The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siripong Thongyuang, 2021-03-22 21:56:39

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

หนังสือเล่มเล็ก 604150607

กฎหมาย

การศึกษา

นางสาวทวิศรา เครือหอม
รหัสนักศกึ ษา 604150607

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

คำนำ ก

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์เลม่ นเ้ี ปน็ สรุปเนอื้ หารายวิชากฎหมาย

การศึกษา(1064104) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ท่ีได้

จากเร่ือง กฎหมายการศึกษาและข้อปฏิบัติในส่วนราชการไทย

ท้ังนี้ ในบันทึกสรุปเล่มน้ีมีเนื้อหา ประกอบด้วย รัฐธรรมนูญ

แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560,แผนการศึกษาแห่งชาติ,

ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ค ว า ม ถ นั ด ,ก อ ง ทุ น เ พ่ื อ ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ท า ง

การศึกษา,พ.ร.บ ข่าวสารและข้อมูลทางราชการ,การจัด

การศกึ ษาท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ,กฎหมายและระเบียบข้าราชการ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา,ระเบียบเกี่ยวกับการลา,การพา

นักเรียนไปนอกสถานท่ี,การลงโทษนกั เรียน,วินัยของข้าราชการ

และ จรรยาบรรณวิชาชพี ครู

ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อที่น่าสนใจทาเป็นหน้าปก ตัวเน้น

และ ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณอาจารย์ผู้ให้ความรู้ และแนวทาง

การศึกษา ในรายวิชากฎหมายการศึกษา หวังว่าหนังสือ

อิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ีจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ

ท่าน หากหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ล่มน้ี มีข้อผิดพลาดประการใด

ผ้จู ัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย จดั ทา

ทวิศรา เครอื หอม

เรอื่ ง สารบัญ ข

คานา หนา้
สารบญั
1.รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยพ.ศ.2560 ก
2.แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ข
3.การศึกษาตามความถนดั 1
4.กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา 7
5.พ.ร.บ ข่าวสารและขอ้ มลู ทางราชการ 25
6.การจดั การศึกษาท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ 29
7.กฎหมายและระเบยี บข้าราชการครู 33
และบุคลากรทางการศึกษา 38
8.ระเบียบเก่ียวกับการลา 43
9.การพานกั เรียนไปนอกสถานท่ี
10.การลงโทษนกั เรียน 56
11.วนิ ัยของขา้ ราชการ 62
12.จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 66
73
80

1

รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศักราช 2560

หมวดและมาตรา 2
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการศึกษา

หมวดท่ี 4
หนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย *มาตรา 50

หมวดที่ 5
หน้าทขี่ องรฐั *มาตรา 54

หมวดท่ี 16
การปฏิรปู ประเทศ *มาตรา258,261
ดา้ นการศกึ ษา

3

หมวดและมาตรา
ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการศึกษา

หมวดที่ 4
หนา้ ทขี่ องปวงชนชาวไทย *มาตรา 50

มาตรา 50 บคุ คลมหี นา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้
(4) เขา้ รับการศกึ ษาอบรมในการศกึ ษาภาคบงั คบั

หมวดและมาตรา 4

ทเี่ กีย่ วข้องกบั การศึกษา

หมวดที่ 5 หน้าทข่ี องรัฐ

มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับ
การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวยั เรียนจนจบ
การศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมีคุณภาพ
- รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและ
พัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ
วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาให้สมกบั วยั
- รัฐตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนได้รบั การศึกษาตาม
ความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริมให้มีการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชน ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการ
กากบั ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหก้ ารจัดการศกึ ษา

หมวดและมาตรา 5

ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา

หมวดท่ี 16 การปฏิรูปประเทศ

มาตรา 258 ให้ดาเนนิ การปฏริ ูปประเทศ
จ. ด้านการศกึ ษา

(1) ใหส้ ามารถเริ่มดาเนนิ การให้เด็กเล็กได้รบั การดูแล
และพฒั นาก่อนเขา้ รบั การศึกษาตามมาตรา 54 วรรค
สอง เพอ่ื ให้เดก็ เลก็ ได้รบั การพัฒนารา่ งกาย จิตใจ
วินัย อารมณส์ งั คม และสตปิ ัญญา
(2) ใหด้ าเนินการตรากฎหมายเพื่อจดั ต้ังกองทุนตาม
มาตรา 54 วรรค 6
(3) ใหม้ ีกลไกและระบบการผลติ คัดกรองและพัฒนา
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพครแู ละอาจารย์ให้ไดผ้ ้มู ีจติ วญิ ญาณของ
ความเปน็ ครูมคี วามรู้ความสามารถอย่างแทจ้ รงิ ได้รับ
ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถ

หมวดและมาตรา 6

ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การศึกษา

หมวดท่ี 16 การปฏริ ปู ประเทศ

(4) ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนทุกระดับเพื่อให้
ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุง
โครงสรา้ งของหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมาย

มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258
ให้มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่
คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดาเนินการศึกษาและจัดทา
ข้ อ เ ส น อ แ น ะ แ ล ะ ร่ า ง ก ฎ ห ม า ย ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร
ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรี
ดาเนินการตอ่ ไปให้คณะรัฐมนตรแี ต่งต้ังคณะกรรมการ
ใหแ้ ล้วเสร็จภายใน 60 วนั

7

แผนการศึกษา
แหง่ ชาติ

8

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
2560 – 2579

เป็นการวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด
การศึกษาของประเทศการจัดการศึกษาของประเทศใน
การพัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของคนไทย
ทุกช่วงวัยให้เต็มตามศักยภาพสามารถแสวงหาความรู้
และไดเ้ รยี นรู้ด้วยตนเองสอดคล้องกับหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลก
ศตวรรษที่ 21

9

สภาวการณแ์ ละบรบิ ทแวดล้อมที่มผี ลตอ่
การพัฒนาการศึกษาของประเทศ

ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสารแบบก้าวกระโดดท่ีมีผลต่อระบบเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ ภูมภิ าค และของโลก

- การปฏิบัติดิจิทัลต่อการเปล่ียนแปลงสู่การ
ปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรม 4.0

- สญั ญาประชาคมโลก
- ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียนต่อ
ระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ การเมือง
และความมนั่ คง
- การปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจและสังคม ให้พร้อม
รองรบั ประเทศไทยยคุ 4.0

10

การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร

- สถานการณส์ ังคมสงู วัยในประเทศไทย

ทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21

3RS ประกอบดว้ ย
- อ่านออก
- เขยี นได้
- คดิ แลขเปน็

11

ทกั ษะของประชากรในศตวรรษที่ 21

8CS ประกอบด้วย
-ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา
-ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม
-ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวน
ทศั น์
-ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะ
ผ้นู า
-ทกั ษะดา้ นสื่อสาร สารสนเทศ และ รู้เทา่ ทนั สือ่
-ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือ่ สาร
-ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้
-ความมีเมตตา กรุณา วนิ ัย คณุ ธรรรม จรยิ ธรรม

12

สภาวการณ์การเปลย่ี นแปลงของโลก

- การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มท่ีทวี
ความรุนแรงมากขึ้น
- แนวโนม้ ความขดั แย้งและความรุนแรงในสังคม
- การเปลยี่ นแปลงด้านการสาธารณสุข
- ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลกับการ
ดารงชวี ติ

13

ผลการพฒั นาการศกึ ษาไทย
ปี 2552 – 2558

ด้านโอกาสทางการศึกษา
รัฐมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนโอกาสทาง

การศึกษาคอ่ นข้างมากสง่ ผลให้ประชากร ในวยั เรียน
รวมท้ังเด็กด้อยโอกาส และผู้มีความต้องการจาเป็น
พิเศษมีโอกาสได้รับการศึกษาสูงข้ึน แต่ยังเข้าเรียน
ไดไ้ ม่ครบทกุ คนและมีปญั หาการออกกลางคัน
ดา้ นคุณภาพการศกึ ษา

ผลการพัฒนายังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ เน่ืองจาก
ผลสมั ฤทธิ์ททางการเรียนระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานมี
คะแนนต่ากว่าค่าเฉล่ียมากและต่ากว่าหลายประเทศใน
แถบเอเชีย คุณภาพของกาลังแรงงานอายุ 15 ปีขึ้น
ไป ยังไม่ตรงกับความต้องการ ของตลาดงาน

14

ด้านประสทิ ธภิ าพของการจดั การเรยี นการสอน การบริหารจัดการ

และค่าใชจ้ า่ ยงบประมาณทางการศึกษา

ปัญหาเชิงโครงสร้างและระบบการจัดการท่ีต้องได้รับ
การปรับปรุงเป็นลาดับแรก โดยเฉพาะการบริหาร
จัดการสถานศกึ ษา ขนาดเลก็ มอี ยู่จานวนมาก สง่ เสริม
การมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น

ปัญหาและความทา้ ทายของระบบการศึกษา

-คุณภาพของคนไทยทกุ กลมุ่ วัย
-การจัดการศึกษายังขาดคุณภาพและมาตรฐานในทุก
ระดับ
-คนไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหา ด้าน คุ ณธรร ม
จริยธรรม และไมต่ ระหนกั ถึงความสาคัญของการมวี ินยั
-ระบบการ ศึกษาและการพัฒนาบุคลากรด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยยี งั เป็นจุดอ่อน
-การบริหารจดั การศึกษาของสถานศกึ ษายังไมเ่ หมาะสม
-ความเสมอภาคทางการศกึ ษาที่ยงั มีความเหลอื่ มล้า

15

ปญั หาและความท้าทายจากสภาภาวการณ์

ของโลกทปี่ ระเทศต้องเผชญิ

-แรงกดดันจากปัจจัยภายนอก
-แรงกดดนั จากปจั จัยภายใน
-การติดกับดักประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง
-ทศั นนคติ ความเชื่อ ค่านยิ ม วัฒนธรรม
-การเตบิ โตทางเศรษฐกิจของประเทศทตี่ ้องแลก
กับทรัพยากรธรรมชาติ

16

วสิ ัยทัศน์และเป้าหมาย

ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ

แนวคดิ การจดั การศกึ ษา
- หลักการจดั การศึกษาเพอื่ ปวงชน
- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- หลักการจดั การศึกษาเพอื่ ความเท่าเทียมและทวั่ ถึง
- หลักการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนของสงั คม
- ยดึ ตามเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื

วิสัยทศั น์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
“ คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต
อย่างมีคณุ ภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ
เปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 ”

17

โดย มวี ัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา

4 ประการ

-เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
-เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะ
ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
-เพ่ือพัฒนาสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
และคุณธรรม จริยธรรม รู้จักสามัคคี และร่วมมือ
ผนึกกาลงั สูก่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยนื
-เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้
ปานกลาง และความเหลื่อมลา้ ภายในประเทศลดลง

18

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตไิ ดว้ างเปา้ หมายไว้ 2 ด้าน

- เป้าหมายด้านผู้เรียน โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี
21 (3RS,8CS)
- เป้าหมายด้านการจัดการศึกษา ประกอบด้วย
เป้าหมายและตัวชีว้ ัดท่ีสาคญั ดงั นี้
เป้าหมายด้านการจัดการศึกษา
- ประชากรทุกคนขา้ ถงึ การศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ
- ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการ
การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานอยา่ งเท่าเทยี ม
- ระบบการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาผู้เรยี น
ให้บรรลขุ ีดความสามารถเตม็ ตามศกั ยภาพ
- ระบบการบริหารจัดการศึกษาทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ
- ระบบการศึกษาทที่สนองตอบและก้าวทันการ
เปลยี่ นแปลงของโลกทีเ่ ปน็ พลวตั

19

7 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ท่ีสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาตรช์ าติ 20 ปี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคง
ของสงั คมและประเทศชาติ

-คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และ
ยดึ ม่นั ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
-คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
-คนทุกชว่ งวัยได้รบั การศกึ ษา

20

ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ และพฒั นากาลังคน การ
วจิ ยั และนวัตกรรม เพอื่ สรา้ งขดี ความสามารถใน

การแขง่ ขันประเทศ
-กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรง
ตามความตอ้ งการของตลาดงาน
-สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิต
บณั ฑติ ที่มคี วามเชยี่ วชาญ
-การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และ
นวัตกรรมทีส่ รา้ งผลผลิตและมูลคา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกิจ

21

7 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ท่สี อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาตรช์ าติ 20 ปี

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั
และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้

-ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมือง
ไทย และทกั ษะคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21
-คนทุกชว่ งวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ
-สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม
กระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตรอยา่ งมีคณุ ภาพ
-แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อ
การเรียนรมู้ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน
-ระบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมนิ ผล
-ระบบการผลิตครู อาจารย์ และ บุคลากรทางการ
ศึกษา ได้มาตรฐานระดับสากล
- ครู อาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษา ไดร้ ับ
การพัฒนาสมรรถนะตามมาตฐาน

22

7 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ที่สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาตรช์ าติ 20 ปี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค
และความเท่าเทยี ม ทางการศึกษา

-ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการ
เขา้ ถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ
-การเพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดิจทิ ัล
-ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ี
ครอบคลุม

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศึกษาเพอื่ สร้างเสรมิ
คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม

-คนทุกช่วงวัย มีคุณธรรม จริยธรรม และนาเสนอ
แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏิบัติ
-หลกั สตู ร แหล่งเรียนรู้ และสือ่ การเรียนรู้
-การวิจัยเพอ่ื พฒั นาองคค์ วามรู้ และนวตั กรรม

23

7 ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ทีส่ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาตรช์ าติ 20 ปี

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบรหิ าร
จดั การศึกษา

-โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการ
การศึกษามคี วามคล่องตวั ชัดเจน
-ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธภิ าพส่งผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
-ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ี
ตอบสนองความต้องการของประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบ
บริหารจัดการศึกษา

-กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากร
ทางงการศกึ ษา
-ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และ
บุคลากร ทางการศกึ ษามคี วามเป็นธรรม

24

การขับเคลอ่ื นแผนการศกึ ษาแห่งชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ

ความสาเรจ็ ของการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2560 – 2579

-สาระของแผนการศึกษาแห่งชาติท่ีมีความมชัดเจน
ครบถ้วน และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และทุก
ระดบั การศึกษา
-การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาแผนการศึกษา
แห่งชาติ ของผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนต้ังแต่ระดับ
นโยบาย ระดับปฏิวตั ิ ผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย
-การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการศึกษา
แห่งชาติ
-การนาแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน
แก่ผปู้ ฏิบัตทิ ุกระดับ

25

การศึกษา
ตามความถนัด

26

โครงสร้างของหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดระดับ
การศกึ ษาเปน็ 3 ระดับ ดงั นี้

1. ระดบั ประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1–6)
การศกึ ษาระดบั นีเ้ ปน็ ชว่ งแรกของการศกึ ษาภาคบงั คบั
มุ่งเนน้ ทักษะพื้นฐานดา้ นการอ่าน การเขยี น

2. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่
1–3) เป็นช่วงสดุ ทา้ ยของการศึกษาภาคบังคับ มงุ่ เน้น
ให้ผู้เรยี นไดส้ ารวจความถนดั และความสนใจ

3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี
4–6) การศกึ ษาระดบั นีเ้ น้นการเพ่มิ พนู ความรูแ้ ละ
ทกั ษะเฉพาะดา้ น สนองตอบความสามารถ

27

ความแตกตา่ งระหวา่ งการสอนแบบเดิมกบั การจัดการเรียนรทู้ ่ี

เน้นผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง

แบบเดมิ

-เนน้ เน้อื หา

-ผสู้ อน บอก ส่ัง

-การสือ่ สารทางเดียว

-ผู้เรียนจด จา สอน สืบ

-บรรยากาศปดิ กน้ั ความคิด

-ประเมนิ เนื้อหา ผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง

-เน้นกระบวนการและผลงาน

-ผู้สอนสนับสนุนให้เกดิ การเรยี นรู้

-การสื่อสารสองทาง

-ผ้เู รยี นเรยี นรูร้ ว่ มกนั /คน้ คว้า ความร้ผู ่าน

-กระบวนการคดิ /บรรยากาศสร้างสรรคค์ วามคิด

-ประเมินกระบวนการและผลงาน

28

สง่ิ สำคัญในการศึกษาเรยี นรตู้ ามความถนดั

การใชว้ ิดิทัศน์
การใช้ภาพและเสยี ง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้

ดีขึ้น โดยเฉพาะเน้ือหาท่ีเป็นนามธรรม การใช้วิดิทัศน์มี
ทั้ง ภาพยนตร์ วีดีโอคลิป โปรแกรมกราฟฟิกซงึ่ แหล่ง
ที่สามารถหาวิดทิ ัศน์เหลา่ น้ี คือ อนิ เตอรเ์ นต็
เพลงและเสยี ง

เพลงเป็นส่ือท่ีเข้าถึงผู้เรียนได้ดี ท้ังนี้มีการใช้เพลง
เพ่ือการเรียนการสอนมานานแล้ว ในวิชาเคมีเน้ือหาท่ีใช้
เพลงในกจิ กรรมการเรยี น
โปรแกรมประยกุ ต์ (Application Program)

ครูสามารถใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ในการส่งเสริมการ
เรยี นรขู้ องผเู้ รยี นไดม้ ากมาย โดยอาจจะเรม่ิ ต้นจากการ
ใชโ้ ปรแกรมประจาเครอ่ื ง เช่น Microsoft Word Excel
และ PowerPoint

29

กองทนุ เพ่ือความเสมอภาค
ทางการศึกษา

30

ความเปน็ มากองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศึกษา

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา จัดตั้ง
ข้ึนตามข้อเสนอของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป
ก า ร ศึ ก ษ า โ ด ย ป ร า ก ฎ ใ น รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 54

พ.ร.บ.กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา
พ.ศ.2561 ประกาศใช้บังคับเมื่อวันท่ี 14 พฤษภาคม
2561 มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความเสมอภาคทาง
การศึกษา ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ลดความ
เหล่ือมล้าทางการศึกษา รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนา
คุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐเป็นผู้จัดสรร
งบประมาณให้กองทุน และมีการบริหารงานท่ีเป็น
อสิ ระ

31

สาเหตขุ องความเหลอ่ื มลา้ ในการศึกษา

1. คุณภาพหรอื มาตรฐานของสถานศกึ ษา
2. คณุ ภาพหรอื ประสทิ ธภิ าพของครู
3. ฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื สังคม

ภารกจิ ของกองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา

กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา หรือ
กสศ. มีภารกิจในการช่วยเหลือดูแลกล่มุ เป้าหมายซงึ่ เป็น
ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือด้อยโอกาสนับตั้งแต่แรกเกิด
จนถึงวัยแรงงานให้ได้รับโอกาสทางการศึกษา เพ่ือ
บรรเทาความยากจนอันเป็นรากเหง้าของปัญหาอ่ืน ๆ
การทาให้เรื่องนส้ี าเร็จได้เป็นรูปธรรม ต้องใช้นโยบายที่
มุ่งสร้างความเสมอภาคโดย กสศ. เป็นองค์กรที่มี
บทบาทใ นก ารพั ฒนา ตัว แบบ นา ไป สู่ผล ลัพ ธ์
เปลยี่ นแปลงชวี ติ เดก็ และเยาวชนได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม

32

ภารกิจของกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา

1.สร้างเสริมองค์ความรู้และบริการจัดการเชิงระบบ
เพอ่ื สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา
2.ลงทุนโดยใช้ความรู้นา เพื่อช่วยเหลือและสร้าง
คุณค่าเพิม่ แกก่ ลุ่มเป้าหมาย
3.ระดมการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์จากทุกภาค
สว่ น
4.เสนอแนะมาตรการเพื่อสร้างความเปล่ียนแปลงเชิง
นโยบาย

33

พ.ร.บ ขา่ วสาร และ
ขอ้ มูลทางราชการ

34

บทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย พ.ร.บ.ขอ้ มลู ข่าวสาร

ของราชการ พ.ศ. 2540

-หมวด 1 การเปดิ เผยขอ้ มูลขา่ วสาร
-หมวด 2 ขอ้ มลู ขา่ วสารทไี่ ม่ตอ้ งเปดิ เผย
-หมวด 3 ขอ้ มูลขา่ วสารส่วนบคุ คล
-หมวด 4 เอกสารประวตั ศิ าสตร์
-หมวด 5 คณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
-หมวด 6 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสาร
-หมวด 7 บทกาหนดโทษ

35

ประเภทขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ

“ข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า ส่ิงท่ีสื่อ
ความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจรงิ ข้อมูล หรอื สงิ่ ใด
ๆ ไม่ว่าการส่ือความหมายนั้นจะทาได้โดยสภาพของ
ส่ิงนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้
จัดทาไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ
แผนผงั แผนท่ี ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิลม์

“ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า ข้อมูล
ข่าวสารท่ีอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของ
หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
การดาเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับ
เอกชน

36

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560

หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
มาตรา 41 บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (1) ได้รับ
ทราบและ เข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะใน
ครอบครองของ หนว่ ยงานของรัฐตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ
หมวด 4 หนา้ ท่ีของรฐั
มาตรา 59 รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ
ใน ครอบครองของหน่วยงานของรัฐที่มใิ ช่ขอ้ มลู เกี่ยวกับ
ความมั่นคง ของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการ
ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ และต้องจัดให้ประชาชนเข้าถึง
ข้อมลู ดังกล่าวได้โดยสะดวก
ประชาชนผทู้ รงสทิ ธริ บั รูข้ อ้ มูลข่าวสารของราชการ

- ประชาชนคนไทย
- คนต่างดา้ วทม่ี ถี ่ินทอี่ ยใู่ นประเทศไทย
- เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั (ในกรณที ีก่ ระทบสิทธขิ องตน)
- บคุ คลธรรมดา และนิติบุคคล/กลุม่ บคุ คล

37

ขอ้ มูลข่าวสารของราชการทเี่ ปดิ เผยเปน็ การเฉพาะ

ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หมายความว่า ข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับ เฉพาะตัวบุคคล เช่น การศึกษา
ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรมหรือ
ประวัติการทางาน บรรดาท่ีมชี ื่อของผู้น้ันหรือมีเลขหมาย
รหัสหรือส่ิงบอกลักษณะอ่ืนท่ีทาให้รู้ตัวผู้นั้น ได้
(มาตรา 4) ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ไี มต่ ้องเปิดเผย (มาตรา 21)
⮚ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่เปิดเผยไม่ได้ของราชการ
ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
จะเปดิ เผยมิได้
⮚ ข้อมูลข่าวสารของราชการท่ีเจ้าหน้าท่ีหรือหน่วยงาน
ของรฐั อาจมคี าส่งั มใิ ห้เปิดเผย

(1) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความ
มัน่ คงของประเทศ

(2) การเปิดเผยจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อม
ประสิทธภิ าพ

38

การจัดการศึกษา
ทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั

39

การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั

การสอนโดยเน้นท่ีผู้เรียนเป็นสาคัญ จะช่วยพัฒนา
ผู้เรียนในทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
สติปัญญา ทั้งด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ (ลักษณะ
นสิ ัย) และท้ังด้าน IQ (Intelligence Quotient) และ
ด้าน EQ (Emotional Quotient) ซึ่งจะนาไปสคู่ วาม
เป็นคนเก่ง คนดี และมคี วามสขุ

ความสาคัญด้วยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 โดยเฉพาะในหมวดท่ี 4 แนวทางการจัด
การศกึ ษา มาตรา 22 ได้กล่าวไว้ว่า การจัดการศึกษา
ต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พฒั นาตนเองได้ และถอื ว่าผู้เรยี นมคี วามสาคัญท่ีสดุ
ดังนัน้ ผู้สอนทุกคนจึงจาเป็นต้องปรับเปลยี่ นบทบาท
ของตนเอง เป็นผู้กระตุ้น ส่งเสริมสนับสนุนจัดส่ิงเร้า
และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาให้เต็มตาม
ศักยภาพ ความสามารถ ความถนัด

40

หลกั การของการเรยี นการสอน

ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั

1.การวิเคราะห์ผู้เรียน การรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล
หรอื รายกลุ่มชว่ ยให้ครูผ้สู อนมีขอ้ มลู ที่
2.การใช้จิตวิทยาการเรียนรู้และการบูรณาการคุณธรรม
คา่ นิยมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3.การวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเชื่อมโยง
กับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ใน
สถานศกึ ษา
4.การออกแบบการเรียนรู้ตามสภาพจรงิ ให้สอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานหลกั สตู รและเช่ือมโยง บูรณาการระหวา่ งกลุ่ม
5.การออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดย
ใช้เครื่องมือวัดท่ีหลากหลาย เพ่ือสะท้อนภาพได้ชัดเจน
และแนน่ อนว่าผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรดู้ า้ นตา่ ง ๆ

41

วธิ สี อนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั

1.ครผู ูส้ อนมคี วามรู้ความเข้าใจ
2.ครูผสู้ อนมีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเขา้ ใจ
ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ใช้หลกั การวิเคราะห์ผู้เรียน
3.ครูผู้สอนมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้
4.ครูผู้สอนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ
พัฒนาการเรียนเของตนเองและผู้เรยี น
5.ครูผู้สอนมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่
สอดคล้องกับสภาพการเรียนรทู้ ่จี ัดให้ผูเ้ รียน
6.ครูผสู้ อนมีการนาผลประเมินมาปรับเปล่ียนการเรียน
การสอน เพื่อพฒั นาผ้เู รยี นให้เตม็ ตามศกั ยภาพ
7.ครูผู้สอนมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียนและนาผลไปใช้พฒั นาผู้เรยี น

42

1.ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม
2.ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของ
ตนเอง
3.ผู้เรียนทากจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรูจ้ ากกล่มุ
4.ผู้เรียนฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์
จนิ ตนาการ ตลอดจนได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมี
เหตุผล
5.ผู้เรยี นได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบแก้ปัญหา
ทั้งด้วยตนเองและร่วมดว้ ยช่วยกัน

43

กฎหมายและระเบยี บขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา

44

พระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.
2547”
มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั นิ ้ี

“ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ”
หมายความวา่ บุคคลซึ่งได้รบั การบรรจุและแต่งตัง้ ตาม
พระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจาก
เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ

“ข้าราชการครู” หมายความว่า ผู้ท่ีประกอบวิชาชีพ
ซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ใน
สถานศึกษาของรฐั

“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุน
การศกึ ษาซึ่งเป็นผู้ทาหนา้ ทใ่ี หบ้ ริการ

45

พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาคณะหน่ึง
เรียกว่า “คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา” เรียกโดย ย่อวา่ “ ก.ค.ศ. ”
ม า ต ร า 2 7 ใ ห้ ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น
ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในสถานศึกษาและมีอานาจและหนา้ ที่
มาตรา 31 อัตราเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงิน
ประจาตาแหนง่ ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงิน
วิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่งข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา

46

พระราชบัญญตั ิระเบยี บขา้ ราชการครูและ

บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

เงนิ วทิ ยฐานะ
ชานาญการ : 3,500 บาท
ชานาญการพเิ ศษ : 5,600 + 5,600 บาท
เชี่ยวชาญ : 9,900 + 9,900บาท
สถานศึกษาของรัฐเชย่ี วชาญพิเศษ : 13,000/15,600
+ 13,000/15,600
มาตรา 33 ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
อาจได้รับเงินเพิ่มสาหรับ ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตาม
ระเบียบที่ ก.ค.ศ. กาหนดโดยความเห็นชอบของ
คณะรฐั มนตรี

47

พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

หมวด 3
การกาหนดตาแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับ
เงินเดอื น เงนิ วทิ ยฐานะ และเงินประจาตาแหนง่
ข้าราชการครู
ผู้ประกอบวชิ าชพี : ซ่ึงทาหน้าทหี่ ลกั ทางดา้ นการเรยี น
การสอนและส่งเสรมิ เรียนรู้
บุคลากรทางการศึกษา
- ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา - ผู้บรหิ ารการศึกษา
- ผู้สนับสนุนการศกึ ษา
- ผ้ทู าหน้าทใ่ี หบ้ รกิ ารหรอื ปฏบิ ตั ิงาน
- การนเิ ทศ
- การบรหิ ารการศกึ ษา
- ปฏิบัติงานอนื่


Click to View FlipBook Version