1
ใบงาน สรปุ รายงานการฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา จำนวน 2 แหง่
ณ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาพิษณโุ ลก และวทิ ยาลยั การอาชีพนครไทย จังหวัดพิษณโุ ลก
ระหวา่ งวนั ท่ี 25 เมษายน – ๒๙ เมษายน 256๕
วิทยากรพ่เี ลย้ี ง ผอ.มะณู คมุ้ กล่ำ และ ผอ.ธีรศกั ดิ์ อรณุ วชั รพนั ธ์
ช่อื -สกลุ นางสาวธญั ญพ์ ิชชา ท้วมทับ กลุม่ ที่ 9 เลขท่ี 8
วิเคราะห์บรบิ ทของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
๑. ขอ้ มลู พนื้ ฐานสถานศกึ ษา แห่งที่ ๑ ณ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาพิษณุโลก จังหวัดพิษณโุ ลก
ปรัชญา ทกั ษะนำ คุณธรรมเดน่ เน้นเทคโนโลยี มจี ิตบริการ
อัตลักษณ์ เป็นนักปฏิบัตมิ อื อาชีพ
เอกลกั ษณ์ บริการดี ฝมี อื เดน่ เนน้ ความประณีต
วสิ ัยทศั น์ “ผลิตและพฒั นากำลงั คนด้านอาชวี ศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานสปู่ ระชาคมอาเซียน”
พนั ธกิจท่ี 1 จดั การอาชีวศกึ ษาและฝึกอบรมวิชาชพี ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ บริหารธรุ กจิ คหกรรม
ศิลปกรรม และ อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว ใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐานสู่ประชาคมอาเซียน
พันธกิจท่ี 2 สร้างงานวิจัย นวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ และองค์ความรเู้ พื่อพัฒนาการเรยี นการสอนด้านอาชีพ
พนั ธกิจท่ี 3 บริการวิชาชพี สชู่ ุมชน
พันธกจิ ท่ี 4 เสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และทักษะชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกลยุทธ์
ทีต่ ั้ง วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาพษิ ณโุ ลก เลขท่ี 60 ถนนวังจนั ทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวดั พิษณุโลก
โทรศัพท์ 055-258570 โทรสาร 055-251346
E-mail [email protected] Website www.plvc.ac.th
การจัดการศึกษา วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาพิษณุโลก จัดการศึกษา 3 ระดบั คอื ปวช. ปวส. และปริญญาตรี
2. ขอ้ มลู คา่ นิยม วฒั นธรรมทอ้ งถิน่
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณุโลก ตัง้ อยใู่ นแหล่งชุมชน ซึ่งบรเิ วณดา้ นหนา้ เป็นสถานทพ่ี ักผอ่ นและสถานท่ีออก
กำลังกายของประชาชน ตลอดจน มสี ถานที่ราชการทใ่ี กลเ้ คียง คอื ศาลจงั หวัดพิษณโุ ลก สำนักงานสรรพากรเขต 6
และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร โดยเฉพาะพืชไร่ไดแ้ ก่
ขา้ วโพด มนั สำปะหลัง และถ่ัวเหลอื ง การทำนามีทัง้ นาปีและนาปรัง โดยทำในลกั ษณะนาดำ นาหว่าน นาหวา่ นตม
๓. วิเคราะห์บริบทของสถานศกึ ษา
กรณีสถานศกึ ษามจี ุดเด่นในการนำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาศกึ ษาปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเร็จ สรุป
แนวคิดในการนำไปประยุกต์ใช้ในดา้ นการจัดการอาชวี ศึกษา วิทยาลยั อาชีวศึกษาพษิ ณุโลกเปน็ สถานศึกษา
ท่ีมีครทู ี่มีคณุ วฒุ ิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะในการจดั การเรยี นการสอน
ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั และบรหิ ารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มีความสำเร็จในการ
ดำเนินการตามนโยบายสำคญั ของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด ซึ่งวเิ คราะหจ์ ุดเด่นและจุดด้อย มีดังนี้
จุดเด่น
1) วทิ ยาลัยฯ มกี ารประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติฯ (V-NET) ผลการ
แข่งขันทักษะวิชาชีพ ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ การมงี านทำและศึกษาต่อของผ้สู ำเร็จการศกึ ษา
2) วทิ ยาลยั ฯ มกี ารพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ หรือปรบั ปรุงรายวิชา หรือปรับปรงุ รายวิชาเดิมหรอื
กำหนดรายวิชาเพม่ิ เติมอย่างเป็นระบบ คณุ ภาพและการจัดทำของแผนการจัดการเรยี นรสู้ กู่ ารปฏิบัติที่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็น
2
สำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการช้นั เรยี น การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ การ
บริหารจัดการระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา อาคารสถานที่ ห้องเรยี นหอ้ งปฏบิ ัติการ โรง
ฝึกงาน ระบบสาธารณปู โภคพ้ืนฐาน มรี ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูงเพือ่ การใชง้ านดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
และมีการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี
๓) วิทยาลัยฯ มกี ารพัฒนาการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ ดา้ นความร่วมมอื ในการสร้างสงั คมดา้ นการบริหาร
สถานศกึ ษาแบบมสี ว่ นรว่ ม และด้านการบริการชมุ ชนและจติ อาสา
๔) วิทยาลยั ฯ มีการพฒั นาการสรา้ ง Smart Young Businessman ในด้านการสร้างและการส่งเสรมิ การสร้าง
ผู้ประกอบการภายในและภายนอกสถานศึกษา มีการจดั รายวชิ าเพือ่ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีทางธุรกิจแกผ่ ูเ้ รียน
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชาการพัฒนาระบบพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ รายวชิ าด้านเทคโนโลยที างธุรกจิ และด้าน
พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะ ME3S ผลการทดสอบวัดระดบั ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของผเู้ รยี น ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนเฉลยี่ สะสมของผเู้ รยี น มีการประเมนิ คุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ และผเู้ รยี นได้รับรางวลั จากการประกวดแข่งขนั ภายนอกสถานศึกษา
กรณสี ถานศึกษามีจดุ ดอ้ ยในการนำไปส่กู ารปฏิบตั ิ ให้ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาศึกษาปัจจยั ความทา้ ทาย
(Challenge) ที่ควรพัฒนา สรุปแนวคดิ นวัตกรรมในการนำไปประยุกต์ใช้ และจากการศึกษาเหน็ ว่า จุดด้อยทคี่ วร
พฒั นา และการจดั หานวตั กรรมนำมาประยุกต์ใชใ้ นแต่ละด้าน มีดังนี้
๑) การเสริมสร้างสมรรถนะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอสิ ระใหก้ บั ผู้เรยี น แนวคดิ
ทจี่ ะนำมาพัฒนา คอื จัดทำโครงการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระใหก้ ับ
ผู้เรียนทกุ สาขาวชิ าชพี อย่างจริงและต่อเนอื่ ง
๒) แหลง่ เรียนรู้และศนู ย์วทิ ยบรกิ าร แนวคิดทจ่ี ะนำมาพัฒนา คอื จดั ทำห้องเรียนเฉพาะทางทุกสาขาวชิ าท่ี
จัดการเรียนการสอน
๓) การระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรยี นการสอน และ ผลงานของผูเ้ รียนด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งาน
สร้างสรรค์ หรือ งานวจิ ยั แนวคดิ ทจ่ี ะนำมาพัฒนา คือ กำหนดให้ทกุ สาขางานจัดหาครูพเิ ศษ ครูภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ครู
ผูเ้ ชยี่ วชาญ ผทู้ รงคุณวฒุ ิในสถานประกอบการ ทั้งในประเทศและหรือต่างประเทศรว่ มพฒั นาผเู้ รียน และพฒั นาความรู้
ความสามารถของครูวิชาชีพด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจัย
๔. ประเด็นทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
ประเดน็ ท่ี ๑ กลยุทธ์ในการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศึกษา
- การเปดิ สอนหลกั สูตรใหม่ เร่มิ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ติกสแ์ ละซัพพลายเชน
Plan (การวางแผน) ในการจดั การผลิตกำลังคนอาชวี ศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ระดับ
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) และระดับปริญญาตรี สายปฏิบัตกิ าร หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ (ต่อเน่ือง) โดย
ความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษาและสถานประกอบการมีการสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื และใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อ
เพ่มิ ศักยภาพให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้ทางวชิ าชพี และฝกึ อบรมวิชาชีพของชุมชน พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบมสี ่วนร่วม
มีการปรับประยุกต์หลกั สูตรการเรียนการสอนในสาขาวิชาชพี ที่มีความทนั สมยั มากข้นึ ตรงกับการเปลีย่ นแปลงของกล่มุ
ภาคอตุ สาหกรรม S-Curve และ New-Curve ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ไดเ้ ปิดสอนหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
(ปวช.) และหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ชน้ั สูง (ปวส. สาย ม. ๖) และเนน้ การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษเพื่อการ
สอ่ื สารมาตรฐาน CEFR
Do (วิธกี ารปฏิบัตงิ าน) สถานศึกษามีการยกระดบั การจดั การอาชวี ศกึ ษาระดับหอ้ งเรยี นสง่ เสรมิ คณุ ภาพ
และสรา้ งความเข้มแขง็ ในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษาโดยการพัฒนาหลักสตู รสมรรถนะ และการ
จดั ทำแผนการจดั การเรียนร้ฐู านสมรรถนะสู่การปฏบิ ตั ทิ ี่เน้นผูเ้ รียนสำคญั คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนโดยจัด
3
โครงการนิเทศการสอนด้วยการลงพ้ืนท่ปี ฏบิ ตั ิงานจริง และนิเทศออนไลน์ จัดโครงการจัดหาวิทยากรผูเ้ ชย่ี วชาญ ผู้มี
ประสบการณ์ทางวชิ าชพี การวิชาชพี และจดั การศึกษาใหเ้ ป็นรปู แบบทวภิ าคอี ย่างมีคุณภาพ และการพฒั นาทกั ษะ
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมาตรฐาน CEFR ให้กับครูและผู้เรียน
Check (การตรวจสอบขั้นตอน) ตรวจสอบแผนการจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะสูก่ ารปฏบิ ัติ ให้ตรงกบั ความ
ตอ้ งการของสถานประกอบการโดยรว่ มมือกับสถานประกอบการจดั ดำเนนิ การกำหนดสมรรถนะและคำอธิบายรายวิชา
ใหส้ อดคล้อง การนเิ ทศตดิ ตามการเรียนการสอนด้วยการลงพ้ืนทป่ี ฏิบตั ิงานจริงและนเิ ทศออนไลน์ การตอบรับความ
คดิ เหน็ ในการประชุมสัมมนาระหวา่ งสถานประกอบการ ความพงึ พอใจในการฝึกประสบการวชิ าชพี ของผ้เู รยี นจาก
สถานประกอบการ และผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารมาตรฐาน CEFR ของครูและผูเ้ รยี น
Action (สรุปผลทไ่ี ดร้ บั ) ผลการนิเทศตดิ ตามการเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการลงพน้ื ทีป่ ฏิบัตงิ านของ
ผเู้ รียนจรงิ การตอบรับ ผลการประชุมสมั มนาระหวา่ งสถานประกอบการ ผลการฝึกประสบการวิชาชพี ของผู้เรียนจาก
สถานประกอบการ และการเกิดทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมาตรฐาน CEFR ของครแู ละผู้เรยี น
ประเด็นที่ ๒ การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
- การสรา้ งความรว่ มมือกับบคุ คล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ และสถานประกอบการทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศในการจัดการศกึ ษา และการจดั การะดมทรพั ยากรทางการศกึ ษา
Plan (การวางแผน)
1) สถานศกึ ษามเี ครือข่ายความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพ่ือพฒั นาศักยภาพครูฝึก
ในสถานประกอบการ และนักเรียน นกั ศึกษาทง้ั ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) และระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
ชนั้ สงู (ปวส.)
2) สถานศกึ ษามกี ารจัดการเรยี นการสอน จัดทำหลกั สตู รร่วมกับสถานประกอบการทง้ั ภาครฐั และเอกชน
สามารถผลติ ผู้เรยี นทีม่ ีทักษะออกสตู่ ลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรมกลุ่ม S-Curve และ New-Curve
3) สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการทั้งภาครฐั และเอกชน ร่วมมือกนั จัดทำหลักสตู รการเรียนการสอนให้
สอดคลอ้ งกบั นโยบายของ สอศ. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2561-2574 และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12
Do (วิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน) จากการสำรวจความตอ้ งการผู้เรียนเข้ารว่ มการฝึกประสบการณ์ โดยงานแผนงาน
และความร่วมมือ ที่ขอความอนเุ คราะห์กบั สถานประกอบการทัง้ ในเขตอำเภอ ภายในจงั หวัด และต่างจังหวัด หรอื การ
แนะนำจากหนว่ ยงานราชการทเ่ี ก่ียวข้องกับการศึกษา โดยมีกระบวนการ ดังน้ี
๑) ดำเนินการประชมุ นกั เรียน นกั ศึกษาในการตดั สินใจเลือกฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ตามสถานประกอบการท่ี
วิทยาลัยไดจ้ ดั หาไว้ให้ และลงช่ือความประสงค์การเขา้ รับการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ
๒) จดั ทำหนังสือส่งรายช่อื เขา้ สู่สถานประกอบให้ได้ทราบจำนวนนกั เรียน นกั ศึกษา และจัดทำคำส่ังแตง่ ตั้งครู
นิเทศ ผ้ดู แู ล ควบคุมการฝกึ ประสบการณ์จากสถานประกอบการ
๓) จดั กจิ กรรมปฐมนิเทศกำกับการปฏบิ ตั ิตนระหว่างการฝกึ ประสบการณ์ของนกั เรียน นักศกึ ษา รายงาน
ผปู้ กครองและขออนุญาตผู้ปกครองเพื่อการสง่ ตัวนกั เรียน นกั ศกึ ษาเข้าฝึกประสบการณ์
๔) จดั หายานพาหนะการเดนิ ทางไปยังสถานประกอบการต่างจงั หวดั ตดิ ตามดูแลนกั เรยี น นกั ศกึ ษาระหวา่ งการ
ฝึกประสบการณ์เป็นระยะตลอดการฝึกประสบการณ์จนถึงรบั นักเรียน นักศึกษากลับสู่วทิ ยาลยั
๕) สร้างองคค์ วามรูร้ ะหวา่ งครฝู กึ ประจำสถานประกอบการกับครปู ระจำสาขาวิชาชีพ ในการแลกเปลยี่ นความรู้
ระหวา่ งสถานศึกษาและ-สถานประกอบการณ์ เพ่ือการสร้างวธิ ีการสอนไดต้ รงกบั ความต้องการของ
สถานประกอบการณ์
4
Check (การตรวจสอบข้นั ตอน) จดั ทำผลการสำรวจจำนวนสถานประกอบการ การลงนามความร่วมมอื ของ
สถานประกอบการ ตรวจสอบคณุ สมบตั ิ วุฒกิ ารศึกษาของครฝู กึ ประจำสถานประกอบ การตดิ ตามความพร้อมด้าน
อปุ กรณ์ เคร่อื งมือการปฏบิ ตั งิ าน ความทันสมยั ท่จี ะทำให้นักเรียน นักศึกษาไดร้ บั การเรยี นรูข้ องเคร่ืองมอื อุปกรณก์ าร
ผลิต การออกไปดแู ล นิเทศ ติดตามการพัฒนาตนเองตามสาขาวชิ าชีพของผู้เรยี นจากครูประจำสาขาวชิ าชีพ สอบถาม
แลกเปลย่ี นความกา้ วหนา้ ดา้ นวชิ าชพี ของผเู้ รยี น และศึกษาเทคโนโลยใี หมท่ ่สี ถานประกอบได้นำมาใช้ เพ่ือนำมา
พัฒนาปรับวธิ ีการสอนใหผ้ ้เู รียนในรุน่ ต่อไป
Action (สรปุ ผลทไี่ ดร้ ับ) ผลจากการรว่ มมือกนั จัดดำเนนิ การสรา้ งหลักสูตรใหเ้ กิดความทันสมยั เท่าทนั
เทคโนโลยี ร่วมกบั ชุมชน สถานประกอบการ ผลจากการผลติ ผ้เู รียนท่ีมที กั ษะออกสตู่ ลาดแรงงาน
ประเดน็ ท่ี ๓ ระบบการบรหิ ารจัดการสูค่ ณุ ภาพ
- การสง่ เสริมสนบั สนุนให้ครูและผเู้ รยี นจดั ทำนวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานวจิ ัย และจัดใชส้ อ่ื เทคโนโลยี
Plan (การวางแผน) สร้างและพัฒนาองค์ความรูใ้ หก้ า้ วทนั เทคโนโลยีและจัดทำนวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ดังน้ี
1) สถานศึกษามรี ะบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้กา้ วทนั เทคโนโลยีสมัยใหม่ มกี ารจดั นำระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศตา่ งๆ มาใช้ในงานเก่ียวกับดา้ นการจดั การเรียนและดา้ นระบบงานอืน่ ๆ ได้อย่างตอ่ เน่ือง
2) งานวิจยั นวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์เปน็ ท่ยี อมรับในวงวิชาการและชุมชน สถานศึกษาสร้าง
ความร่วมมอื กบั สถานประกอบการ รา้ นคา้ โดยการนำเอาส่ิงประดษิ ฐไ์ ปเผยแพร่กับชุมชนและได้รบั การจดทะเบียน อนุ
สทิ ธิบตั รสิง่ ประดิษฐ์ จากกองสทิ ธิบัตร กรมทรัพยส์ ินทางปัญญา
๓) การพฒั นาครู และบุคลากรทุกคนใหเ้ กิดความเข้าใจในความสำคญั ต่อการคงอยู่ของสถานศกึ ษา
กระบวนการพฒั นาศักยภาพของตนเองให้สอดคล้องกับการศกึ ษายุคเทคโนโลยีสมยั ใหม่
๔) จดั โครงการพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะร่วมกบั ร่วมกับสถานประกอบการ ส่งเสริมสนบั สนุนครูเขา้ รับ
การพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
๕) จัดสง่ เสริมการจัดทำห้องเรียนเฉพาะทางทุกสาขาวชิ า และส่งเสรมิ การพัฒนาและการประกวดแข่งขนั
นวัตกรรม งานสรา้ งสรรค์ และงานวิจัย ทกุ ประเภทวิชาอย่างต่อเน่ือง
Do (วธิ ีการปฏิบตั งิ าน) การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ครูมีการพฒั นาตนด้านวิชาชีพ ด้วยการเข้ารับการ
อบรม การจดั สรา้ งและพัฒนาสือ่ การจดั การเรยี นรู้ และการเข้าร่วมฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบ รวมถึง
ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ดา้ นวิชาชพี หลักสตู รระยะสั้นของชุมชน นกั เรียน นักศึกษาของวิทยาลัย และร่วมมือกนั
วางแผนปรับกลยุทธ์วธิ ีการจัดการเรยี นการสอนโดยมกี ารตั้งเปา้ หมาย คือ คณุ ภาพของผเู้ รียน และการลดจำนวนการ
ออกกลางคนั ของผเู้ รยี นตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาและกระทรวงศึกษาธิการ
จัดดำเนินการศึกษาแนวทางการปฏบิ ตั ติ นให้ประสบความสำเรจ็ ได้รับการยกย่องและไดร้ ับรางวัลตา่ งๆ มากมาย
ท้ังกับตนเองและรางวลั ทเี่ กิดขึ้นกบั ผเู้ รียน จากครภู ูมิพัฒน์ วนพิพัฒน์พงศ์ ครผู ูส้ อน สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั
และครฐู ิตารีย์ จันทรวทั น์ ครูผู้สอนวชิ าภาษาองั กฤษ
Check (การตรวจสอบขนั้ ตอน) การส่งผลการพฒั นาตนเองทนั ทหี ลงั จากเสรจ็ ส้ินการพฒั นาตนเอง การ
สง่ ผลการตอบรับการเรยี นรขู้ องชุมชนและผเู้ รียนหลังผ่านการเรยี นหรือฝึกอบรม เพือ่ ประเมินผลความพงึ พอใจกบั
รายวชิ า การสรุปผลการตดิ ตามแก้ไขผ้เู รียนที่มีพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ให้ผู้ปกครองและสถานศึกษาได้ทราบ
Action (สรุปผลทไี่ ด้รบั ) ผลจากการพัฒนาตนเองของครู จากการสร้างหรือพฒั นาสื่อการเรยี นการสอน และ
จากการจัดการเรียนการสอนใหแ้ ก่ผู้เรยี น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รียน และผลการลดจำนวนการออกกลางคันได้
ตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ
5
ประเด็นที่ ๔ การขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ
- การบริหารจดั การชน้ั เรยี นโดยใช้แอพพลิเคชั่นการเรยี นการสอน และการจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมา
ใชเ้ กี่ยวกับการจัดการเรยี นการสอนใหก้ ับครูผู้สอน
- การจัดดำเนินการเพิ่มปริมาณผู้เรยี นระบบทวิภาคี
Plan (การวางแผน) การจัดทำแผนการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะส่กู ารปฏบิ ัติทีเ่ นน้ ผู้เรียนสำคญั การ
จดั การเรยี นการสอนโดยจัดโครงการนิเทศการสอนด้วยการลงพื้นที่ปฏิบตั งิ านจรงิ การจัดหาวทิ ยากรผู้เชีย่ วชาญผมู้ ี
ประสบการณ์ทางวชิ าชีพการวิชาชพี การจดั การศึกษาระบบทวภิ าคอี ย่างมคี ุณภาพ และการบริหารจดั การชั้นเรยี นโดย
ใชแ้ อพพลิเคชั่นการเรียนการสอน และการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนให้กับ
ครูผูส้ อน และจดั ทำโครงการทดสอบมาตรฐานวิชาชพี โครงการติว V-NET และ โครงการเสริมสรา้ งสมรรถนะในการ
เป็นผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระแกผ่ เู้ รยี น รวมท้งั การจดั ดำเนินการเพ่ิมปรมิ าณผเู้ รยี นระบบทวิภาคี
และการเพม่ิ สาขาวิชาการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคี
Do (วธิ กี ารปฏิบตั ิงาน) จัดทำแผนการจัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะสู่การปฏบิ ัตทิ ีเ่ นน้ ผู้เรียนสำคัญ การจดั การ
เรยี นการสอนโดยจดั โครงการนเิ ทศการสอนด้วยการลงพน้ื ท่ปี ฏิบตั งิ านจริง จัดหาวทิ ยากรผเู้ ชย่ี วชาญ
ผมู้ ปี ระสบการณ์ทางวิชาชีพการวชิ าชพี และจัดดำเนนิ การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีให้ไดค้ รบทกุ สาขาวิชาอยา่ ง
มีคณุ ภาพ จัดการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นโดยใชแ้ อพพลิเคชนั่ การเรียนการสอน และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาใชเ้ กยี่ วกบั การจดั การเรียนการสอนให้กับครูผู้สอน และจัดทำโครงการทดสอบมาตรฐานวชิ าชพี จัดตวิ V-NET และ
จดั ส่งเสริมสร้างสมรรถนะในการเปน็ ผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระแกผ่ เู้ รยี น
Check (การตรวจสอบข้นั ตอน) การสง่ ผลการพัฒนาตนเองของครผู ู้สอน การจัดดำเนินการจดั การศึกษา
ระบบทวิภาคีให้ไดค้ รบทุกสาขาวิชาอยา่ งมีคณุ ภาพ การบริหารจัดการช้ันเรยี นโดยใชแ้ อพพลเิ คชน่ั การเรยี นการสอน
และการนำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชเ้ กย่ี วกับการจัดการเรยี นการสอนให้กับครผู ู้สอน การจดั ทำโครงการ
ทดสอบมาตรฐานวิชาชพี การจดั ตวิ V-NET และจัดส่งเสรมิ สร้างสมรรถนะในการเป็นผปู้ ระกอบการหรือการประกอบ
อาชีพอสิ ระให้แก่ผเู้ รยี น
Action (สรุปผลท่ไี ดร้ ับ) ผลการพัฒนาตนเองของครูผู้สอน ผลการจดั ดำเนินการจดั การศึกษาระบบ
ทวภิ าคีใหไ้ ด้ครบทุกสาขาวิชาอย่างมีคณุ ภาพ ผลการบริหารจดั การชัน้ เรยี นโดยใชแ้ อพพลเิ คชนั่ การเรียนการสอน
และผลการนำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เก่ียวกบั การจัดการเรยี นการสอนให้กบั ครูผูส้ อน ผลการทดสอบ
มาตรฐานวิชาชีพ และผลการสอบ V-NET ผา่ นเกณฑ์ และผลการเปน็ ผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระของ
ผเู้ รียน
วิเคราะห์บริบทของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
๑. ขอ้ มูลพ้ืนฐานสถานศึกษา แห่งที่ ๒ ณ วิทยาลยั การอาชพี นครไทย จังหวดั พิษณโุ ลก
ปรัชญา ล้ำเลิศวิชาการ ชำนาญวิชาชพี เร่งรบี ตรงเวลา พัฒนาสังคมไทย
อตั ลกั ษณ์ มีใจบรกิ าร
เอกลกั ษณ์ พัฒนาอาชีพส่สู งั คม
วสิ ยั ทศั น์ มุ่งมน่ั จัดการอาชีวศึกษา พัฒนาเทคโนโลยี สร้างคนดสี สู่ ังคมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษาให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน สถานประกอบการ
และดำรงชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พันธกิจที่ 2 สนับสนุนวิจัย และสิ่งประดิษฐ์องค์ความรู้เทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมการ
เป็นผปู้ ระกอบการอาชีวศกึ ษา
6
พันธกิจที่ 3 บริหารจัดการในการให้บริการทางการศึกษา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหม้ ีความทันสมัย และมี
ประสทิ ธภิ าพ
ทต่ี ง้ั วทิ ยาลัยการอาชีพนครไทย เลขท่ี 179 หมู่ 3 ตำบลเนนิ เพิ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพษิ ณุโลก
65120 โทร : 055-363095 แฟกซ์ : 055-363207
2. ขอ้ มลู ค่านิยม วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน
การแต่งกายทุกวันศุกร์ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนนักศึกษาจะมีการแต่งกายด้วยชุดผ้า
เมือง ผ้าไหม ผ้าทอ เพื่อเป็นการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณกี ารแต่งกายของท้องถ่ิน นักเรียนชายก็จะแต่งกายชุดหม้อ
ฮอ่ ม นักเรยี นหญงิ ก็จะแตง่ กายใสช่ ุดผา้ ถุง ซึ่งจะเป็นแบบเดียวกนั ท้ังหมด
๓. วิเคราะห์บรบิ ทสถานศกึ ษา จดุ เด่น , จุดด้อย
จดุ เด่น สถานศึกษาไดม้ ีการวางแผนการดําเนินงานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 พบว่า มีความพร้อมด้านการจัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษา มีจำนวนครูที่มีคุณวุฒิ
การศึกษา เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนและส่งเสริม สนับสนุนให้ครู และบุคลากรทางการศึ กษา ได้รับการ
พัฒนาอย่างเป็นระบบทางวิชาการ วิชาชีพ และด้านคุณธรรม จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนรู้
จากการปฏิบัติจริงโดยมีช่องทางการศึกษาที่ทันสมัย มีการนําระบบข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
และการบริหารสถานศกึ ษา เชน่ ระบบ RMS, E-Office เปน็ ช่องทางในการใหบ้ รกิ ารขอ้ มูล, ตดิ ต่อสือ่ สาร กบั หนว่ ยงาน
ภายนอก วิทยาลัยการอาชีพนครไทย จัดสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ศูนย์ วิทย
บริการ จดั สอื่ แหลง่ เรียนรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
จุดทคี่ วรพฒั นา
1) จัดการระบบดูแลผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อลดปัญหาการออกกลางคัน และเพ่ิม
ปริมาณผู้สำเรจ็ การศกึ ษา
2) จัดอบรม ส่งเสริม สนับสนุน ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ด้านวิชาการ วิชาชีพ และพัฒนา
ตนเองตามแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan)
3) สนับสนุนใหผ้ ู้เรยี นจดั ทำผลงาน ดา้ นนวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวิจยั ทกุ ระดบั ชั้น
4) อบรมการจดั ทำหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ
5) จัดใหม้ หี อ้ งเรยี นเฉพาะทางใหค้ รบทกุ สาขาวชิ า
๔. ประเด็นท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
ประเดน็ ท่ี ๑ กลยทุ ธ์ในการขบั เคล่อื น Future Skill ของสถานศึกษา
- ศนู ย์บม่ เพาะผู้ประกอบการอาชีวศกึ ษาในสถานศึกษา
Plan (การวางแผน) งานสง่ เสริมผลผลิตการค้าและประกอบธุรกิจ ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ ดำเนินการ
เขียนโครงการเข้าแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เพื่อสอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาของ
สถานศกึ ษาในมาตรฐานที่ ๔ การสร้างผู้ประกอบการอาชวี ศึกษา โดยสถานศกึ ษาวางแผนจัดกจิ กรรมการพัฒนาทักษะ
พื้นฐานของนักเรียน นักศึกษา ให้มีความรู้ทางด้านการจัดการธุรกิจอย่างแท้จริง ตลอดจนการพัฒนาทักษะในการคิด
เชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking) ด้วยการสร้างชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรมใหม่ตามสาขาวิชา และนํามาต่อ
ยอดในเชิงพานิชย์ รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายใน การพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ให้สามารถสร้ างช่องทางการเข้าถึง
แหล่งทุนและองคค์ วามร้ธู รุ กจิ เพ่ือเพิ่มช่องทางอาชีพใหแ้ ก่ผู้เรยี นใหส้ ามารถประกอบธรุ กิจได้
Do (วิธกี ารปฏิบัตงิ าน) ด้านการสรา้ งผปู้ ระกอบการสถานศกึ ษาจัดตงั้ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา
เพื่อพฒั นาศักยภาพมีการสง่ เสริมและสนบั สนนุ การสร้างผู้ประกอบการอาชวี ศกึ ษา โดยม่งุ ใหอ้ งค์ความรู้ดา้ นธุรกจิ แก่
นกั เรียนนักศึกษา สามารถประกอบธุรกิจของตนเอง หรอื พัฒนาตอ่ ยอดจากธรุ กิจเดิมโดยการจัดฝึกอบรมการทำ
7
แพลตฟอร์มออนไลน์ในการฝึก Future skill สำหรบั จัดจำหน่ายผลิตภณั ฑท์ มี่ ีวางขายภายในศูนยบ์ ่มเพาะ
ผูป้ ระกอบการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา ดา้ นการพัฒนาทักษะการดำเนนิ ธุรกิจโดยใช้สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ สถานศึกษา
สง่ เสริมสนบั สนนุ ในการพัฒนาทกั ษะการดำเนนิ ธรุ กจิ โดยใชส้ อื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Commerce) เพื่อให้นกั เรียน
นกั ศึกษา สามารถดำเนนิ ธรุ กิจโดยใช้ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์เปน็ เครอื่ งมอื โดยมี แพลตฟอร์มออนไลนเ์ ปน็ ปัจจัยสนบั สนุน
เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทางธุรกิจทีไ่ ด้กำหนดไว้ ซงึ่ เปน็ ปจั จัยทีส่ ำคัญต่อการดำเนนิ ธุรกิจในปจั จบุ นั และอนาคตโดยผู้
ปฏบิ ัติดำเนินการจัดจำหน่ายผลิตภณั ฑข์ องศูนยบ์ ม่ เพาะผู้ประกอบการอาชวี ศึกษาโดยสง่ สินคา้ ตาม
ออเดอร์ที่ไดร้ บั ข้อมลู การส่ังเขา้ มาผ่านแพลตฟอร์มและดำเนนิ การส่งสินค้าผ่านระบบขนสง่ เอกชนและทางไปรษณีย์ไป
ถึงผูร้ บั ปลายทาง
Check (การตรวจสอบขั้นตอน) สถานศึกษามีการสรุปรายงานการดำเนินงานของทุกธุรกิจที่ตั้งขึ้นภายใน
สถานศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชวี ศกึ ษาผ่านแพลตฟอรม์ ออนไลนเ์ ป็นประจำทุกภาคเรียน
โดยสรปุ ข้อมลู สง่ ให้กับงานส่งเสริมผลผลิตการคา้ และประกอบธุรกิจ ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือเพือ่ จะได้ตรวจสอบ
ขอ้ มูลการรายงานผลการดำเนินงานของทุกธุรกิจทีเ่ กิดขน้ึ ภายในสถานศกึ ษา
Action (สรุปผลที่ได้รับ) งานส่งเสริมผลผลิตการค้าและประกอบธุรกิจ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือนำผล
จากการตรวจสอบรายงานผลมาเปรียบเทียบการขายสินค้าของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาระหวา่ งรูปแบบ
การทำธุรกิจขายสินค้าแบบเดิมกับรูปแบบการทำธุรกิจขายสินค้าผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ จะพบว่ามียอดการขาย
สินค้าที่แตกต่างกันโดยที่การทำธุรกิจขายสินค้าผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์มียอดขายที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชดั และจะ
นำผลจากการตรวจสอบรายงานไปพฒั นาปรับปรุงในครง้ั ต่อไป
ประเดน็ ท่ี ๒ การสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
- การความร่วมมือจัดทำบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ MOU กับสถานประกอบการ
Plan (การวางแผน) งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ฝ่ายวิชาการ จัดทำโครงการเพิ่มระดับความพึงพอใจของ
สถานประกอบการหนว่ ยงานชมุ ชนท่มี ตี ่อนักเรยี นนักศึกษาฝกึ งาน และงานความรว่ มมือ ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ
จัดทำโครงการลงนามความร่วมมือกับสถานประกอบการ เสนอเข้าแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕
และจดั ทำคำสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน
Do (วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน) งานอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีและงานความรว่ มมือดำเนนิ การทำบันทกึ ข้อความ
ขออนมุ ัตดิ ำเนินโครงการตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ โดยมีขั้นตอนในการดำเนนิ งานดงั นี้
๑. ให้ครูผู้รับผิดชอบการฝึกงานและฝึกอาชีพของนักเรียนนักศึกษาแต่ละแผนก ออกไปสำรวจสถาน
ประกอบการในพื้นที่และเป็นสถานประกอบการท่ีมีความพร้อมในการรับนักเรียนนักศึกษาเข้าฝกึ งานและฝึกอาชีพและ
จัดส่งรายชอื่ สถานประกอบการมายังงานอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีและงานความรว่ มมือ
๒. งานความร่วมมือจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU กับสถานประกอบการโดยมีการลงนามในบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษากับสถานประกอบการเพื่อร่วมกันจัดการฝึกงานและฝึกอาชีพของ
นกั เรียนนักศึกษา
๓. งานอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีดำเนนิ การทำหนังสือส่งตัวนักเรียนนักศึกษาเข้าฝึกงานและฝึกอาชีพ
๔. มีการประชุมทีมงานคณะกรรมการตามคำสั่งของสถานศึกษาเพื่อมอบหมายภารกิจในการกำกับดูแลติดตาม
ออกนเิ ทศการฝึกงานและฝกึ อาชพี ของนักเรียนนักศึกษา
๕. ครูนิเทศและครูฝึกในสถานประกอบการร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการฝึกงานและฝึกอาชีพของนักเรียน
นกั ศึกษา
Check (การตรวจสอบขั้นตอน) งานอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ดำเนินการกรอกข้อมูลของสถานประกอบการที่มี
นักเรียนนักศึกษาไปฝึกงานและฝึกอาชีพลงในระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องระบบความร่วมมือของสำนักงาน
8
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยดำเนินการกรอกข้อมูลเข้าระบบทุกปีการศึกษาทำให้ทราบว่ามีสถานประกอบการที่
สร้างความเข้มแข็งของระบบความรว่ มมือในการจัดการศกึ ษากับสถานศึกษาจำนวนเทา่ ไร
Action (สรุปผลที่ได้รับ) งานความร่วมมือดำเนินการสรุปจำนวนสถานประกอบการที่ร่วมลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือกับสถานศึกษาและดำเนินการศึกษาความต้องการของสถานประกอบการเพิ่มเติมในการร่วม
จัดการฝึกงานและฝึกอาชีพของนักเรียนนักศึกษาและจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของสถานประกอบการ ที่มีต่อ
นกั เรยี นนักศกึ ษาฝึกงานและฝึกอาชีพ เพือ่ นำผลจากแบบสอบถามมาปรบั ปรงุ พัฒนาแก้ไขในสว่ นทเี่ ป็นข้อเสนอแนะใน
ครง้ั ตอ่ ไป
ประเด็นที่ ๓ ระบบการบรหิ ารจัดการสคู่ ุณภาพ
(คณุ ภาพของสถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี (Best Practice)
- สถานศกึ ษารางวัลพระราชทาน ขนาดเลก็ ประจำปีการศกึ ษา 2555 และประจำปีการศกึ ษา 25๖๐
Plan (การวางแผน) งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื ดำเนนิ การดังนี้
๑. เขียนโครงการเตรยี มความพร้อมเพ่ือรองรบั การประเมินสถานศึกษารางวัลพระราชทาน และโครงการสร้าง
ความตระหนักในการพัฒนาสถานศึกษามุ่งสู่คุณภาพ โดยในรายละเอียดของโครงการจะแยกเป็นกิจกรรมต่างๆ เช่น
ด้านงานวิชาการ ด้านการจดั กิจกรรม ด้านงานอาคารสถานที่ ดา้ นปจั จยั สนบั สนนุ
๒. ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อรับผิดชอบในแต่ละด้านและประเด็นพิจารณา
เพ่อื ดำเนนิ การเก็บข้อมูลย้อนหลงั ๒ ปีการศกึ ษากบั อีก ๑ ภาคเรยี น เพื่อจัดทำรายละเอียดของข้อมูลใส่ในแฟ้มและหา
หลกั ฐานมาประกอบในการประเมิน
๓. มีการวางแผนในการทำงานเพื่อประเมินสถานศึกษารางวัลพระราชทานล่วงหน้า ๑ ปีการศึกษา เพื่อมอง
ยอ้ นกลับไปดูค่าคะแนนท่ีจะต้องรายงานผลเพ่ือรับการประเมินมาเปรยี บเทียบกัน
๔. จัดทำปฏิทินในการติดตามงานในการเก็บข้อมูลโดยมอบหมายให้รองผู้อำนวยการในแต่ละฝ่ายดูแล
ผูร้ ับผดิ ชอบในการเกบ็ ข้อมูลในแตล่ ะด้าน
๕. วางแผนการจัดซ้ือวัสดทุ จ่ี ะต้องใช้ในการรองรบั การประเมินสถานศกึ ษารางวัลพระราชทาน
Do (วธิ กี ารปฏบิ ตั ิงาน) คณะกรรมการที่ไดร้ บั คำส่งั แต่งตั้งทกุ ฝา่ ยมีวธิ กี ารดำเนนิ งานดังน้ี
๑. เร่ิมเกบ็ ข้อมูลในแต่ละประเดน็ ของผูร้ ับผิดชอบโดยมีงานประกันคุณภาพการศึกษา ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
ของข้อมูล Common Data Set โดยเช่อื มโยงข้อมูลท่สี อดคลอ้ งกบั SAR ของสถานศกึ ษา
๒. มีการดำเนนิ โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี และมกี ารสรุปรายงานผลเม่อื เสร็จสนิ้ การดำเนิน
โครงการเพอ่ื จะต้องใช้เป็นขอ้ มลู ประกอบในการใสแ่ ฟม้ ในแตล่ ะดา้ นและสอดรับกบั ประเดน็ พจิ ารณา
๓. ใชแ้ นวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.๒๕๖๔ โดยจัดเป็น
เอกสารจำนวน ๒๔ แฟ้ม และดำเนินการกรอกข้อมูลลงในระบบ e-SAR ซึ่งเป็นเว็ปไซค์ระบบฐานข้อมูลการประกัน
คณุ ภาพจากส่วนกลางโดยงานประกันคณุ ภาพจะเปน็ ผู้กรอกข้อมลู ลงในระบบ
๔. เมื่อกรอกขอ้ มลู ลงในระบบ e-SAR แลว้ โปรแกรมก็จะทำการประมวลผลวิเคราะห์ข้อมลู และรายงานผลของ
SAR ออกมาและนำข้อมูลมาจัดกลุ่มเพื่อนำไปตอบในประเด็นการประเมินในแต่ละด้านของการประเมินสถานศึกษา
รางวัลพระราชทานและต้องมีการจัดทำหลักฐานเพิ่มเติมที่เป็นข้อมูลจะนำมาใช้สนับสนุนในหัวข้อของประเด็นการ
พิจารณาในแตล่ ะด้าน
๕. มกี ารพฒั นาปรบั ปรุงภูมทิ ศั น์ของสถานศกึ ษาทุกสว่ นทเ่ี กี่ยวข้องกบั การประเมินและดำเนินโครงการ
ท่ีบรรจไุ วอ้ ยใู่ นแผนปฏบิ ัติราชการประจำปเี พอื่ ใหส้ อดรับกบั การประเมินในคร้งั นี้
Check (การตรวจสอบขั้นตอน) งานประกันคุณภาพการศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการ
ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อดูค่าคะแนนและมีการเก็บข้อมูลเป็นระยะตามแผนปฏิทินการติดตามงานและ
ดำเนินการกำกับติดตามข้อมูลในแต่ละประเด็นพิจารณาของแต่ละด้านที่ยังมีข้อมูลไม่ครบถ้วน และงานวางแผน
9
งบประมาณจะติดตามการสรุปรายงานผลในการดำเนินโครงการที่อยู่ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีในทุกส้ิน
ปีงบประมาณ กอ่ นที่จะถึงขน้ั ตอนสุดท้ายงานประกันคณุ ภาพต้ังคณะกรรมการเพ่ือคัดกรองตรวจดูข้อมูลภายในแฟ้มว่า
ครบถว้ นสมบรู ณ์หรอื ไม่
Action (สรุปผลที่ได้รับ) รับการประเมินสถานศึกษารางวัลพระราชทานในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดและใน
ระดับภาค ถ้าพบว่าผลคะแนนในการประเมินสถานศึกษารางวัลพระราชทานในระดบั อาชีวศึกษาจังหวัดยงั ไม่เปน็ ท่นี ่า
พอใจก็จะมอบหมายให้ผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละด้านแต่ละแฟ้มนำข้อมูลข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการมาเขี ยนสรุป
รายงานเพ่ือดำเนนิ การหาขอ้ มลู มาสนับสนุนเพม่ิ เติมและรองรบั การประเมินสถานศกึ ษาพระราชทานในระดบั ภาคตอ่ ไป
ประเดน็ ที่ ๔ การขับเคลอื่ นระบบงานวชิ าการ
- การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบ (๑๐๐%) ทุกสาขาวิชาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
(ปวส.)
Plan (การวางแผน) ผู้บริหารสถานศึกษาให้นโยบายการจัดการศึกษาในระบบทวิภาคี โดยมอบหมายให้ฝ่าย
วิชาการ โดยหัวหน้างานอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ดำเนินการจัดทำคำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการจัดการศึกษาในระบบทวิ
ภาคีประกอบด้วยหวั หนา้ แผนกทุกคนมาเปน็ คณะกรรมการดำเนนิ งานและมีการจัดประชมุ คณะกรรมการทุกคนในการ
วางแผนจัดการศึกษาระบบทวิภาคี โดยจัดในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชาโดยให้แผนก
ดำเนินการจัดทำโครงสร้างของหลักสูตร โครงสร้างรายวิชา แผนการเรียนตลอดหลักสูตรและติดต่อหาสถาน
ประกอบการเพื่อรองรบั การฝึกอาชพี ของนักศึกษา
Do (วธิ ีการปฏบิ ตั ิงาน) จดั การศึกษาในระบบทวภิ าคีโดยให้นักศึกษาเรียนในสถานศึกษา ๑ ปีการศึกษา และให้
นักศกึ ษาออกฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ โดยก่อนออกฝกึ อาชพี หวั หนา้ แผนกฯร่วมกับหวั หน้างานอาชวี ศกึ ษา
ระบบทวภิ าคีและหัวหน้างานความรว่ มมือจดั ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกบั สถานประกอบการทีน่ กั ศึกษาจะไปฝึก
อาชพี และจดั ทำสัญญาฝึกอาชีพพร้อมสง่ ตวั นักศึกษาเข้าทำการฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ ๑ ปกี ารศึกษา โดยครู
ฝึกในสถานประกอบการรว่ มกบั ครูผู้สอนร่วมกันจดั ทำแผนการฝึกอาชพี ตามท่กี ำหนดในแผนการเรียนตลอดหลักสูตร
และพฒั นาเนื้อหาการสอนในรายวิชาและนเิ ทศติดตามการฝึกอาชีพของนักศึกษา
Check (การตรวจสอบขนั้ ตอน) สถานศึกษามีการประเมินมาตรฐานการฝกึ อาชีพตามข้อตกลงระหวา่ ง
สถานประกอบการและสถานศึกษา โดยครูผู้สอนและครูฝึกร่วมกันประเมินผลการเรียนในแต่ละรายวิชาตามหลักสูตร
และสง่ ผลการประเมนิ มายังสถานศกึ ษาเพือ่ อนมุ ัตผิ ลการเรยี นในแต่ละภาคเรียน หากมกี ารปฏบิ ัตงิ าน
ที่เกิดขึ้นจากการฝึกอาชีพที่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ก็จะให้นักศึกษาดำเนินการซ่อมตามสมรรถนะที่ไม่ผ่านถึง จะสำเร็จ
การศึกษาตามหลักสตู ร
Action (สรุปผลทไี่ ดร้ ับ) เม่อื นกั ศึกษาจบการศกึ ษาตามหลักสูตรแล้วจะไดร้ บั วุฒิบัตรการศึกษาในระบบ
ทวภิ าคีโดยลงนามร่วมกนั ท้งั 2 ฝ่าย คือ สถานประกอบการและสถานศึกษา พรอ้ มเรม่ิ การทำงานในสถานประกอบการ
ตามข้อตกลงเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว อีกส่วนหนึ่งก็จะเข้าสู่ระบบของการทำงานในโลกอาชีพปัจจุบันโดยสถานศึกษา
จะมีการติดตามภาวะการมีงานทำของผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วทุกคน และนำผลจากการจัดการศึกษาในระบบ
ทวภิ าคขี องแต่ละสาขาวิชาไปปรบั ปรงุ ให้ดีขึน้ ในปกี ารศกึ ษาถัดไป
- การจัดการเรียนรู้หอ้ งเรียนอาชีพในโรงเรียนมัธยม
Plan (การวางแผน) ผู้บริหารสถานศึกษารับนโยบายมาจากศึกษาธิการจังหวัดซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบตามนโยบาย
ของรัฐบาลในการดูแลการจดั การเรียนการสอนหอ้ งเรยี นอาชีพโดยจะมีการดำเนนิ การ 2 รปู แบบคือ รปู แบบที่
1. การจดั หลกั สตู รอาชีพระยะสั้น เพื่อใหเ้ ด็กเรียนรู้แล้วสามารถทำได้ หรอื เปน็ อาชีพได้ เช่น การประกอบอาหาร การ
ทำขนม เปน็ ต้น และ 2.การจดั การเรยี นการสอนอาชีพที่จดั เป็นหน่วยการเรียน โดยกำหนดให้เรียนในวิชาพน้ื ฐาน หรือ
วชิ าเลือก ซ่งึ ผู้เรียนสามารถนบั และเกบ็ หน่วยกิตตัง้ แต่มธั ยม หากตอ้ งการศกึ ษาต่อด้านสายอาชีพก็สามารถนำหน่วยกิต
ไปนับรวมได้ สำหรับวิทยาลัยการอาชีพนครไทยได้ดำเนินการในรูปแบบที่ ๒ คือ การจัดการเรียนการสอนอาชีพที่
10
จัดเป็นหน่วยการเรียนโดยมีโรงเรียนที่ร่วมจัดการศึกษาอยู่ ๒ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนนครไทย สังกัด สพม. มีจำนวน
ผู้เรียน ๓๐ คน และโรงเรียนศรอี ินทราทิตยพ์ ิทยาคมสงั กัด อปท. มีจำนวนผู้เรยี น ๕๐ คน โดยจัดการเรียนการสอนใน
รายวชิ า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น ๑-๒ มกี ารเกบ็ รายวชิ าเป็นหลักสูตรระยะสั้นโดยจัดตารางเรียนในชั่วโมง
ของรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพของโรงเรียน สัปดาหล์ ะ ๒ ชวั่ โมง จำนวน ๑๘ สัปดาห์ โดยจัดครูผู้สอน
ประจำวิชาเขา้ ไปสอนในโรงเรยี นและจดั เตรยี มวสั ดุฝึก เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการสอนไปดว้ ย ก่อนทำการสอนได้มกี ารลงนาม
บนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ร่วมกบั สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดและผู้อำนวยการโรงเรยี นท่รี ่วมจดั การศกึ ษา
Do (วิธีการปฏิบตั ิงาน) จดั ตารางเรยี นตารางสอนของครผู ู้สอนและผเู้ รียนโดยสอนในชวั่ โมงรายวชิ าของกลุ่ม
สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพสัปดาห์ละ ๒ ชว่ั โมง มีทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติโดยบูรณาการการใชว้ ัสดฝุ กึ ในการ
เรียนการสอนจากของสถานศึกษาแบ่งไปใช้ในโรงเรียนส่วนหนง่ึ เนอ่ื งจากไดร้ ับงบประมาณสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา
จากสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ไมเ่ พยี งพอและครูผู้สอนต้องใช้พาหนะในการเดนิ ทางไปทำการสอนในแตล่ ะสปั ดาห์
และเกดิ ปัญหาในสถานการณ์ของการแพรร่ ะบาดเช้อื ไวรสั โควดิ -๑๙ จำเป็นต้องมีการปรับรูปแบบการเรียนการสอน
เปน็ แบบออนไลน์
Check (การตรวจสอบขั้นตอน) สถานศึกษามีการประเมินรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนเป็นรูปแบบของ
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น คือ มีผลผ่าน/ไม่ผ่าน เพื่อนำผลการประเมินไปออกใบประกาศให้กับผู้ผ่านการเรียนตาม
หลักสตู รและไดส้ ่งผลคะแนนเก็บที่เป็นคะแนนดบิ ไปให้โรงเรียนท่ีร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อจะได้ประเมินผลการเรียนใน
สว่ นวิชาของกลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพในภาคเรียนนนั้
Action (สรุปผลที่ได้รับ) เมื่อจัดการเรียนการสอนเสร็จสิ้นในภาคเรียนนั้นแล้วก็ทำการตรวจสอบผลการ
ดำเนินงานว่าผู้เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ในการเรยี นอยูใ่ นระดับใดและสง่ ผลให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนสายอาชพี อยู่
หรือไม่ ถ้าสำเร็จการศึกษาในระดับชั้น ม.๓ แล้วจะมาสมัครเรียนต่อในสายอาชีวศึกษาหรือไม่ ในส่วนผลกระทบจาก
การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์โควิด-๑๙ ซึ่งทำให้เกิดการสอนที่ไม่เต็มประสิทธิภาพ
เน่ืองจากผู้เรียนไมเ่ ขา้ ห้องเรยี นออนไลน์และครทู รี่ ับผดิ ชอบในโรงเรยี นมธั ยมไม่ได้ใหค้ วามรว่ มมือ
ในการตดิ ตามผเู้ รยี นจงึ ตอ้ งมีการปรบั ปรุงวางแผนจัดการศกึ ษาให้ดขี นึ้ ในปกี ารศกึ ษาถดั ไป
สรปุ การขบั เคลือ่ นนสถานศึกษาสู่มาตรฐานคุณภาพและมุ่งสู่วถิ ชี ีวิตอนาคต (Next Normal) ดว้ ย PDCA
11
ภาพประกอบการฝกึ ประสบการณ์
แห่งที่ ๑ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพษิ ณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- การสร้างความรว่ มมือกับบุคคล ชมุ ชน องคก์ รต่าง ๆ และสถานประกอบการทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ
ในการจัดการศกึ ษา และการจัดการะดมทรัพยากรทางการศกึ ษา
12
13
14
15
แห่งที่ ๒ วิทยาลัยการอาชีพนครไทย จงั หวัดพิษณโุ ลก
16
17
18
19
การพัฒนาข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรง
ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษา กิจกรรมที่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก 3
วิทยาลัยการอาชีพนครไทย
นางสาวธัญญ์พิชชา ท้วมทับ
กลุ่มที่ 9 เลขที่ 8
วิทยากรพี่เลี้ยง ผอ.มะณู คุ้มกล่ำ และ ผอ.ธีรศักดิ์ อรุณวัชรรพันธ์
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ