โรคลิ้นหัวใจ คืออะไร ?
ลิ้นหัวใจ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของหัวใจ ในขณะที่หัวใจกำลังบีบตัวเมื่อเลือด
ไหลผ่านออกไป ลิ้นหัวใจจะปิดไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับมา จึงทำหน้าที่เสมือนประตู
ปิด/เปิดควบคุมให้เลือดในหัวใจไหลไปทิศทางเดียวสู่ปอดเพื่อฟอกออกซิเจน แล้ว
ไหลกลับสู่ระบบโลหิตอีกครั้ง แต่ถ้าลิ้นหัวใจตีบเลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวใจได้ลำบาก
สาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ลิ้นหัวใจ ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่
กำเนิด หรือจากความเสื่อมของร่างกาย เนื่องจากลิ้นหัวใจเป็นอวัยวะที่เคลื่อนไหวและ
รับแรงดันจากเลือดตลอดเวลา ดังนั้นจึงเกิดการเสื่อมขึ้นอาจมีหินปูนเกาะที่ลิ้นหัวใจ
ทำให้ลิ้นหัวใจหนาขึ้นและเปิดได้น้อยลง ผู้ป่วยจะเกิดอาการเหนื่อยง่าย เจ็บหน้าอก
ใจสั่น ตามมาด้วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ เสียงฟู่บริเวณลิ้นหัวใจ จนถึงขั้นเป็นลมหมดสติ
บ่อย ๆ ยิ่งลิ้นหัวใจตีบมากหัวใจก็ยิ่งไม่สามารถจะบีบเลือดออกสู่ร่างกายได้ ทำให้เกิด
ภาวะเลือดคั่งและหัวใจล้มเหลวในที่สุด
อาการ
ใจสั่น : เนื่ องจากมีการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ
หอบเหนื่อย : เนื่ องจากมีการคั่งของเลือดในปอด เลือดออกจาก
หัวใจน้ อยลง
เจ็บหน้าอก : เนื่ องจากไปเลี้ยงกล้ามเนื้ อหัวใจไม่เพียงพอ
ไอ : เนื่ องจากมีเลือดคั่งในปอด
ไอเป็นเลือด : เนื่ องจากความดันในปอดสูง เกิดการโป่งพอง
ของหลอดเลือดดำในปอด ซึ่งอาจแตก และมีอาการไอเป็นเลือด
อัมพาต : หากมีลิ่มเลือดในกระแสเลือดไหลไปอุดตันในสมอง
บวม : พบได้บริเวณขา หากอาการรุนแรง จะพบว่ามีน้ำในช่อง
ท้อง ตับ และม้ามโต เป็นต้น
พฤติกรรมเสี่ยง
โรคหัวใจ
รับประทานอาหารไขมันสูง ไขมันทรานส์
เช่น เบเกอรี่ เนื้ อสัตว์ติดมัน อาหารฟาสต์ฟู้ด
แกงกะทิมันๆ อาหารปิ้ งย่าง
ส่งผลให้เกิดภาวะไขมันในเลือดสูง จนไปอุดตัน
ในหลอดเลือดหัวใจทำให้หลอดเลือดตีบตัน
เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้น้ อยลง
สูบบุหรี่ เนื่ องจากบุหรี่มีสารพิษหลายชนิ ดที่เป็นอันตรายต่อหลอด
เลือดหัวใจ ทำให้หลอดเลือดหัวใจหดตัว มีการจับตัวของไขมันที่ผนั ง
หลอดเลือด ส่งผลให้หลอดเลือดหัวใจตีบ เลือดไปเลี้ยงไปเลี้ยงหัวใจ
ไม่ได้ เกิดอาการจุกเสียด เจ็บหน้ าอก
ภาวะความเครียดมากเกิน
ผู้ที่เครียดอยู่เป็นประจำ เสี่ยงต่อการเป็นโรค
หัวใจเต้นผิดปกติมากที่สุด เพราะความเครียด
จะไปกระตุ้นให้หัวใจทำงานหนั กขึ้น หัวใจเต้น
เร็วขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น จนอาจเกิดภาวะ
หัวใจเต้นผิดจังหวะได้
วิธีการดูแล
ลดอาหารไขมัน คอเลสเตอรอล การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
สูง เช่น เครื่องในสัตว์ หนั งสัตว์ ยาขับปัสสาวะ (Furosemide) ช่วย
ลดเค็ม เนื่ องจากหากร่างกายได้ ขับน้ำที่คั่งในปอดออก เนื่ องจาก
โซเดียมมากเกิน อาจทำให้เกิด เมื่อลิ้นหัวใจตีบ หัวใจไม่สามารถ
ภาวะน้ำเกิน และส่งผลต่อหัวใจ บีบเลือดออกสู่ร่างกายได้ ทำให้
ทำงานหนั กเพิ่มขึ้น เกิดภาวะน้ำท่วมปอด
ยาความดันและหลอดเลือด
รับประทานอาหารกากใยสูง (Metoprolol) มีผลต่อการเต้นของ
และไม่มีไขมันอิ่มตัว เช่น ผัก หัวใจทำให้อัตราการเต้นหัวใจช้า
ผลไม้ ปลา ไก่ ธัญพืช ถั่ว ลง และหลอดเลือดขยายตัว ส่งผล
เมล็ดแห้ง ป้องกันไขมันอุด ให้ความดันโลหิตลดลง เป็นตัว
ตันที่หลอดเลือดหัวใจ ช่วยให้หัวใจทำงานได้ดีขึ้น
หลีกเลี่ยงการทำ การไปพบแพทย์ตามนัด หรือ
กิจกรรมที่ต้องใช้แรง เมื่อมีอาการผิดปกติ เช่น
มาก อาจส่งผลให้หัวใจ
หายใจหอบเหนื่ อย เจ็บหน้ าอก
ทำงานหนั กเพิ่มขึ้น ใจสั่น ให้รีบไปพบแพทย์ทันที