The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาวิทยาการคำนวณ รหัส ว30118 กลุ่ม3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-19 12:28:31

วิชาวิทยาการคำนวณ รหัส ว30118 กลุ่ม3

วิชาวิทยาการคำนวณ รหัส ว30118 กลุ่ม3

รายงาน
วชิ าวทิ ยาการคานวณ

รหัส ว30118

จัดทาโดย
1. นางสาว ทรรษอร ทองมาก เลขที่ 22
2. นางสาว อณชั ชา รักษาทพั เลขที่ 41
3. นางสาว ศศิธร สมศรี เลขท่ี 44

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/7

เสนอ
ครูจริ ายุ ทองดี

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาการคานวณ รหัส ว30118
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอดุ มศึกษาน้อมเกล้า
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
สังกดั กระทรวงศึกษาธิการ



คานา

รายงานฉบับนเี้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาการคานวณรหัส ว30118 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 5
โดยมีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาเกย่ี วกบั หลกั การเขยี นโปรแกรม ข้นั ตอนการเขียนโปรแกรม
โครงสร้างภาษาคอมพวิ เตอร์ กระบวนการเขียนโปรแกรม

ในการจดั ทารายงานประกอบสื่อการเรียนรู้ในคร้ังนี้ ผู้จัดทาขอขอบคุณ ครูจิรายุ ทองดี
ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา และเพ่ือนๆ ทใ่ี ห้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด
คณะผู้จัดทาหวงั เป็ นอย่างยง่ิ ว่า
รายงานฉบบั นีจ้ ะอานวยประโยชน์ต่อผ้ทู สี่ นใจและศึกษาเนื้อหาเพมิ่ เติม และพฒั นาศักยภาพ
และบรรลตุ ามเป้าหมาย

นางสาว ศศิธร สมศรี
ผ้จู ดั ทา

สารบญั ข

เร่ือง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
1. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 1
2. กระบวนการเทคโนโลยี 6
3. พื้นฐานของภาษาซี 13
4. เทคโนโลยีประยกุ ต์ 20
5. ภาคผนวก 27

1

วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์

วิทยาการคอมพวิ เตอร์ หรือ วทิ ยาศาสตร์คอมพวิ เตอร์ (องั กฤษ: computer science หรือ
informatics) เป็นศาสตร์เก่ียวกบั การศึกษาคน้ ควา้ ทฤษฎีการคานวณสาหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎี
การประมวลผลสารสนเทศขอ้ มลู ท้งั ดา้ นซอฟตแ์ วร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือขา่ ย วิทยาการคอมพวิ เตอร์มี
ความเกี่ยวโยงกบั ทฤษฎีการคานวณ อลั กอริทึม ปัญหาดา้ นการคานวณ การออกแบบฮาร์ดแวร์
ซอฟตแ์ วร์ และ แอปพลิเคชนั วิทยาการคอมพวิ เตอร์ศึกษาเกี่ยวกบั กระบวนการประมวลผลขอ้ มลู ท้งั
ในส่ิงมีชีวิตตามกระบวนการธรรมชาติ และ ระบบคอมพวิ เตอร์ท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน เช่น การสื่อสาร การ
ควบคุม การรับรู้ การเรียนรู้ และ สติปัญญา โดยเฉพาะในคอมพวิ เตอร์

2

การนาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั

ปัจจุบนั คอมพวิ เตอร์มีบทบาทอยา่ งมากในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั ดงั น้ี

1. ด้านธุรกจิ การส่ือสารและธุรกิจ การเลือกซ้ือสินคา้ เพราะสะดวก รวดเร็ว ทาใหธ้ ุรกิจดาเนินไป
อยา่ งรวดเร็ว คล่องตวั และประหยดั พลงั งานดา้ นบุคลากร

2. ด้านการศึกษา ใชพ้ มิ พร์ ายงาน นาเสนอผลงาน ทาสื่อการเรียนการสอน สามารถเขา้ เรียนวชิ าตา่ งๆ
ผา่ นอินเทอร์เน็ต บางหลกั สูตรเรียนฟรี บางหลกั สูตรมีคา่ ใชจ้ ่าย การสืบคน้ ขอ้ มลู ทาไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็วท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศ คน้ หาบทความ ข่าวสาร รูปภาพต่างๆ

3. ด้านความบนั เทงิ สามารถอ่านหนงั สือ ฟังเพลง ชมรายการต่างๆ ของสถานีโทรทศั น์ และเล่นเกม
เพอื่ การศึกษาหาความรู้ ฝึกทกั ษะดา้ นตา่ งๆ และผอ่ นคลายความเครียด

4. ด้านอตุ สาหกรรม มีการนาคอมพวิ เตอร์เขา้ มาใชใ้ นกิจการโรงงานอุตสาหกรรมตา่ งๆ มีการคิดคน้
นวตั กรรมใหมๆ่ ของผผู้ ลิตหุ่นยนตย์ กั ษใ์ หญจ่ ากญี่ป่ นุ ผลิตหุ่นยนตอ์ อกมา เพื่อใชท้ างานแทน
มนุษยอ์ ีกดว้ ย

3

ส่ือดจิ ิทัลในชีวิตประจาวนั

1. ข้อความ (Text) เป็นส่วนที่เก่ียวกบั เน้ือหาของมลั ติมีเดีย ใชแ้ สดงรายละเอียด หรือเน้ือหาของเร่ืองท่ี
นาเสนอ ถือวา่ เป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐานที่สาคญั ของมลั ติมีเดีย ระบบมลั ติมีเดียท่ีนาเสนอผา่ นจอภาพ
ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตวั อกั ษรใหเ้ ลือกมากมายตามความตอ้ งการ
แลว้ ยงั สามารถกาหนดลกั ษณะของการปฏิสัมพนั ธ์ (โตต้ อบ)ในระหวา่ งการนาเสนอไดอ้ ีกดว้ ย ซ่ึง
ปัจจุบนั มีหลายรูปแบบ ไดแ้ ก่
1.1 ข้อความทีไ่ ด้จากการพมิ พ์ เป็นขอ้ ความปกติท่ีพบไดท้ ว่ั ไป ไดจ้ ากการพิมพด์ ว้ ย โปรแกรม
ประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตวั อกั ษรแตล่ ะตวั
เกบ็ ในรหสั เช่น ASCII
1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นขอ้ ความในลกั ษณะภาพ หรือ Image ไดจ้ ากการนาเอกสารที่พิมพไ์ ว้
แลว้ (เอกสารตน้ ฉบบั ) มาทาการสแกน ดว้ ยเคร่ืองสแกนเนอร์ (Scanner) ซ่ึงจะไดผ้ ลออกมาเป็นภาพ
ปัจจุบนั สามารถแปลงขอ้ ความภาพ เป็นขอ้ ความปกติได้ โดยอาศยั โปรแกรม OCR ขอ้ ความ
อิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นขอ้ ความท่ีพฒั นาใหอ้ ยใู่ นรูปของส่ือ ท่ีใชป้ ระมวลผลได้
1.3 ข้อความอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นขอ้ ความท่ีพฒั นาใหอ้ ยใู่ นรูปของส่ือ ท่ีใชป้ ระมวลผลได้
1.4 ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ (HyperText) เป็นรูปแบบของขอ้ ความ ที่ไดร้ ับความนิยมสูงมาก ใน
ปัจจุบนั โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของเอกสารเวบ็ เนื่องจากสามารถใชเ้ ทคนิค การลิงค์
หรือเชื่อมขอ้ ความ ไปยงั ขอ้ ความ หรือจุดอื่นๆ ได้

4

2. ภาพนง่ิ (Still Image) เป็นภาพท่ีไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถา่ ย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เป็น
ตน้ ภาพน่ิงนบั วา่ มีบทบาทต่อระบบงานมลั ติมีเดียมากกวา่ ขอ้ ความหรือตวั อกั ษร เนื่องจากภาพจะ
ใหผ้ ลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ดว้ ยการมองเห็นไดด้ ีกวา่ นอกจากน้ียงั สามารถถ่ายทอดความหมายได้
ลึกซ่ึงมากกวา่ ขอ้ ความหรือตวั อกั ษรซ่ึงขอ้ ความหรือตวั อกั ษรจะมีขอ้ จากดั ทางดา้ นความแตกตา่ งของ
แตล่ ะภาษา แตภ่ าพน้นั สามารถส่ือความหมายไดก้ บั ทุกชนชาติ ภาพน่ิงมกั จะแสดงอยบู่ นสื่อชนิดต่างๆ
เช่น โทรทศั น์ หนงั สือพิมพห์ รือวารสารวชิ าการ เป็ นตน้
3.ภาพเคล่ือนไหว(Animation) ภาพกราฟิ กที่มีการเคล่ือนไหวเพ่อื แสดงข้นั ตอนหรือปรากฏการณ์
ตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง เช่น การเคล่ือนที่ของลกู สูบของเครื่องยนต์ เป็ นตน้ ท้งั น้ีเพือ่ สร้างสรรค์
จินตนาการใหเ้ กิดแรงจูงใจจากผชู้ มการผลิตภาพเคลื่อนไหวจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมทีคุณสมบตั ิเฉพาะ
ทางซ่ึงอาจมีปัญหาเกิดข้ึนอยบู่ า้ งเกี่ยวกบั ขนาดของไฟลท์ ี่ตอ้ งใชพ้ ้นื ท่ีในการจดั เกบ็ มากกวา่ ภาพน่ิง
หลายเท่า
4. เสียง (Audio) ถกู จดั เก็บอยใู่ นรูปของสญั ญาณดิจิตอลซ่ึงสามารถเลน่ ซา้ กลบั ไปกลบั มาได้ โดยใช้
โปรแกรมท่ีออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานดา้ นเสียง หากในงานมลั ติมีเดียมีการใชเ้ สียงท่ีเร้าใจ
และสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาใน การนาเสนอ จะช่วยใหร้ ะบบมลั ติมีเดียน้นั เกิดความสมบูรณ์แบบมาก
ยงิ่ ข้ึน นอกจากน้ียงั ช่วยสร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเร่ืองราวต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ท้งั น้ี
เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผใู้ ชม้ ากกวา่ ขอ้ ความหรือภาพนิ่งดงั น้นั เสียงจึงเป็นองคป์ ระกอบที่จาเป็น
สาหรับมลั ติมีเดียซ่ึงสามารถนาเขา้ เสียงผา่ นทางไมโครโฟน แผน่ ซีดีดีวดี ี เทป และวิทยุ เป็นตน้
5. วีดโี อ (Video) เป็นองคป์ ระกอบของมลั ติมีเดียท่ีมีความสาคญั เป็นอยา่ งมาก เนื่องจากวดิ ีโอในระบบ
ดิจิตอล สามารถ นาเสนอขอ้ ความหรือรูปภาพ (ภาพน่ิงหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกบั เสียงได้
สมบรู ณ์มากกวา่ องคป์ ระกอบชนิดอื่นๆ

5

เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology) คือ การนาเอาเทคโนโลยมี าใชส้ ร้าง
มูลค่าเพมิ่ ใหก้ บั สารสนเทศ ทาใหส้ ารสนเทศมีประโยชน์ และใชง้ านไดก้ วา้ งขวางมากข้ึน
เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือ ไอที คือการประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจดั เกบ็
คน้ หา ส่งผา่ น และจดั ดาเนินการขอ้ มูล ซ่ึงมกั เก่ียวขอ้ งกบั ธุรกิจหน่ึงหรือองคก์ รอื่น ๆ ศพั ทน์ ้ีโดยปกติ
ก็ใชแ้ ทนความหมายของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และยงั รวมไปถึงเทคโนโลยี
การกระจายสารสนเทศอยา่ งอ่ืนดว้ ย เช่น โทรทศั นแ์ ละโทรศพั ท์ อุตสาหกรรมหลายอยา่ งเก่ียวขอ้ งกบั
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตวั อยา่ งเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ อิเลก็ ทรอนิกส์ อุปกรณ์ก่ึงตวั นา อินเทอร์เน็ต
อุปกรณ์โทรคมนาคม การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ และบริการทางคอมพวิ เตอร์

6

กระบวนการเทคโนโลยี

ในชีวิตประจาวนั ของมนุษยม์ ีกิจกรรมตา่ งๆ เกิดข้ึนมากมายตามเง่ือนไขและปัจจยั ในการ
ดารงชีวิตของแต่ละคน ทาใหบ้ างคร้ังมนุษยต์ อ้ งพบเจอกบั ปัญหาหรือความตอ้ งการท่ีจะทาใหก้ าร
ดารงชีวติ ดีข้ึน เราเรียกวา่ “สถานการณ์เทคโนโลยี การแกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้ งการที่พบใน
สถานการณ์เทคโนโลยี จะตอ้ งใชท้ รัพยากร ความรู้และทกั ษะตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง จึงจาเป็นตอ้ งมีวิธีการ
หรือกระบวนการทางานในการแกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้ งการอยา่ งเป็นข้นั ตอนที่ชดั เจน ซ่ึงเรียก
กระบวนการน้นั วา่ “กระบวนการเทคโนโลย”ี

กระบวนการเทคโนโลยมี กี ขี่ ้นั ตอน

1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identify the problem)

2. รวบรวมข้อมูล(Information gathering)

3. เลือกวธิ ีการ (Selection)

4. ออกแบบและปฏบิ ัติการ (Design and making)

5. ทดสอบ (Testing)

6. ปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement)

7. ประเมนิ ผล (Assessment)

7

การจัดการข้อมูล

การจดั การการข้อมูล คือ การบริหารการจดั เกบ็ ขอ้ มูล การประมวลขอ้ มูลใหไ้ ดม้ าซ่ึงขอ้ มลู ท่ีมี
ประโยชน์ท่ีพร้อมจะสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นทนั ทีการจดั การขอ้ มลู จะเกิดประโยชน์สูงสุด
หรือประสิทธิภาพสูงสุดก็ต่อเมื่อผใู้ ชข้ อ้ มลู สามารถใชข้ อ้ มูลที่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และ
เป็นกลางมากที่สุด เพ่ือท่ีจะไดน้ าขอ้ มูลเหลา่ น้นั มาช่วยในการตดั สินใจหรือนาไปใชป้ ระโยชน์อ่ืนๆ
ตอ่ ไปในปัจจุบนั น้ีขอ้ มูลตา่ งๆไดถ้ กู จดั การไวอ้ ยา่ งเป็นระเบียบ โดยเก็บไวใ้ นสิ่งที่เรียนวา่ แฟ้ม

8

หลกั ในการจดการข้อมูล

1.การเข้าถงึ ข้อมูล (DATA ACCESS)
-ความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มลู ไดง้ ่าย รวดเร็ว และถกู ตอ้ ง

2.ความปลอดภยั ของข้อมูล (DATA SECURITY)
-ขอ้ มูลท่ีจดั เก็บไวจ้ ะตอ้ งมีระบบรักษาความปลอดภยั เพอ่ื งป้องกนั การจารกรรมขอ้ มลู

3.การแก้ไขข้อมูล (DATA EDIT)
-ความสามาถในการเปล่ียนแปลง แกไ้ ขในอนาคตได้ ท้งั น้ีแผนท่ีวางไวอ้ าจจะตอ้ งมีการ
เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์จึงตอ้ งมีการจดั ระเบียบขอ้ มลู

4.การปรับปรุงข้อมูล (DATA UPDATE)

-ขอ้ มูลท่ีจดั เก็บอยอู่ าจจะมรการจดั แบ่งเป็นส่วนหรือสร้างเป็นตาราง เพอ่ื งา่ ยแก่การปรับปรุง
ขอ้ มูล

วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั การข้อมูล

– การเก็บขอ้ มลู เพ่อื ใหส้ ามารถนากลบั มาใชไ้ ดใ้ นภายหลงั
– การจดั ขอ้ มูลใหอ้ ยใู่ นรูปแบบท่ีสามารถเรียกใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
– การปรับปรุงขอ้ มลู ใหม้ ีความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์อยเู่ สมอ
– การปกป้องขอ้ มูล จากการทาลาย ลกั ลอบใช้ หรือแกไ้ ขโดยมิชอบ

9

ประเภทข้อมูล

สามารถแบ่งประเภทขอ้ มลู ไดห้ ลายรูปแบบข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการ ลกั ษณะของขอ้ มูลท่ีนาไปใชแ้ ละ
เกณฑท์ ี่นามาพจิ ารณา

1. การแบ่งข้อมูลตามลกั ษณะของข้อมูล เป็นการแบ่งขอ้ มูลข้นั พ้ืนฐานโดยพิจารณาจากการรับขอ้ มูล
ของประสาทสัมผสั (Sense) ของร่างกาย ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ภาพที่ไดร้ ับจากการมองเห็นดว้ ยดวงตา ขอ้ มลู
เสียงที่ไดร้ ับจากการฟังดว้ ยหู ขอ้ มลู กลิ่นที่ไดร้ ับจากการสูดดมดว้ ยจมกู ขอ้ มูลรสชาติที่ไดร้ ับจากการ
รับรสชาติดว้ ยลิน้ และขอ้ มลู สมั ผสั ท่ีไดร้ ับจากความรู้สึกดว้ ยผวิ หนงั

2. การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลทไี่ ด้รับ โดยพิจารณาจากลกั ษณะของที่มาหรือการไดร้ ับขอ้ มลู

- ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากจุดกาเนิดของขอ้ มูลน้นั ๆ เป็นการเกบ็ รวบรวมหรือบนั ทึกจาก
แหล่งขอ้ มลู โดยตรงดว้ ยวิธีการตา่ งๆ เช่น การสอบถาม การสมั ภาษณ์ การสารวจ การจดบนั ทึก
ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยตี า่ งๆ ซ่ึงขอ้ มูลปฐมภูมิจดั เป็นขอ้ มูลท่ีมีความน่าเชื่อถือมากท่ีสุด ตวั อยา่ ง
ขอ้ มลู ปฐมภูมิ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู การมาโรงเรียนสายของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ซ่ึงไดจ้ ากการจด
บนั ทึกในรอบ 1 เดือนท่ีผา่ นมา

- ข้อมูลทุตยิ ภูมิ คือ การนาขอ้ มูลท่ีผอู้ ื่นไดเ้ ก็บรวบรวมหรือบนั ทึกไวแ้ ลว้ มาใชง้ าน ผใู้ ชไ้ มจ่ าเป็นตอ้ ง
เก็บรวบรวมหรือบนั ทึกดว้ ยตนเอง จดั เป็นขอ้ มลู ที่เกิดข้ึนในอดีต มกั ผา่ นการประมวลผลแลว้ บางคร้ัง
จึงไมต่ รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ และขอ้ มลู ท่ีไดม้ ีความคลาดเคล่ือน ไมท่ นั สมยั ตวั อยา่ งขอ้ มูลทุติย
ภูมิ ไดแ้ ก่ สถิติการมาโรงเรียนสายของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ในปี พ.ศ. 2551

10

3. การแบ่งข้อมูลตามการจดั เกบ็ ในส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ มีลกั ษณะคลา้ ยการแบง่ ขอ้ มูลตามลกั ษณะของ
ขอ้ มลู แต่มีการแยกลกั ษณะขอ้ มลู ตามชนิดและนามสกุลของขอ้ มลู น้นั ๆ ซ่ึงจะต้งั ตามประเภทของ
ขอ้ มลู และโปรแกรมท่ีใชส้ ร้างขอ้ มูล ไดแ้ ก่

- ข้อมูลตัวอักษร เช่น ตวั หนงั สือ ตวั เลข และสญั ลกั ษณ์ ขอ้ มูลประเภทน้ีมกั มีนามสกลุ ต่อทา้ ยไฟล์
เป็น .twtและ .doc

- ข้อมูลภาพ เช่น ภาพกราฟิ กตา่ งๆ และภาพถา่ ยจากกลอ้ งดิจิตอล ขอ้ มูลประเภทน้ีมกั มีนามสกุล
ต่อทา้ ยไฟลเ์ ป็น .bmp .gif และ .jpg

- ข้อมูลเสียง เช่น เสียงพดู เสียงดนตรี และเสียงเพลง ขอ้ มูลประเภทน้ีมกั มีนามสกุลต่อทา้ ยช่ือไฟล์
เป็น .wav .mp3

- ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว เช่นภาพเคลื่อนไหว ภาพมิวสิควีดิโอ ภาพยนตร์ คลิปวีดีโอ ขอ้ มูลประเภทน้ี
มกั มีนามสกลุ ตอ่ ทา้ ยชื่อไฟลเ์ ป็น .avi .mov

4. การแบ่งข้อมูลตามระบบคอมพวิ เตอร์ มีลกั ษณะคลา้ ยและใกลเ้ คียงกบั การแบ่งขอ้ มูลตามการจดั เก็บ
ในส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์มาก แต่มงุ่ เนน้ พิจารณาการแบ่งประเภทตามการนาขอ้ มลู ไปใชง้ านในระบบ
คอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่

- ข้อมูลเชิงจานวน มีลกั ษณะเป็นตวั เลขท่ีสามารถนามาคานวณดว้ ยคอมพิวเตอร์ได้ เช่น จานวนเงินใน
กระเป๋ า จานวนค่าโดยสารรถประจาทาง และจานวนนกั เรียนในหอ้ งเรียน

- ข้อมูลอกั ขระ มีลกั ษณะเป็นตวั อกั ษร ตวั หนงั สือ และสญั ลกั ษณ์ต่างๆ ซ่ึงสามารถนาเสนอขอ้ มูลและ
เรียงลาดบั ไดแ้ ตไ่ ม่สามารถนามาคานวณได้ เช่น หมายเลขโทรศพั ท์ เลขที่บา้ น และชื่อของนกั เรียน

- ข้อมูลกราฟิ ก เป็นขอ้ มูลที่เกิดจากจุดพกิ ดั ทางคอมพิวเตอร์ ทาใหเ้ กิดรูปภาพหรือแผนที่ เช่น
เคร่ืองหมายการคา้ แบบก่อสร้างอาคาร และกราฟ

- ข้อมูลภาพลกั ษณ์ เป็นขอ้ มลู แสดงความเขม้ และสีของรูปภาพที่เกิดจากการสแกนของสแกนเนอร์
เป็นหลกั ซ่ึงสามารถนาเสนอขอ้ มลู ยอ่ หรือขยาย และตดั ตอ่ ได้ แตไ่ มส่ ามารถนามาคานวณหรือ
ดาเนินการอยา่ งอ่ืนได้

11

การประมวลผลข้อมูล

การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือจดั ระเบียบขอ้ มลู ใหอ้ ยใู่ น
รูปแบบท่ีเป็นประโยชน์ต่อผใู้ ชง้ าน ขอ้ มลู โดยทว่ั ไปเกิดข้ึนอยา่ งไม่เป็นระเบียบจากขบวนการนบั หรือ
การวดั ไมส่ ามารถส่ือความหมายใหเ้ ขา้ ใจหรือใชป้ ระโยชน์ได้ การประมวลผลจึงเป็นวิธีการนาขอ้ มลู
(Data) กลายสภาพเป็นสารสนเทศ (Information) ที่มีประสิทธิภาพและนาไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไปได้
ซ่ึงวิธีการประมวลผลขอ้ มลู เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่ึงสารสนเทศ

วธิ ีการประมวลผลข้อมูล จาแนกได้ 3 วิธีโดยจาแนกตามอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการประมวลผล ไดแ้ ก่

1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing)

การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยมือ เป็นวิธีการที่ใชม้ าต้งั แตอ่ ดีตกาล อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น กระดาษทาการ
กระดาษทด ลกู คิด วธิ ีน้ีใชก้ บั ขอ้ มูลจานวนนอ้ ยและวิธีการไม่ยงุ่ ยากปัจจุบนั การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ย
มือยงั คงมีใชง้ านอยเู่ พราะงานบางประเภทมนุษยเ์ ราสามารถทาไดด้ ีกวา่ เคร่ืองจกั รหรือเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ งเช่น การคดั แยกผลไมส้ ุกและผลไมด้ ิบ

2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ืองจกั ร (Mechanical Data Processing)

การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยเคร่ืองจกั ร เป็นวธิ ีที่มนุษยท์ างานร่วมกบั เคร่ืองจกั รกล เพอ่ื ใหส้ ามารถ
ทางานไดร้ วดเร็วและถกู ตอ้ งมากยงิ่ ข้ึน เช่น เครื่องนบั ธนบตั ร

3) การประมวลผลข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Processing)

การประมวลผลขอ้ มลู อิเล็กทรอนิกส์ เรียกอีกอยา่ งวา่ การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ เป็นวธิ ีที
ใชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผล

12

ข้นั ตอนการประมวลผลข้อมูล

ข้นั ตอนในการนาคอมพวิ เตอร์มาช่วยในการประมวลผลขอ้ มูลโดยทว่ั ไปแบ่งออกเป็น 3
ข้นั ตอน คือการนาขอ้ มูลเขา้ (Input Data), การประมวลผล (Processing), และการนาเสนอขอ้ มลู
(Output Data) ซ่ึงท้งั 3 ข้นั ตอนน้ีตอ้ งทางานตอ่ เนื่องกนั สามารถเรียกกรรมวิธีน้ีวา่ “วงจรการ
ประมวลผล (Data Processing Cycle)”

1 การนาข้อมูลเข้า (Input Data)

ข้นั น้ีจดั เป็นข้นั ตอนที่ตอ้ งจดั เตรียมขอ้ มูลที่รวบรวมมาแลว้ ใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะท่ีเหมาะสมและ
สะดวก ในการป้อนขอ้ มูลเขา้ สู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพอื่ ท่ีจะนาไปประมวลผลซ่ึงข้นั ตอนน้ีสามารถทา
ไดโ้ ดยผา่ นคียบ์ อร์ด (Keyboard) และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่ใชป้ ้อนขอ้ มูลได้ (Input Devices) ซ่ึงขอ้ มูลที่
นาเขา้ สู่เครื่องคอมพิวเตอร์จะนาเขา้ ผา่ นตวั เช่ือมตอ่ (connector) ซ่ึงในทางคอมพิวเตอร์เรียกวา่ Port
Port ของระบบคอมพวิ เตอร์ท่ีสาคญั ๆ

2 การประมวลผล (Processing)

เป็นวิธีการจดั การกบั ขอ้ มูลที่ถูกส่งมาทางอุปกรณ์นาเขา้ (Input Devices) และขอ้ มลู เหลา่ น้นั จะถูก
นาไปทาการประมวลดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ โดยวิธีการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ อาจจะเป็นการคานวนทวั่ ๆ ไป
คือ การบวก การลบ การคูณ และการหาร, การเปรียบเท่ียบ, การจดั กลุ่มขอ้ มลู , การรวบรวมขอ้ มูลเขา้
ดว้ ยกนั เป็นตน้

3 การนาเสนอข้อมูล (Output Data)

เป็นข้นั ตอนที่ไดห้ ลงั จากผา่ นการประมวลผลแลว้ โดยจะมีการแสดงผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการ
ประมวลผลใหผ้ อู้ ่ืนทราบ โดยขอ้ มลู ท่ีนาออกจากระบบคอมพิวเตอร์จะถกู ส่งขอ้ มูลผา่ นตวั เช่ือมต่อ
(connector) ของคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงรูปแบบของผลลพั ธ์สามารถแสดงไดห้ ลายรูปแบบ เช่น รายงาน,
กราฟ, ตาราง, เป็นตน้

13

พืน้ ฐานภาษาซี

ภาษา C ไดร้ ับการออกแบบและพฒั นาข้ึนโดย Dennis Ritchie เม่ือปี ค.ศ. 1972 ณ หอ้ งปฏิบตั ิการ
เบลล์ (Bell Laboratory) โดยออกแบบเพ่ือใชง้ านบนระบบปฏิบตั ิการ Unixบนเครื่อง
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ DEC PDP-11ในความเป็นจริงภาษา C ไดส้ ืบสานมาจากภาษา B ท่ีพฒั นาข้ึน
โดย Ken Thompson ซ่ึงภาษา B น้ีต้งั อยบู่ นภาษา BCPL ซ่ึงพฒั นาโดย Martin Richards

ในยคุ แรกภาษา C ไดถ้ ูกกาหนดมาตรฐานท่ีสร้างข้ึนเองในกลุ่มคณะ De Facto Standard ซ่ึงเป็น
เวอร์ชน่ั ที่นามาใชง้ านบนเครื่อง Unix System V จนกระทงั่ ปี ค.ศ. 1978 Brian Kernighan และ
Dennis Ritchie ไดเ้ สนองานเขียน "The C Programming Language" จดั พิมพโ์ ดยสานกั พิมพ์ Prentice-
Hall ประเทศหรัฐอเมริกา

14

ต้นกาเนิดพื้นฐานภาษาซี

ภาษาซีเกิดข้ึนในปี ค.ศ. 1972 ผคู้ ิดคน้ คือ Dennis Rittchie โดยพฒั นามาจากภาษาB และ ภาษา
BCPL แต่ยงั ไมม่ ีการใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางนกั ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ไดร้ ่วมกบั Dennis
Ritchie มาพฒั นามาตรฐานของภาษาซี เรียกวา่ K&R ทาใหม้ ีผสู้ นใจเกี่ยวกบั ภาษาซีมากข้ึน จึงเกิด
ภาษาซีอีกหลายรูปแบบเพราะยงั ไมม่ ีการกาหนดรูปแบบภาษาซีที่เป็นมาตรฐาน และในปี 1988
Ritchie จึงไดก้ าหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกวา่ ANSI C เพอื่ ใชเ้ ป็นตวั กาหนดมาตรฐานในการ
สร้างภาษาซีรุ่นต่อไปภาษาซี เป็นภาษาซีระดบั กลางเหมาะสมสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบ
โครงสร้าง เป็นภาษาท่ีมีความยดื หยนุ่ มากคือใชง้ านไดก้ บั เคร่ืองต่างๆ ไดแ้ ละปัจจุบนั ภาษาซีเป็นภาษา
พ้นื ฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ ๆ เช่น C++

15

ผู้พฒั นาภาษาซี

เดนนิส แม็กคาลสิ แตร์ ริตชี

Dennis MacAlistair Ritchie
ภาษาซีเป็นภาษาท่ีถือวา่ เป็นท้งั ภาษาระดบั สูงและระดบั ต่า ถกู พฒั นาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis
Ritche) แห่งหอ้ งทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ท่ีเมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซ่ี โดยเดนนิสไดใ้ ช้
หลกั การของภาษา บีซีพแี อล(BCPL : Basic Combine Programming Language) ซ่ึงพฒั นาข้ึนโดยเคน
ทอมสนั (Ken Tomson) การออกแบบและพฒั นาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายใหเ้ ป็นภาษา
สาหรับใชเ้ ขียนโปรแกรมปฏิบตั ิการระบบยนู ิกซ์ และไดต้ ้งั ชื่อวา่ ซี © เพราะเห็นวา่ ซี © เป็นตวั อกั ษร
ต่อจากบี (B)ของภาษา BCPL ภาษาซีถือวา่ เป็นภาษาระดบั สูงและภาษาระดบั ต่า ท้งั น้ีเพราะ ภาษาซีมี
วิธีใชข้ อ้ มลู และมีโครงสร้างการควบคุมการทางานของโปรแกรมเป็นอยา่ งเดียวกบั ภาษาของ
โปรแกรมระดบั สูงอ่ืนๆ จึงถือวา่ เป็นภาษาระดบั สูง ในดา้ นที่ถือวา่ ภาษาซีเป็นภาษาระดบั ต่า เพราะ
ภาษาซีมีวธิ ีการเขา้ ถึงในระดบั ต่าท่ีสุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถท้งั สองดา้ นของภาษาน้ีเป็นส่ิงที่
เก้ือหนุนซ่ึงกนั และกนั ความสามารถระดบั ต่าทาใหภ้ าษาซีสามารถใชเ้ ฉพาะเคร่ืองได้ และ
ความสามารถระดบั สูง ทาใหภ้ าษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหสั ภาษาเครื่องซ่ึง
ตรงกบั ชนิดของขอ้ มูลน้นั ไดเ้ อง ทาใหโ้ ปรแกรมที่เขียนดว้ ยภาษาซีที่เขียนบนเคร่ืองหน่ึง สามารถ
นาไปใชก้ บั อีกเคร่ืองหน่ึงได้

16

จุดเด่น-จุดด้อยของภาษาซี

จุดเด่นของภาษาซี

- ความสามารถในการใช้งานบนสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกนั (Portability)
เป็นลกั ษณะเด่นที่ถือเป็นจุดเด่นของภาษา C เลยที่เดียว กลา่ วคือ ภาษา C สามารถรันอยบู่ น
คอมพิวเตอร์ไดห้ ลายระดบั ต้งั แต่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จนถึงไมโครคอมพวิ เตอร์ ดงั น้นั ซอร์สโคด้
ภาษาC ท่ีเขียนในคอมพิวเตอร์ระดบั หน่ึง สามารถนาไปใชง้ านบนคอมพิวเตอร์อีกระดบั หน่ึงโดยไม่
ตอ้ งเปล่ียนชุดคาสัง่ เลย และยงั สามารถนาไปใชง้ านบนระบบปฏิบตั ิการท่ีแตกตา่ งกนั ไดอ้ ีกดว้ ย
- มปี ระสิทธิภาพสูง (Efficiency)
ประสิทธิภาพที่นามาใชว้ ดั กบั ภาษา C สามารถวดั ไดจ้ าก 2 แนวทาง คือ
- ชุดคาสงั่ ที่มีความกระทดั รัด และกระซบั มาก
- การจดั การหน่วยความจาบนภาษา C มีประสิทธิภาพสูงมาก
- มีการทางานท่ีรวดเร็ว เทียบเท่าภาษาระดบั ต่า ท้งั น้ีเนื่องจากภาษา C มีความใกลช้ ิดกบั ฮาร์แวร์
มากกวา่ ภาษาระดบั สูงอื่นๆ โดยสามารถติดตอ่ กบั รีจิสเตอร์ และหน่วยความจาโดยตรง
- ความสามารถในการโปรแกรมแบบโมดูล (Modularity)
ภาษา C อนุญาตใหม้ ีการแบ่งโมดูลเพื่อคอมไพลไ์ ด้ ซ่ึงสามารถลิงคเ์ ชื่อมโยงเขา้ กนั ไดด้ ี รูปแบบ
โปรแกรมสามารถเขียนข้ึนไดต้ ามแบบแผนการโปรแกรมเชิงโครงสร้างไดอ้ ยา่ งดีเยี่ยม ภาษาcคือภาษา
ที่ประกอบดว้ ยฟังกช์ น่ั ท้งั น้ีโมดูลต่างๆจะเขียนอยใู่ นรูปของฟังกช์ น่ั ท้งั ส้ิน
- พอยน์เตอร์ (Pointer Operation)
ภาษา C มีความสามารถในการทางานแบบพอยน์เตอร์เป็นอยา่ งมาก ยากที่จะพบไดใ้ นภาษาระดบั สูง
ทว่ั ไป โดยพอยน์เตอร์หรือตวั ช้ีสามารถกาหนดไดจ้ ากชนิดขอ้ มูล (Data Type) หลายชนิด ดว้ ยกนั
เช่นเดียวกบั ฟังกช์ นั่
- มีความยืดหยุ่นสูง (Flexible Level)
ถึงแมน้ ภาษา C จะจดั อยใู่ นภาษาคอมพิวเตอร์ระดบั สูงก็ตาม แต่ภาษา C กย็ งั สามารถเขียนใช้ งาน
ร่วมกบั ภาษาระดบั ต่าอยา่ งภาษาแอสแซมบลีได้ ดงั น้นั จึงมีการกล่าววา่ "ภาษา C เป็นภาษาที่อยู่
ก่ึงกลางระหวา่ งภาษาระดบั ต่าและภาษาระดบั สูง"
- ตัวอกั ษรตวั พมิ พ์เลก็ และตัวอกั ษรพมิ พ์ใหญ่แตกต่างกนั (Case Sensitivity)
ตามปกติภาษาระดบั สูงทวั่ ไป ตวั แปรที่ต้งั ข้ึนดว้ ยตวั อกั ษรพมิ พเ์ ลก็ และตวั พิมพใ์ หญ่ สามารถนามาใช้
ร่วมกนั ได้ แตใ่ นภาษา C จะถือวา่ แตกตา่ งกนั อยา่ งส้ินเชิง เช่น NUM ไม่เท่ากบั num

17

จุดด้อยของภาษาซี

-เป็ นภาษาท่ีเรี ยนรู้ยาก
-โปรแกรมไมอ่ าจรันไดด้ ว้ ยตวั เองตอ้ งอาศยั Java rantime
-ความเร็วในการทางาน ยงั ไมเ่ ทา่ C/C++
-ไมอ่ าจติดตอ่ อุปกรณ์ไดเ้ องโดยตรง
- การตรวจสอบโปรแกรมทาไดย้ าก
- ไมเ่ หมาะกบั การเขียนโปรแกรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การออกรายงานที่มีรูปแบบซบั ซอ้ นมากๆเป็นภาษาที่
เรียนรู้

18

การประยุกต์ใช้

ภาษาซีเป็นภาษาระดบั สูงท่ีสามารถทางานแบบภาษาระดบั ต่า(assembly language)ได้ ดว้ ย
ลกั ษณะการใชง้ านของภาษาและตวั แปลภาษาท่ีมีความสามารถแปลงโปรแกรมไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ การประยกุ ตใ์ ชง้ านภาษาซีเพือ่ เขียนโปรแกรมจึงสามารถทาไดอ้ ยา่ งหลากหลายเช่น การ
คานวณทางคณิตศาสตร์ การจดั การแฟ้มขอ้ มลู การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ การควบคุม
อุปกรณ์ตอ่ พ่วงกบั คอมพวิ เตอร์ หรือ ใชส้ ร้างโปรแกรมประยกุ ตอ์ ื่นๆ ท้งั น้ีตอ้ งมีการพจิ ารณาถึง
ฟังกช์ นั การใชง้ านของภาษาและตวั แปลภาษาดว้ ย การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาซี ไมเ่ พยี งตอ้ งรู้
รูปแบบภาษา(syntax) เทา่ น้นั แตจ่ าเป็นตอ้ งรู้ข้นั ตอนการสร้างโปรแกรมดว้ ย เพือ่ ใหโ้ ปรแกรม
สามารถทางานไดค้ รบตามความตอ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง

19

ข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรม
สามารถแบง่ ข้นั ตอนต่างๆ ไดเ้ ป็น

1.1 การระบคุ วามตอ้ งการใชง้ าน
เป็นข้นั ตอนการอธิบายลกั ษณะของงานท่ีตอ้ งการนาโปรแกรมใช้

1.2 การระบุรายละเอียดการทางานของโปรแกรม
เป็นข้นั ตอนที่อธิบายวา่ จะใชโ้ ปรแกรมไปทาอะไรบา้ งในงานที่ไดร้ ะบคุ วามตอ้ งการน้นั

1.3 การออกแบบโปรแกรม
เป็นข้นั ตอนที่นารายละเอียดการทางานของโปรแกรมมาออกแบบโดยการเขียนalgorithms

1.4 การเขียนโปรแกรม
เป็นข้นั ตอนที่นาการออกแบบโปรแกรมไวม้ าเขียนเป็นคาสงั่ ในภาษาคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื สร้าง

เป็นโปรแกรมที่สมบรู ณ์
1.5 การทดสอบโปรแกรม

เป็นข้นั ตอนเพื่อทดสอบโปรแกรมเพื่อหาขอ้ ผดิ พลาด และหนา้ ท่ีของโปรแกรม
1.6 การแกไ้ ขโปรแกรม

เป็นข้นั ตอนท่ีใชแ้ กไ้ ขส่วนผดิ พลาดจากการทดสอบใหถ้ กู ตอ้ ง และนาไปทดสอบอีกคร้ัง
1.7 การนาโปรแกรมไปใชง้ าน

เป็นข้นั ตอนการนาโปรแกรมท่ีผา่ นจากการทดสอบแลว้ ไปใชง้ านยงั ระบบงานที่ตอ้ งการ
1.8 การบารุงรักษาโปรแกรม

เป็นข้นั ตอนการนาโปรแกรมท่ีมีขอ้ ผดิ พลาดท่ีพบจากการใชง้ านจริงไปแกไ้ ข
1.9 การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงโปรแกรม

เป็นข้นั ตอนการนาโปรแกรมท่ีผา่ นการใชง้ านแลว้ และตอ้ งการเปลี่ยนแปลงบางอยา่ ง เช่น
เพิม่ เติมหนา้ ท่ี , เปลี่ยนข้นั ตอนวธิ ีของโปรแกรมเพือ่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการทางาน เป็นตน้

20

เทคโนโลยปี ระยกุ ต์

การประยกุ ตใ์ ชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจุบนั ไดม้ ีการนามาใชใ้ นหลายสาขาวชิ าชีพ
ท้งั ในดา้ นการศึกษา ดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรม ดา้ นการแพทย์ ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่
อานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การทางาน การศึกษาหาความรู้ ทาใหค้ ุณภาพชีวติ ของคน
ในสงั คมปัจจุบนั ดีข้ึน

นอกจากน้ีหน่วยงานราชการต่างๆ ก็นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบคอมพิวเตอร์ เขา้ มา
อานวยความสะดวกใหก้ บั ประชาชน ในการติดตอ่ ประสานงานกบั ทางราชการ และในธุรกิจเอกชน
ทางดา้ นการโรงแรม และ

21

เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา

เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีนามาใชส้ าหรับการเรียนการสอน เป็นการใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่
หลายอยา่ ง สอนดว้ ยส่ืออุปกรณ์ท่ีทนั สมยั หอ้ งเรียนสมยั ใหม่ มีอปุ กรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์(Video
Projector)มีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์มีระบบการอา่ นขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่
นามาใชใ้ นดา้ นการเรียนการสอนก็มีหลากหลาย ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น

1.)อเิ ลก็ ทรอนิกส์บุ๊ค (e-learning)

เป็นการเกบ็ ขอ้ มูลจานวนมากดว้ ยซีดีรอม หน่ึงแผน่ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ตวั อกั ษรไดม้ ากถึง 600
ลา้ นตวั อกั ษร ดงั น้นั ซีดีรอมหน่ึงแผน่ สามารถเกบ็ ขอ้ มูลหนงั สือ หรือเอกสารไดม้ ากกวา่ หนงั สือหน่ึง
เลม่ และที่สาคญั คือการใชก้ บั คอมพิวเตอร์ ทาใหส้ ามารถเรียกคน้ หาขอ้ มูลภายในซีดีรอม ไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็วโดยใชด้ ชั นี สืบคน้ หรือสารบญั เรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นส่ือที่มีบทบาทต่อการศึกษาอยา่ งยงิ่ เพราะ
ในอนาคตหนงั สือตา่ ง ๆ จะจดั เก็บอยใู่ นรูปซีดีรอม และเรียกอ่านดว้ ยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ที่เรียกวา่
อิเลก็ ทรอนิกส์บุ๊ค ซีดีรอมมีขอ้ ดีคือสามารถจดั เก็บ ขอ้ มูลในรูปของมลั ติมีเดีย และเม่ือนาซีดีรอมหลาย
แผน่ ใส่ไวใ้ นเครื่องอา่ นชุดเดียวกนั ทาใหซ้ ีดีรอมสามารถขยายการเก็บขอ้ มูลจานวนมากยงิ่ ข้ึนได้

22

2.)ระบบวดิ โี อออนดีมานด์ (Video on Demand)

เป็นระบบใหม่ที่กาลงั ไดร้ ับความนิยมนามาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญ่ีป่ นุ และสหรัฐอเมริกา
โดยอาศยั เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาใหผ้ ชู้ มตามบา้ นเรือนตา่ ง ๆ สามารถเลือกรายการ
วดิ ีทศั น์ ที่ตนเองตอ้ งการชมไดโ้ ดยเลือกตามรายการ (Menu) และเลือกชมไดต้ ลอดเวลา วดิ ีโอออนดี
มานด์ เป็นระบบท่ีมีศนู ยก์ ลาง การเก็บขอ้ มลู วีดิทศั น์ไวจ้ านวนมาก โดยจดั เก็บในรูปแหล่งขอ้ มูล
ขนาดใหญ่ (Video Server) เม่ือผใู้ ชต้ อ้ งการเลือกชมรายการใด กเ็ ลือกไดจ้ ากฐานขอ้ มลู ที่ตอ้ งการ
ระบบวดิ ีโอ ออนดีมานดจ์ ึงเป็นระบบที่จะนามาใช้ ในเร่ืองการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไมม่ ี
ขอ้ จากดั ดา้ นเวลา ผเู้ รียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนเองตอ้ งการเรียนหรือสนใจได้

3.)คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน

เป็นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกบั การออกแบบโปรแกรมการสอน มาใชช้ ่วยสอน ซ่ึงเรียกกนั
โดยทว่ั ไปวา่ บทเรียน CAI การจดั โปรแกรมการสอน โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบนั มกั อยู่
ในรูปของส่ือประสม (Multimedia) ซ่ึงหมายถึงนาเสนอไดท้ ้งั ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ
โปรแกรมช่วยสอนน้ีเหมาะกบั การศึกษาดว้ ยตนเอง

23

เทคโนโลยใี นงานธุรกจิ

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสานกั งาน มีวตั ถุประสงค์
เพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการบริการ ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ น
ธุรกิจ พาณิชย์ และสานกั งาน จาแนกได้ ดงั น้ี

1.)การพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-commerce)

คือ การทากิจกรรมทางธุรกิจผา่ นช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ในทุกช่องทางเช่น อินเทอร์เน็ต วทิ ยุ
แฟกซ์ ท้งั ในรูปแบบขอ้ ความ เสียง และภาพ โดยกิจกรรมทางธุรกิจจะเนน้ การขายสินคา้ หรือบริการ
ซ่ึงเริ่มต้งั แต่ส่วนของผชู้ ่ือ สามารถดาเนินการเลือกซ้ือสินคา้ หรือบริการ คานวณเงิน ชาระเงิน รวมถึง
การไดร้ ับบริการหลงั การขายไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ ส่วนของผขู้ าย สามารถนาเสนอสินคา้ รับเงินชาระคา่
สินคา้ ตดั สินคา้ จากคลงั สินคา้ และประสานงานไปยงั ผจู้ ดั ส่งสินคา้ รวมถึงการบริหารหลงั การขายได้
โดยอตั โนมตั ิ

กิจกรรมทางธุรกิจดงั กล่าวในปัจจุบนั นิยมจดั ทารูปแบบของเวบ็ ไซต์ เช่น www. amazon.com
เป็นเวบ็ ไซตก์ ารคา้ ปลีกออนไลน์ท่ีใหญ่ท่ีสุด โดยในช่วงแรกจะขายหนงั สือ แต่ปัจจุบนั กาลงั
พฒั นาการขายสินคา้ เพ่ิมเติมโดยลูกคา้ สามารถดาวนโ์ หลดเพลง ภาพวิดีโอ และหนงั สือได้

24

2)สานักงานอตั โนมัติ (office automation)

เป็นการนาเอาเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ไดแ้ ก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วร์ โทรศพั ท์ เทเลเท็กซ์
เครื่องเขียนตามคาบอกอตั โนมตั ิ (dictating machines) เคร่ืองถ่ายเอกสารแบบหน่วยความจา
เครื่องโทรสาร ฯลฯ มาใชช้ ่วยใหก้ ารปฏิบตั ิงานในสานกั งาน เกิดประสิทธิภาพและความสะดวก
รวดเร็วมากข้ึน การใชอ้ ุปกรณ์คอมพวิ เตอร์จะช่วยในเรื่องการประมวลผลขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การ
ติดตอ่ สื่อสารภายในสานกั งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ และยงั ช่วยใหล้ ดปริมาณการใชก้ ระดาษ
ของสานกั งานไดเ้ ป็นอยา่ งดี

3.)การแลกเปลย่ี นข้อมลู ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์

การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลทางอิเลก็ ทรอนิกส์ EDI เป็นเทคโนโลยที ่ีใชค้ อมพวิ เตอร์ในการรับ - ส่ง
เอกสารจากหน่วยงานหน่ึงไปยงั อีกหน่วยงานหน่ึงโดยส่งผา่ นเครือข่าย เช่น โทรศพั ท์ สายเคเบิล
ดาวเทียม เป็นตน้ แทนการส่งเอกสารโดยพนกั งานส่งสารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะตอ้ งใชร้ ูปแบบ
ของเอกสารท่ีเป็นมาตรฐานเพอ่ื ใหห้ น่วยงานทางธุรกิจหรือองคก์ รตา่ งๆ สามารถส่ือสารไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

25

เทคโนโลยดี ้านการเเพทย์

การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นสาธารณสุขและการแพทยม์ ีวตั ถุประสงคห์ ลกั
เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีสุขภาพอนามยั ที่ดีข้ึน ตลอดจนไดร้ ับการรักษาพยาบาลที่ดีข้ึน ดงั น้ี

1.)ระบบแพทย์ทางไกล (telemedicine)

เป็นโครงการของรัฐบาลที่ยกระดบั การให้บริการรักษาผปู้ ่ วยในทอ้ งถิ่นทรุ กนั ดารผา่ น
เครือขา่ ยโทรคมนาคม โดยเริ่มจากส่งขอ้ มลู ผปู้ ่ วยดว้ ยการถ่ายทอดสดผา่ นทางดาวเทียมในการประชุม
ทางไกลผา่ นเครือข่าย (video conference system) ขณะตรวจอาการผปู้ ่ วยจากสถานีอนามยั เชื่อมไปยงั
เคร่ืองปลายทางที่โรงพยาบาลประจาอาเภอ เพื่อใหแ้ พทยผ์ เู้ ช่ียวชาญของโรงพยาบาลปลายทางไดด้ ู
ภาพลกั ษณะของผปู้ ่ วย ก่อนทาการวินิจฉยั อาการผา่ นจอมอนิเตอร์อยา่ งละเอียดอีกคร้ัง พร้อมกบั ให้
คาแนะนาในการรักษากลบั มายงั เจา้ หนา้ ท่ีสถานีอนามยั เพือ่ ใหก้ ารรักษาพยาบาลเป็นไปอยา่ งถูกตอ้ ง
และถกู วธิ ีที่สุด

26

2.)ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกล(medical consultation)

เป็นระบบการปรึกษาระหวา่ งโรงพยาบาลชุมชนกบั โรงพยาบาลที่มีแพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญผา่ น
สัญญาณดาวเทียม ซ่ึงสามารถส่งไดท้ ้งั ขอ้ มูล ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และเสียง ประกอบดว้ ยระบบยอ่ ย
ๆ 3ระบบดงั น้ีคือ 1) ระบบ Teleradiology เป็นระบบการรับส่งภาพ X-Ray โดยผา่ นการ Scan Film
จาก High Resolution Scanner เพอ่ื เก็บลงใน File ของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนท่ีจะมีการส่ง File
ดงั กลา่ วไปยงั โรงพยาบาลที่จะใหค้ าปรึกษา 2) ระบบ Telecardiology เป็นระบบการรับส่งคล่ืนหวั ใจ
(ECG)และเสียงปอด เสียงหวั ใจ โดยผา่ นอปุ กรณ์เช่ือมตอ่ มายงั อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 3) ระบบ
Telepath logy เป็นระบบรับส่งภาพจากกลอ้ งจุลทรรศน(์ Microscope) ซ่ึงอาจจะเป็นภาพเน้ือเยอ่ื หรือ
ภาพใดๆ ก็ไดจ้ ากกลอ้ งจุลทรรศนท์ ้งั ชนิด Monocular และ Binocular

3.)ระบบเชื่อมเครือข่ายข้อมูลและโทรศัพท์ (Data and Voice Network)

ระบบเช่ือมเครือขา่ ยขอ้ มูลเป็นระบบการใชง้ านเชื่อมต่อจากโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นจุดติดต้งั
ของโครงการฯ มายงั สานกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ใหส้ ามารถใชบ้ ริการทางดา้ นเครือข่ายขอ้ มูลตา่ ง
ๆ คือระบบ Internet ระบบ CD-ROM Server ระบบ ฐานขอ้ มลู กระทรวงสาธารณสุข ส่วนระบบ CD-
ROM Server เป็นระบบที่ใหบ้ ริการฐานขอ้ มลู ทางการแพทยจ์ านวน 5 ฐานขอ้ มลู

27

บรรณานุกรม

1.)วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ :
https://sites.google.com/ntun.ac.th/anatcha5-7-41/home?authuser=0
2.)กระบวนการเทคโนโลยี :
https://sites.google.com/ntun.ac.th/sasithorn5-7-44/home
3.)พื้นฐานภาษาซี :
https://sites.google.com/ntun.ac.th/sasithorn5-7-44/home
4.)เทคโนโลยีประยุกต์ :
https://sites.google.com/ntun.ac.th/tadsaorn5-722/home?authuser=0

28

ภาคผนวก

1.)แนบภาพสถิตเิ กยี่ วกบั ผ้เู ข้าชม (live) หรือนาเสนอออนไลน์ ยอดววิ 100 หรือ ยอดแชร์ 100

https://www.facebook.com/100021692920384/posts/1023398975059857/

29

2.)ยอดผ้เู ข้าดเู ว็บไซต์ของ Admin ยอดแชร์ 100 แชร์

https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=926049788259708&id=100025640853791

30

3.) ยอดผู้เข้าดเู วบ็ ไซต์ของผู้จดั ทารายงาน ยอดแชร์100

https://www.facebook.com/sasithorn.somsri.9/posts/931099074475769


Click to View FlipBook Version