชญิ เหตุ

รองรบั การเปิดโรงเรียน ตามมาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙)

ขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางการป้องกันและรองรับการเปิดโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั

โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) สาหรบั นกั เรยี น ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผปู้ กครองนกั เรยี นโรงเรียน

บ้านซับเจรญิ สขุ ใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นระบบอย่างชัดเจน

อาศัยอานาจตามมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงแต่งต้ังคณะกรรมการ ดงั นี้

๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ประกอบด้วย

๑. นายอภิชยั สรุ เสน ประธานกรรมการ

๒. นายมานพ รนั คาภา รองประธานกรรมการ

๓. นางสปุ ราณี สงคราม กรรมการ

๔. นายวทิ ย์ กญั ญาสุด กรรมการ

๕. นางศศิธร กัญญาสุด กรรมการ

๖. นางสาวนดิ ชอบหาญ กรรมการ

๗. นางสาวทัศนยี ์ ทา้ วพยุง กรรมการและเลขานุการ

มีหน้ำท่ี กาหนดมาตรการและนโยบาย วตั ถุประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชมุ คณะกรรมการ

ใหค้ าปรกึ ษา เสนอแนะ กากับ ติดตามการดาเนนิ งานของโรงเรียนใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

๒. คณะกรรมกำรดำเนนิ งำน ประกอบด้วย

๒.๑ คณะกรรมกำรประเมิน Thai stop Covid Plus (TSC+)

๑) นายอภชิ ัย สุรเสน ผูอ้ านวยการโรงเรยี น

๒) นายมานพ รนั คาภา ประธานกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

๓) นางสาวภควรรณ วเิ ศษคร้อ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ โรงพยาบาลซับใหญ่

๔) นางไพวลั ย์ ท่ัวไธสง ผู้ใหญ่บ้านซับเจรญิ สุข หมู่ท่ี ๕

๕) นางสาวทัศนยี ์ ทา้ วพยงุ ครผู ูร้ ับผดิ ชอบระบบดูแล ฯ

มีหน้ำท่ี ประเมนิ ตนเองสาหรับสถานศกึ ษาในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นเพ่ือเฝา้ ระวัง
และปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ตามแบบกรมอนามยั และ
รายงานผลการประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน เพอ่ื เฝา้ ระวังและ
ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

๒.๒ คณะกรรมกำรประจำจุดคดั กรอง (Screening zone)

วนั จันทร์ นางสาวทศั นีย์ ท้าวพยงุ

วนั อังคาร นางศศิธร กญั ญาสุด

วนั พุธ นายวิทย์ กัญญาสุด

วนั พฤหสั บดี นางสปุ ราณี สงคราม

วันศุกร์ นางสปุ ราณี สงคราม

มีหน้ำท่ี คัดกรองนักเรยี น ครู บุคลากร ผ้ปู กครองนกั เรียน และผูม้ าติดต่อราชการรบั -ส่งสง่ิ ของ
รับ-ส่งอาหาร รบั -สง่ อาหารเสรมิ (นม) ที่เขา้ มาในโรงเรยี น

๒.๓ คณะกรรมกำรดูแลสถำนท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation)

วนั จนั ทร์ นางสาวทศั นีย์ ทา้ วพยงุ

วนั องั คาร นางศศธิ ร กัญญาสดุ

วนั พธุ นายวทิ ย์ กญั ญาสุด

วันพฤหัสบดี นางสุปราณี สงคราม

วนั ศกุ ร์ นางสุปราณี สงคราม

มีหน้ำที่ ดูแลรักษาเบอ้ื งต้น กรณีมนี ักเรียนครูหรอื บุคลากรในโรงเรยี นตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
หรอื มผี ลตรวจ ATK เป็นบวกและประสานสถานพยาบาลเครอื ข่ายในพ้นื ทด่ี ูแลอย่างใกลช้ ดิ

๒.๔ คณะกรรมกำรดแู ลอำคำรสถำนทแี่ ละจดุ ลำ้ งมือ

๑) อาคารสานักงาน นายวิทย์ กัญญาสุด นางศศิธร กญั ญาสดุ
นางสาวทศั นีย์ ทา้ วพยุง
๒) อาคารห้องสมุด นางสุปราณี สงคราม
นางสาวเจยี๊ บ แกว้ ชนนิ ทร์
๓) อาคารอนุบาล นางสาวสกุ ญั ญา พวงสนั เทยี ะ

๔) อาคารโรงอาหาร นางสาวจนั ทร์เพ็ญ โพธเิ์ พช็ ร

มีหน้ำที่ ดูแลอาคารสถานที่ จดุ บริการนา้ ดื่ม ให้มคี วามสะอาด ปลอดภยั ดูแลปา้ ยให้ความรู้
ตามมาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ดแู ลจดุ ลา้ งมอื ให้พร้อม
ใชง้ าน และจดั ใหม้ สี บู่ เจลฆา่ เชื้ออยา่ งเพียงพอ

๒.๕ คณะกรรมกำรดูแลกำรเดินทำงระหว่ำงกลับบ้ำน

วนั จนั ทร์ นางสาวทัศนยี ์ ท้าวพยงุ

วันอังคาร นางศศธิ ร กญั ญาสดุ

วนั พธุ นายวิทย์ กญั ญาสดุ

วนั พฤหสั บดี นางสปุ ราณี สงคราม

วนั ศกุ ร์ นางสุปราณี สงคราม

มหี นำ้ ที่ ควบคุมดูแล การเดินทางระหว่างบ้านกบั โรงเรียนของนกั เรยี น โดยปฏบิ ัติตามมาตรการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) อยา่ งเขม้ งวด หลีกเลี่ยงการเขา้ ไป
สัมผสั ในพนื้ ทีต่ า่ ง ๆ ตลอดการเดินทาง

๒.๖ นักเรยี นแกนนำด้ำนสุขภำพ

๑) เดก็ ชายนพรตั น์ ยางคา นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑
นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑
๒) เด็กหญงิ ศิวนาฏ ขอมีกลาง นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๓) เด็กชายพิชญะ ปาณศรี นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓
๔) เด็กหญงิ เพชรไพริน ชัยชาญ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔
๕) เดก็ ชายนชิ คณุ ปานนอก นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕
๖) เดก็ หญงิ กันญานุช ขอมีกลาง นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖
นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
๗) เด็กชายกฤษณพล แกว้ ชนินทร์

๘) เด็กหญิงสดุ ารตั น์ ทหารไทย

๙) เด็กชายอนาวนิ พิมลนอก

๑๐) เดก็ หญงิ ชลธชิ า ปะนามะโก

๑๑) เดก็ ชายชาครติ ศรียาลกั ษณ์

๑๒) เดก็ หญงิ สุดารตั น์ ลีลาน้อย

ใหผ้ ทู้ ่ไี ด้รบั การแต่งต้ัง ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีอย่างเต็มกาลงั ความสามารถตามภาระหนา้ ที่ เพ่อื ใหเ้ กดิ
ประโยชนส์ งู สุดแกท่ างราชการตอ่ ไป

ท้งั น้ีต้ังแตบ่ ดั น้ีเป็นต้นไป
สัง่ ณ วนั ท่ี ๑๙ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ษาราชการแทน
(นายอภชิ ยั สุรเสน)
ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นซับเจริญสุข











ใบรบั รองผา่ นการประเมินความพร้อม TSC+

ภาพเกยี รตบิ ตั ร

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+

ใบรบั รองผา่ นการประเมนิ ความพรอ้ ม TSC+


Click to View FlipBook Version