The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siripong Thongyuang, 2021-03-22 21:56:39

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

48

พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

มาตรา 42 ให้ ก.ค.ศ. จัดทามาตรฐานตาแหน่ง
มาตรฐานวิทยฐานะและมาตรฐานตาแหน่งทางวิชาการ
ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไว้เป็น
บรรทัดฐานทุกตาแหน่งทุกวิทยฐานะเพ่ือใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน
การยา้ ยสายครูผู้สอน 3 ประเภท

เขียนคาร้องขอย้าย ได้เพียง 1 คร้ัง : ภายใน
เดือน มกราคม ของปี : แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ดงั น้ี
1. การยา้ ยกรณีปกติ
2. การยา้ ยกรณพี เิ ศษ
3. การย้ายกรณีเพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ของ
ทางราชการ

49

พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

การลาบอ่ ยครง้ั
1. ข้าราชการในสถานศกึ ษา : ลาไมเ่ กนิ 6 ครัง้
2. ข้าราชการใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา : ลา
ไมเ่ กนิ 8 ครงั้
ลักษณะของวินัยของข้าราชการครู/บุคลากรทางการ
ศึกษา
1.ใชเ้ ฉพาะข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2.ไมม่ ีอายุความ
3.บิดา มารดา ร้องแทนได้
4.ถอนคารอ้ ง:ไมม่ ีผลระงับการดาเนินการทางวินยั
5.ยอมความกนั ไมไ่ ด/้ ไมอ่ าจชดใชด้ ้วยเงนิ
6.วินัยไม่ร้ายแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : งด
วนิ ัยรา้ ยแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : ไม่งด
7.ความผดิ ชัดแจ้ง : ไมต่ อ้ งต้ังกรรมการสอบก็ได้
8.รับสารภาพ : ไมเ่ ปน็ เหตลุ ดหย่อน

50

พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

การอทุ ธรณ์
(1) มคี าสง่ั ลงโทษ
(2) เพอ่ื ยกเรอื่ งมาพิจารณาใหม่
(3) ภาค/ตดั /ลด >กศจ.ภายใน 30 วนั
(4) ปลด/ไล่ >ก.ค.ศ. ภายใน 30 วนั
(5) อุทธรณ์ต่อกศจ. ไม่รับความเป็นธรรม >ศาล
ปกครอง
มาตรา 61 การเล่ือนตาแหน่งบุคลากรทาง
การศึกษาซ่ึงเป็นตาแหน่งท่ีมิได้กาหนดให้มีวิทยฐานะ
เพื่อให้ได้รับเงินเดือนในระดับท่ีสูงข้ึน ให้กระทาได้
โดยการสอบแข่งขันสอบคัดเลือก คัดเลือก หรือ
ประเมินดว้ ยวธิ ีการอน่ื

51

พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 61 การเล่ือนตาแหน่งบุคลากรทาง
การศึกษาซ่ึงเป็นตาแหน่งท่ีมิได้กาหนดให้มีวิทยฐานะ
เพ่ือให้ได้รับเงินเดือนในระดับท่ีสูงขึ้น ให้กระทาได้
โดยการสอบแข่งขันสอบคัดเลือก คัดเลือก หรือ
ประเมินดว้ ยวธิ ีการอ่ืน
ผู้ประสงคจ์ ะลาออก
(1) ย่ืนต่อ ผอ. เพ่ือให้มีอานาจตามมาตรา 53
พจิ ารณาอนญุ าต (ผ้มู ีอานาจยับยง้ั ไมเ่ กิน 90 วัน)
(2) ลาออกไปเลน่ การเมอื ง มผี ลทันที

52

พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2551

หมวด 1 มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงาน
บุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคณะ
หนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา” เรยี กโดยย่อวา่ “ก.ค.ศ.”
หมวด 3 มาตรา 38ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษามี 3 ประเภท ดังนี้
ก.ตาแหน่งซึ่งมีหน้าท่ีเป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา
คอื ครูและครผู ู้ช่วย
ข.ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
คือ ผู้อานวยการสถานศึกษา และรองผู้อานวยการ
สถานศึกษา ผอ.และรองผอ.สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา
ค.ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นคือ ศึกษานิเทศก์
และสานกั งานคณะกรรมการและบุคลากร

53

พระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2551

หมวด 4 มาตรา 53 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา ตาแหน่ง
ผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษาเป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งต้ังโดย
อนมุ ัติ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
มาตรา 59 การย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาผู้ใดไปดารงตาแหน่ง ในหน่วยงานการศึกษาอ่ืน
ภายในส่วนราชการหรือภายในเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือ
ตา่ งเขตพน้ื ที่การศึกษา ต้องได้ รับอนมุ ัตจิ ากอ.ก.ค.ศ.
มาตรา 80 ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่ง
และบางวทิ ยฐานะ เพ่อื เพ่มิ พนู ความรู้ ทกั ษะ เจตคติที่ดี
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่
เหมาะสม

54

พระราชบญั ญตั ิ ระเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการศกึ ษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553

มาตรา 5ให้กรรมการ ก.ค.ศ. ในส่วนของ
กรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาตามมาตรา 7 (5) ซ่ึงปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ในวันท่ี
พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่า
จะได้มีการเลือกต้ังกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบญั ญัตนิ ี้
มาตรา 7การใดอยู่ระหว่างดาเนินการหรือเคย
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษา ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เฉพาะ
เร่ืองการบริหารงานบุคคล การดาเนินการทางวินัย
และการอุทธรณ์ท่ีเก่ียวกับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาการดาเนินการต่อไปในเรื่องน้ันจะ
สมควรดาเนินการประการใด

55

พระราชบญั ญัติ ระเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการศกึ ษา (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562

มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในมาตรา 102 แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากร
ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน
มาตรา 102 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ใดซึ่งออกจากราชการอันมิใช่เพราะเหตุตาย มีกรณีถูก
กล่าวหาเป็นหนังสือก่อนออกจากราชการว่า ขณะรับ
ราชการได้กระทาหรือละเว้นกระทาการใด อันเป็น
ความผดิ วินยั อย่างรา้ ยแรง
มาตรา 102/1 ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ คณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีมติช้ีมูล
ความผิดข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาผู้ใด
ซึ่งออกจากราชการแล้ว การดาเนินการทางวินัยและสั่ง
ลงโทษแกข่ ้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา

56

ระเบยี บ
เกี่ยวกับการลา

57

ความเปน็ มา

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของ
ข้าราชการ พ.ศ.2555 ได้ประกาศใชบ้ ังคบั เป็นระยะเวลา
หน่ึง และได้เพ่ิมเติมสิทธิการลาของข้าราชการรวม 2
ประเภท ได้แก่ การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
และการลาไปฟื้นฟูสมรถภาพด้านอาชีพ เนื่องจากได้มี
การปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการให้มี
ความหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติราชการ ที่
ข้ า ร า ช ก า ร ไ ด้ รั บ น อ ก เ ห นื อ จ า ก เ งิ น เ ดื อ น ซึ่ ง เ ป็ น
ค่าตอบแทนในการปฏิบัติงาน และใช้ระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555
เป็นข้อบงั คับในการดาเนินการ เพื่อความสะดวกในการ
ปฏบิ ตั ขิ องขา้ ราชการ หรอื ผูป้ ฏิบัติงานหน่วยงานราชการ
ต่างก็มีแนวทางปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน และระเบียบ
ดงั กล่าวมีผลต่อเน่อื งถึงการจ่ายเงินเดือน ตลอดจนการ
จ่ายเงินบาเหน็จบานาญให้แก่ข้าราชการเมื่อพ้นจากส่วน
ราชการ

58

ประเภทการลา

1.การลาปว่ ย
2.การลาคลอดบุตร
3.การลาไปชว่ ยเหลือภรรยาทคี่ ลอดบตุ ร
4.การลากจิ สว่ นตัว
5.การลาพักผอ่ น
6.การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพิธีฮัจย์
7.การลาเข้าบริการตรวจหรือเข้ารับการเตรียมพล
8.การลาไปศึกษาฝกึ อบรมปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั หรอื ดงู าน
9.การลาไปปฏิบัติงานในองคก์ ารระหวา่ งประเทศ
10.การลาติดตามคู่สมรส
11.การลาไปฟน้ื ฟสู มรรภาพด้านอาชพี

59

หมวด 2 ประเภทการลา

1. การลาปว่ ย
-ปีละไม่เกิน 60 วนั ทาการ
-กรณีจาเป็นผู้มีอานาจสามารถให้ลาได้อีกไม่เกิน 60
วันทาการ
-เสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
-ลาตั้งแต่ 30 วนั ขึน้ ไป ตอ้ งมีใบรับรองแพทย์
-แม้ไม่ถึง 30 วันแต่ผู้มีอานาจฯ จะสั่งให้มีใบรับรอง
แพทย์/ใบรับการตรวจจากแพทยก์ ็ได้
2. การลาคลอดบุตร
-สามารถลาได้ไม่เกิน 90 วัน/คร้ัง ไม่ต้องมีใบรับรอง
แพทย์ ต้องเสนอใบลา กอ่ น/ในวันลา
-สามารถลาวนั ท่ีคลอด/กอ่ นวันที่คลอดกไ็ ด้
-ถา้ ลาแลว้ ไม่ไดค้ ลอดใหถ้ ือว่าเปน็ วนั ลากิจสว่ นตัว
-การลาคลอดท่ีคาบเกี่ยวกับลาประเภทอ่ืนซึ่งยังไม่ครบ
ให้ถือว่า ลาประเภทอ่ืนส้ินสุดและให้นับเป็นวันเริ่มลา
คลอดบุตร

60

หมวด 2 ประเภทการลา

3. การลากิจส่วนตัว
-ลาได้ไมป่ ีละไม่เกิน 45 วันทาการ
-ปีแรกทเ่ี ขา้ รบั ราชการ ลาไดไ้ มเ่ กิน 15 วัน
-ลากิจเพ่ือเล้ียงดูบุตร (ต่อจากลาคลอดบุตร) ลาได้ไม่
เกิน 150 วันทาการ (ไมไ่ ด้รับเงนิ เดอื น)
-การเสนอใบลา ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถ
หยดุ ได้
-หากมรี าชการจาเปน็ : สามารถเรยี กตวั กลับได้
4. การลาพกั ผอ่ น
-สามารถลาได้ปีละ 10 วันทาการ
-สามารถสะสมไดไ้ มเ่ กนิ 20 วันทาการ
-สามารถสะสมได้ไม่เกิน 30 วันทาการ (รับราชการ
10 ปขี ้ึนไป)
-ถา้ บรรจไุ ม่ถงึ 6 เดอื น : ไมม่ สี ทิ ธิ์
-หากเสนอใบลาตอ้ งได้รับอนุญาตกอ่ นจึงหยดุ ได้
-ถ้ามรี าชการจาเป็น : สามารถเรียกตวั กลับได้

61

สทิ ธปิ ระโยชน์อนื่ ๆ

1. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา

2. ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ
3. คา่ เบี้ยประชุม
4. คา่ ใช้จา่ ยในการฝกึ อบรม
5. ค่าตอบแทนการออกจากจากราชการโดยไมม่ ีความผิด

เงินทดแทนกรณีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือ
สูญหายเนื่องจากการทางานให้ราชการการยื่นขอเงินค่า
ทดแทน ให้ยื่นคาร้องต่อส่วนราชการที่สังกัดภายใน
180 วัน นับจากวันท่ีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือ
สญู หาย แล้วแต่กรณี เว้นแต่พนักงานราชการที่ประสบ
อันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย เน่ืองจากการ ทางาน
ให้ราชการ ท้ังน้ี การยื่นคาร้องขอใช้สิทธิให้กรอก
ข้อความในแบบ คพร./สป.1 และ คพร./สป.2 และ
ทางราชการอาจส่งตัวพนักงานราชการเข้า รับการ
รกั ษาพยาบาลได้ตามความจาเปน็

62

การพานกั เรยี น
ไปนอกสถานที่

63

ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้

“การพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา”
หมายความว่า การที่หัวหนา้ สถานศึกษาหรือผู้ทหี ัวหน้า
สถานศึกษามอบหมาย พานักเรียนและนักศึกษาไปทา
กิจกรรมการเรียนการสอน นอกสถานศึกษาซ่ึงอาจ
ไปเวลาเปิดทาการสอนหรือไม่ก็ได้ หรือ ไปทา
กิจกรรมการเดนิ ทางไกล และ การเข้าคา่ ยพกั แรมของ
ลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด แต่ไม่รวมถึงการไป
นอกสถานทตี่ ามคาสงั่ ในทางราชการ
ข้อ 5 การพานักเรียนและนักศึกษาไปนอก
สถานศกึ ษา จาแนกเป็น 3 ประเภท คอื

(1) การพาไปนอกสถานศกึ ษาไม่คา้ งคนื
(2) การพาไปนอกสถานศึกษาค้างคนื
(3) การพาไปนอกราชอาณาจกั ร

64

ในระเบียบน้ี

ข้อ 7 การพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา
ทุกประเภทใหป้ ฏบิ ตั ดิ ังนี้
1.ต้องคานึงถึงความปลอดภัยในการเดินทางและการ
พกั แรมเปน็ อันดับแรก
2.ต้องได้รับอนุญาตก่อนโดยขออนุญาตตามแบบท่ี
กาหนดทา้ ยระเบียบน้ี
3.ให้หัวหน้าสถานศึกษาจานวน 1 คนเป็นผู้ควบคุม
และจะต้องมีครูจานวน 1 คน ต่อนักเรียนไม่เกิน
30 คน เปน็ ผูช้ ว่ ยผู้ควบคมุ
ขอ้ 10 ให้ผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมมีหน้าท่ีต้องปฏิบตั ิ
ดังนี้
1.ดาเนนิ การใหน้ กั เรียนอยู่ในระเบียบวินัย
2.ไมเ่ สพสรุ าส่งิ เสพติดของมึนเมา
3.จัดให้มีช่องทางหรือระบบการติดต่อสื่อสารและ
หมายเลขโทรศพั ท์
4.ดแู ลนักเรยี นใหไ้ ดร้ ับความปลอดภยั ตลอดเวลา

65

“ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ยการพานกั เรยี นและ

นกั ศึกษาไปนอกสถานศกึ ษา (ฉบับท่ี 2)

พ.ศ. 2563 ”

ข้อ 8 ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้มีอานาจพิจารณา
อนญุ าตตามขอ้ 5
(1)หัวหน้าสถานศึกษา สาหรับการพาไปนอก
สถานศึกษาไม่พกั แรม
(2)ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผู้มี
อานาจเหนือสถานศึกษาข้ึนไปอีกช้ันหนึ่งหรือผู้ท่ี
ได้รับมอบหมายแล้วแต่กรณีสาหรับการพาไปนอก
สถานศกึ ษาพักแรม
(3)หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ได้รับมอบหมายสาหรับ
การพาไปนอกราชอาณาจักร

66

การลงโทษนักเรยี น

67

ความเปน็ มาของระเบียบการลงโทษนกั เรยี น

ปรากฏในพระราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอน
พิเศษ 35 ง ประกาศ ณ วันที่ 26 เมษายน
2548 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ
ลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548อาศัยอานาจ
ตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่ง
พระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
จุดประสงค์

การลงโทษมีจุดประสงค์หลักเพ่ือให้หลาบจา และ
ไม่ทาพฤติกรรมเช่นนั้นอีก โดยต้องการให้มีการ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทางที่ถูกต้องดีงามตามท่ี
สังคม กาหนด แนวคิดของจุดประสงค์ของการ
ลงโทษยังคงเป็นอยู่ถึงแม้ว่าจะมีวิธีการที่ เปล่ียนไป
แต่จุดประสงค์หลักยังไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นการ
ลงโทษกับประชาชนท่ัวไป หรือการลงโทษนักเรียน
และนักศกึ ษา

68

ระเบียบการลงโทษนักเรยี นและนักศึกษา

ว่าด้วยเร่ืองระเบียบการลงโทษนักเรียนและ
นักศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548 ได้มี
กาหนดวิธีการลงโทษไว้ในประกาศ โดยมีประเด็น
สาคญั ดังน้ี
ตามประกาศ ข้อ4กล่าวว่า “การลงโทษ” หมายความ
ว่า การลงโทษนกั เรียนหรือนักศึกษาที่กระทาความผิด
โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือการอบรมสั่งสอน
ตามประกาศ ขอ้ 5กล่าวว่า โทษท่ีจะลงโทษแก่นกั เรียน
หรือนักศึกษาท่ีกระทาความผิด มี 4 สถาน ดังนี้
1. ว่ากล่าวตักเตอื น
2. ทาทณั ฑ์บน
3. ตัดคะแนนความประพฤติ
4. ทากิจกรรมเพ่อื ให้ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม

69

ระเบยี บการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา

ตามประกาศ ข้อ 6 กล่าวว่า ห้ามลงโทษนักเรียน
และนักศกึ ษาด้วยวธิ ีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือ
ลงโทษด้วยความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้
คานึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความ
ร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย การ
ลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพ่ือเจตนาที่จะ
แก้นสิ ัยและความ

ตามประกาศ ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตือน ใน
กรณนี กั เรียนหรอื นักศึกษากระทาความผิดไม่รา้ ยแรง
ตามประกาศ ข้อ 8 กล่าวว่า การทาทัณฑ์บนใช้ใน
กรณีนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีประพฤติตนไม่เหมาะสม
กบั สภาพ นักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่า
ดว้ ยความประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษา

70

ระเบียบการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา

ตามประกาศ ขอ้ 9 กลา่ ววา่ การตัดคะแนนความ
ประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัด
คะแนนความประพฤตินักเรียนและ นักศึกษาของแต่
ละสถานศึกษากาหนด และให้ทาบันทึกข้อมูลไว้เป็น
หลกั ฐาน

ตามประกาศ ข้อ 10 กล่าวว่า ทากิจกรรม
เพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีท่ีนักเรียน
และนักศกึ ษากระทาความผิดที่สมควรต้องปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่
กระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด
หมวด 2 การปฏิบัติตอ่ เด็ก
มาตรา 26 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น
ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ห้ามมิให้ผู้ใดกระทาการ
ดังตอ่ ไปนี้

71

(1) กระทาหรือละเว้นการกระทาอันเป็นการทารุณ
กรรมตอ่ ร่างกายหรอื จติ ใจของเด็ก
หมวด 7 การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและ
นกั ศึกษา
มาตรา 64 นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตน
ตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษาและตามท่ี
กาหนดในกฎกระทรวง

กฎหมายทม่ี คี วามเกี่ยวขอ้ งกบั พระราชบัญญัติ

คุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546

มาตรา 65 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา
64 ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติตามระเบียบที่
รัฐมนตรีกาหนด และมีอานาจนาตัวไปมอบแก่
ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษาของนักเรียนหรือ
นกั ศกึ ษานัน้

72

กฎหมายที่มคี วามเกีย่ วขอ้ งกบั พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองเด็ก

พ.ศ. 2546

หมวด 9 บทกาหนดโทษ
มาตรา 78 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 26 ต้องระวางโทษ

จาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท
หรือทัง้ จาท้งั ปรับ
ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 295 ผู้ใดทาร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้เกิด
อันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อ่ืนน้ัน ผู้น้ันกระทา
ความผิดฐานทาร้ายร่างกาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกินส่ีหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้ง
ปรบั

มาตรา 391 "ผู้ใดใช้กาลังทาร้ายผู้อื่น โดยไม่
ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่งึ เดือน หรือปรับไม่เกินหนงึ่
หม่ืนบาท หรอื ทงั้ จาท้ังปรบั "

73

วนิ ัยของข้าราชการ

74

วินัยข้าราชการพลเรือน หมายถึง ระเบียบแบบแผน
ความประพฤติที่บัญญัติไว้ให้ ข้าราชการปฏิบัติและห้ามมิ
ให้ข้าราชการปฏิบัติ เพ่ือข้าราชการใช้ควบคุมตนเอง
ผู้บังคับบัญชาใช้ ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้
ข้าราชการมี ความประพฤติดี ละเว้นความประพฤติมิ
ชอบ
จดุ มงุ่ หมายและขอบเขต
1.เพอ่ื ใหร้ าชการดาเนินไปดว้ ยดมี ีประสิทธิภาพ
2.เพ่ือความเจรญิ ความสงบเรยี บร้อยของประเทศชาติ
3.เพื่อความผาสกุ ของประชาชน
4.เพอ่ื ภาพพจนช์ ่ือเสียงทีด่ ีของทางราชการการรักษาวนิ ัย
ท่มี า วนิ ยั ขา้ ราชการพลเรือน

มาจาก พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2551 จาก หมวด ที่ 6 หมวด ๖ วินัยและการ
รักษาวินัย มี 10 มาตรา และ หมวดท่ี 7 การ
ดาเนนิ การทางวินัย มี 17 มาตรา

75

หมวด 6 วินยั และการรักษาวนิ ัย
มาตรา 80 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาวินัย
โดยกระทาการหรือไม่กระทาการตามที่ บัญญัติไว้ใน
หมวดน้ีโดยเคร่งครัดอยู่เสมอข้าราชการพลเรือน
สามญั ผ้ปู ฏบิ ัตริ าชการในตา่ งประเทศ
มาตรา 81 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องสนับสนุน
ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขด้วยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ
มาตรา 42 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องกระทาการ
อันเปน็ ข้อปฏิบัตดิ ังต่อไปนี้
(1)ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซ่ือสัตย์ สุจริต
และเทย่ี งธรรม
(2)ต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย
กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของ คณะรฐั มนตรี

76
หมวด 6 วนิ ัยและการรักษาวนิ ัย
( 3 ) ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ร า ช ก า ร ใ ห้ เ กิ ด ผ ล ดี ห รื อ
ความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความตั้งใจ อุตสาหะ
เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ
(4)ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาซ่ึงสั่งใน
หน้าท่ีราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ ระเบียบของ
ทางราชการ โดยไม่ขดั ขืนหรอื หลีกเลี่ยง
(5)ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือ
ทอดทง้ิ หนา้ ที่ราชการมิได้
(6)ตอ้ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ
(7)ต้องรักษาช่ือเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์
ของตาแหน่งหน้าท่รี าชการของตนมใิ ห้

77

หมวด 6 วินัยและการรักษาวนิ ยั
มาตรา 83 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องไม่กระทาการ
ใดอนั เปน็ ข้อห้าม ดังต่อไปนี้
(1)ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาการรายงานโดย
ปกปิดขอ้ ความซ่ึงควรต้องแจ้งถอื ว่าเปน็ การรายงานเทจ็
(2)ต้องไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทาการข้าม
ผบู้ งั คบั บัญชาเหนอื ตน เวน้ แตผ่ ูบ้ ังคับบัญชาเหนือตนข้ึน
ไปเปน็ ผู้สง่ั ให้กระทา
(3)ต้องไม่อาศัยหรือยอมให้ผู้อ่ืนอาศัยตาแหน่งหน้าที่
ราชการของตนหาประโยชนใ์ ห้แก่ ตนเองหรอื ผู้อืน่
(4)ตอ้ งไมป่ ระมาทเลนิ เล่อในหน้าที่ราชการ
(5)ต้องไม่กระทาการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทาการหา
ผลประโยชนอ์ ันอาจทาใหเ้ สียความเทย่ี งธรรม
(6)ต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือ
ดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล้ายคลึงกันน้ัน
ในหา้ งหุน้ สว่ นหรือบรษิ ทั

78

หมวด 6 วนิ ยั และการรักษาวนิ ยั
มาตรา 85 การกระทาผิดวินัยในลักษณะดังต่อไปนี้
เป็นความผิดวินัยอยา่ งร้ายแรง
(1)ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ โดยมิ
ชอบเพ่ือใหเ้ กิดความเสยี หายอยา่ งร้ายแรง
(2)ละทิ้งหรือทอดทง้ิ หน้าท่รี าชการ โดยไม่มเี หตุผลอัน
สมควรเปน็ เหตใุ ห้เสียหายแกร่ าชการ อย่างร้ายแรง
(3)ละทิ้งหน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลา
เกินสบิ หา้ วนั โดยไม่มีเหตุอนั สมควร
(4)กระทาการอันได้ชื่อวา่ เปน็ ผปู้ ระพฤติชัว่ อยา่ งร้ายแรง
(5)ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทาร้าย
ประชาชนผู้ติดต่อราชการอยา่ งร้ายแรง
(6)กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษท่ี
หนกั กว่าโทษจาคุกโดยคาพากษา

79

80

จรรยาบรรณ
วิชาชพี ครู

81

จรรยาบรรณวชิ าชพี หมายถึง

ประมวลความประพฤติ ข้อบังคับ มารยาท ที่ผู้
ประกอบวิชาชีพแต่ละอย่างกาหนดข้ึน เพ่ือรักษาและ
ส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง ฐานะของสมาชิก ความดี
งามรวมทั้งก่อให้เกิดความสงบสุขและความเจริญในตัว
คน วิชาชีพ และสงั คม

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู หมายถงึ

ประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพ
จะต้องประพฤติปฏิบัติ เป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
ปฏิบัติอย่างถูกต้องเพ่ือผดุงเกียรติและสถานะ ของ
วิชาชีพ *** จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสาคัญต่อ
วิชาชีพครูเช่นเดียวกับท่ีจรรยาบรรณวิชาชีพ มี
ความสาคัญต่อวิชาชีพอ่ืน ๆ ซึ่งสรุปได้ 3 ประการ
คือ 1.ปกปอ้ งการปฏิบตั งิ านของสมาชกิ ในวชิ าชพี
2.รักษามาตรฐานวิชาชพี
3.พฒั นาวชิ าชพี

82

ลักษณะของจรรยาบรรณวชิ าชีพครู

1.เปน็ คามน่ั สญั ญาหรือพันธะผูกพนั ตอ่ ผู้เรยี น
2.เป็นคามนั่ สัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสงั คม
3.เป็นคามัน่ สญั ญาหรอื พันธะผกู พันต่อวชิ าชพี
4.เป็นคาม่นั สัญญาหรือพันธะผูกพันตอ่ สถานปฏบิ ัติงาน

จรรยาบรรณครู 2556 (จรรยาบรรณของวชิ าชพี

มี 5 กลมุ่ 9 ประการ) ดงั นี้

1.จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
1.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยใน

ตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ
วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ
สังคม และการเมอื งอยู่เสมอ

83

จรรยาบรรณครู 2556 (จรรยาบรรณของวชิ าชพี

มี 5 กลุ่ม 9 ประการ) ดังน้ี

2.จรรยาบรรณต่อวชิ าชีพ
2.ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก

ศรัทธา ซื่อสัตย์อบวิชาชีพทางการสุจริต รับผิดชอบ
ตอ่ วชิ าชพี และเป็นสมาชิกทด่ี ขี ององค์กรวิชาชีพ
3.จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู บั บรกิ าร
ข้อที่ 3ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก
เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื
ข้อที่ 4ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริม
ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ทักษะ และนิสัย
ขอ้ ท่ี 5ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งประพฤติ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี ท้ังทางกาย วาจา และ
จิตใจ

84

จรรยาบรรณครู 2556 (จรรยาบรรณของวชิ าชพี

มี 5 กลมุ่ 9 ประการ) ดังน้ี

3.จรรยาบรรณต่อผรู้ ับบริการ
ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่

กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา
จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศษิ ย์ และผู้รับบรกิ าร

ข้อท่ี 7 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้อง
ให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียก
รับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่
โดยมชิ อบ
4.จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ่วมประกอบวชิ าชพี

ข้อท่ี 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึง
ช่วยเหลือเก้อื กลู ซ่งึ กันและกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยึด
มน่ั ในระบบคณุ ธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

85

จรรยาบรรณครู 2556 (จรรยาบรรณของวชิ าชพี

มี 5 กลมุ่ 9 ประการ) ดงั นี้

5.จรรยาบรรณตอ่ สังคม
ข้อที่ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึง

ประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม
และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข


Click to View FlipBook Version