กริยารูป
ยกย่อง และ
ถ่อมตน
ในภาษาญี่ปุ่น
ปวริศ ทองมณี เลขที่ 7 6/13
กริยารูปสุภาพ
กริยารูปยกย่อง (尊敬語 - そんけいご)
ภาษาสุภาพเชิงยกย่องแสดงความเคารพ เป็นภาษาที่ใช้พูด
ยกย่อง แสดงความเคารพให้เกียรติ ต่อบุคคลซึ่งเป็น “คนทำกริยา”
หรือผู้ที่อยู่ในสภาพใดๆ
★ ★รูปแบบปกติ
① ~れる、~られる
読みます - 読まれます
受けます - 受けられます
します - されます
山田先生がこの本を書かれました。
= อาจารย์ยามาดะเขียนหนังสือเล่มนี้
② ~お(ご)+ กริยารูป ます + になる
山田先生は毎日、新聞をお読みになります。
= อาจารย์ยามาดะอ่านหนังสือพิมพ์ทุกเช้า
★ ★รูปแบบกริยาเฉพาะ
行きます - いらっしゃいます
来ます - いらっしゃいます
います - いらっしゃいます
言います - おっしゃいます
見ます - ご覧になります
กริยารูปสุภาพ
กริยารูปยกย่อง (尊敬語 - そんけいご)
食べます - 召し上がります
飲みます - 召し上がります
知っています - ご存知です
します - さないます
くれます - くださいます
~です - ~でいらっしゃいます
死にました - お亡くなりになりました
寝ます - お休みになります
山田先生がおっしゃいました。
= อาจารย์ยามาดะพูด
กริยารูปถ่อมตน (謙譲語 -
けんじょうご)
ใช้เมื่อลดสถานะของตนเอง เพื่อให้เกียรติฝ่ายตรงข้าม โดยคำนี้จะใช้กับผู้
พูดหรือตัวเองเท่านั้น กล่าวคือ ผู้พูด (ตัวเรา) ใช้คำถ่อมตน เพื่อลดตัวเอง ให้ฝ่าย
ตรงข้ามสูง
★ ★รูปแบบปกติ
お(ご)+ กริยารูป ます + します
私がその鞄をお持ちします。
= ฉันจะถือกระเป๋าใบนั้น (ให้นะคะ/ครับ)
กริยารูปสุภาพ
กริยารูปถ่อมตน (謙譲語 - けんじょうご)
★ ★รูปแบบกริยาเฉพาะ
行きます - まいります
きます - まいります
います - おります
言います - 申します
見ます - 拝見します
食べます - いただきます
飲みます - いただきます
知っています - (物を)存じております、
(人を)存じ上げております
します - いたします
あげます - さしあげます
会います - お目にかかります
聞きます - 伺います
あります - ございます
~です - ~でございます
資料を拝見しました。
= ดูเอกสารแล้วค่ะ/ครับ
กริยารูปสุภาพ
ข้อควรรู้เกี่ยวกับคำกริยา
คำยกย่องแบ่งออกคร่าวๆ ได้เป็น 4 กลุ่มคือ
1.เปลี่ยนจากคำสามัญ เป็นคำพิเศษ เช่น
会社 貴社 御社บริษัท ( : kaisha) เปลี่ยนเป็น
(kisha) หรือ
(onsha)
夫 ご主人 旦那様สามี ( : otto) เปลี่ยนเป็น
(goshujin) หรือ
(danna sama) (ojousama) หรือ
(meshi
娘 お嬢様บุตรสาว ( : musume) เปลี่ยนเป็น
ご息女様 (gosokujosama)
食べる 召し上がるทาน ( : taberu) เปลี่ยนเป็น
agaru)
いる いらっしゃるอยู่ ( : iru) เปลี่ยนเป็น
~れる ~られる2.เปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูป (irassharu)
หรือ เช่น
(sareru) หรือ
する
される なさるทำ ( : suru) เปลี่ยนเป็น
(nasaru)
行く 行かれるไป ( : iku) เปลี่ยนเป็น
いる おられるอยู่ ( : iru) เปลี่ยนเป็น (ikareru)
(orareru)
お なる3.เปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูป … หรืออื่นๆ เช่น
会う お会いになるพบ ( : au) เปลี่ยนเป็น
(o ai ni naru)
寝る お休みになるนอน ( : neru) เปลี่ยนเป็น
(o yasumi ni
見る ご覧になるnaru) (go ran ni naru)
ดู ( : miru) เปลี่ยนเป็น
กริยารูปสุภาพ
ข้อควรรู้เกี่ยวกับคำกริยา
お ご4.เติม หรือ สำหรับคำนามบางคำ เช่น
名前
お名前ชื่อ ( : namae) เปลี่ยนเป็น
(o namae)
住まい お住まいทพ่ี ัก (
: sumai) เปลี่ยนเป็น (o sumai)
年 お年อายุ ( : toshi) เปลี่ยนเป็น (o toshi)
自宅 ご自宅บ้านพัก ( : jitaku) เปลี่ยนเป็น
住所 ご住所ทอ่ี ยู่ ( : juusho) เปลี่ยนเป็น (go jitaku)
(go juusho)
希望 ご希望ความต้องการ ( : kibou) เปลี่ยนเป็น
(go kibou)
คำถ่อมตนแบ่งออกคร่าวๆ ได้เป็น 3 กลุ่มคือ
1.เปลี่ยนจากคำสามัญ เป็นคำพิเศษ เช่น
私 私 手前共ฉัน ( : watashi) เปลี่ยนเป็น (watakushi) หรือ
(temae domo)
会社 弊社บริษัท ( : kaisha) เปลี่ยนเป็น (heisha)
行く 参
るไป ( : iku) เปลี่ยนเป็น (mairu)
食べる いただくทาน ( : taberu) เปลี่ยนเป็น
(itadaku)
あげる させていただく2.เปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูป …
หรือ …
เช่น
言う 申し上げるพูด (
する させていただくทำ (
: iu) เปลี่ยนเป็น (moushi ageru)
: suru) เปลี่ยนเป็น (sasete
itadaku)
食べる 食べさせていただくทาน ( : taberu) เปลี่ยนเป็น
(tabesasete itadaku)
กริยารูปสุภาพ
ข้อควรรู้เกี่ยวกับคำกริยา
お す
る4.เปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูป … หรืออื่นๆ เช่น
会う お会いする おพบ ( : au) เปลี่ยนเป็น
目にかかる (o me ni kakaru) (o ai suru) หรือ
来る お伺いするมา ( : kuru) เปลี่ยนเป็น (o ukagai suru)
教える ご案内するสอน (
: oshieru) เปลี่ยนเป็น (go annai
suru)
ข้อควรระวังเกี่ยวกับคำกริยา
二重สิ่งที่ผิดพลาดบ่อยที่สุด คือ การใช้คำยกย่องซ้อนกัน หรือเรียกว่า
敬語 ご覧になる(nijuu keigo) ยกตัวอย่างเช่น คำว่า
เป็นคำ
~られる ご覧になยกย่องอยู่แล้ว หากผันต่อในรูป
อีกครั้ง ให้เป็น
られる ก็จะกลายเป็นการใช้คำยกย่องซ้อนกัน ซึ่งเป็นการใช้ที่ไม่ถูกต้อง
การใช้คำยกย่องซ้อนกัน แม้ว่าจะไม่ถึงกับเป็นการเสียมารยาทถึงขนาด
สร้างความไม่พอใจแก่ฝ่ายตรงข้าม แต่ก็จะทำให้ผู้ฟังรู้สึกว่าเป็นการพูดวก
ไปวนมา และไม่น่าฟัง
敬語連結ส่วนการใช้คำยกย่อง 2 คำต่อเนื่องกัน เรียกว่า
(keigo
「ご覧にrenketsu) เป็นสิ่งที่สามารถใช้ได้โดยไม่ผิด ยกตัวอย่างเช่น
なる」 「いただきます」ซึ่งเป็นคำยกย่อง และคำว่า
ซึ่งเป็นคำ
ご覧になっていただきますถ่อมตน สามารถใช้ต่อกันเป็น
ได้
「お読みになる」 「くださる」หรือ และ ซึ่งเป็นคำยกย่องทั้ง 2
お読みになってくださるคำ สามารถใช้ต่อกันเป็น
ได้