รายงานผลการดาเนินงาน
ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔
จัดทาโดย
นางสาวนันทวนั ออ่ นจติ ร
ครู กศน.ตาบล
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอตะพานหิน
สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดพจิ ติ ร
คำนำ
รายงานผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ฉบับน้ี เป็นการรายงานผลการจัด
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่แสดงถึงผลการดาเนินงาน
ตามภารกจิ ในการขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.
กศน. ตาบลทับหมนั หวงั เป็นอย่างย่งิ รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ฉบับนี้ จะเป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีสาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยให้มีคุณภาพ และมีประโยชน์กับผู้เกี่ยวข้องต่อไป ท้ายสุดนี้ กศน.ตาบลทับหมัน ขอขอบคุณภาคี
เครือข่ายและประชาชนผู้รับบริการที่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานให้ความอนุเคราะห์ ในการดาเนินกิจกรรมของ
กศน.ตาบลทับหมัน ในทุกๆกิจกรรม ส่งผลให้รายงานผลการดาเนินงานประสบความสาเร็จลุล่วงด้วยดี และ
พร้อมเป็นเขม็ ม่งุ สู่ กศน.เพ่ือประชาชน “กา้ วใหม่ ก้าวแห่งคณุ ภาพยิ่งขน้ึ ” ในปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ต่อไป
นำงสำวนนั ทวนั ออ่ นจิตร
ครู กศน.ตำบล
สำรบญั
เรอื่ ง หนำ้
สว่ นที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของ กศน.ตำบล ๒
- บทบาทหน้าที่ กศน.ตาบล ๓
- ข้อมลู พ้นื ฐานของหนว่ ยงาน ๔
- วิสัยทศั น์ ๔
- พนั ธกจิ ๕
- ทาเนียบผบู้ ริหารและบคุ ลากร กศน.ตาบลทับหมนั ๗
- โครงสรา้ งการปฏบิ ัติงานของ กศน.ตาบล ๘
- อตั รากาลงั บุคลากร ๘
ส่วนท่ี ๒ ผลกำรดำเนนิ งำนตำมยทุ ธศำสตร์และจดุ เนน้ ของสำนกั งำน กศน. ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔
(ตลุ ำคม ๒๕๖๓ – กันยำยน ๒๕๖๔) ๑๑
ผลการดาเนินงานตามโครงการสาคัญ/ขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานตามนโยบายของรัฐบาล ๑๑
- กศน. WOW : ๖G
ผลการดาเนนิ งานตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นของสานกั งาน กศน. ๑๑
- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ด้านความมั่นคง ๑๑
- ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ๑๑
- ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพมนษุ ย์ ๑๑
- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๑๑
- ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ดา้ นการสร้างและเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตเปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ๑๑
- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ ดา้ นการปรบั ปรุงสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ๑๑
ผลการดาเนินงานภารกิจต่อเนอ่ื ง ๑๒
- การจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ๑๒
- การจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต ๑๔
- การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน ๑๕
- การจดั การศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๘
- โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๒๑
- การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี ระยะสั้น (หลกั สูตรไมเ่ กิน ๓๐ ช่วั โมง) ๒๑
- การจัดการศึกษาชัน้ เรยี นวชิ าชีพ (หลกั สูตร ๓๑ ช่ัวโมงขน้ึ ไป) ๒๓
- โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ๒๖
- กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น/บ้านหนงั สือชมุ ชน/ห้องสมุดประชาชนอาเภอ ฯลฯ ๒๘
สว่ นที่ ๓ แนวทำงกำรพัฒนำกำรดำเนนิ งำน กศน.ตำบล ประจำปงี บประมำณ ๒๕๖๔ ๒๙
- ข้อจากดั /ปัญหา/อุปสรรค ๒๙
- จุดท่คี วรพัฒนา ๒๙
- แนวทางการแกไ้ ขและการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ๒๙
ภำคผนวก
Best Practice และรางวัลท่ีไดร้ บั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔
คณะทางานสรุปผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔
๒
ส่วนท่ี 1
ข้อมลู ทัว่ ไปของ กศน.ตำบล
๑. ประวัติความเปน็ มาของชมุ ชน
สมัยก่อนตาบลทับหมัน ได้เป็นสถานท่ีตั้งฐานทัพของพระเจ้าเสือและยกกองทัพมาต้ังบริเวณ
ตาบลทบั หมนั เป็นเวลานาน จนประชาชนในตาบลเรียกชื่อบ้านว่า “บ้านทัพม่ัน” และต่อมาได้เกิดเรียกเพ้ียนมา
เปน็ “ บา้ นทบั หมนั ”
ตาบลทบั หมนั สมัยกอ่ นขึน้ อยกู่ บั ตาบลทับหมนั กิง่ อาเภอบางคลาน ต่อมาย้ายมาขึ้นกับ ตาบล
วังหวา้ อาเภอบางมูลนาก และมาข้ึนกับตาบลวังสาโรง ก่ิงอาเภอตะพานหิน และข้ึนกับอาเภอตะพานหิน ตามที่
ได้รับการยกฐานะเป็นอาเภอ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ บ้านทับหมันได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นตาบล โดยมีหมู่บ้าน
จานวน ๕ หมู่บ้าน และหมู่บ้านขยายมากข้ึนจึงได้แยกหมู่บ้านอีกหมู่บ้านหนึ่ง ปัจจุบันตาบลทับหมัน มีหมู่บ้าน
ทง้ั หมด ๖ หมบู่ ้าน
ท่ตี ้ัง
บ้ำนทบั ปรู หมู่ ๒ ตำบลทบั หมัน อำเภอตะพำนหิน จงั หวัดพิจิตร
หมายเลขโทรศัพท์ 099-8658624
หมายเลขโทรสาร -
E-mail [email protected]
๒. สภำพภูมิศำสตร์ของตำบลทบั หมัน
ตาบลทับหมนั เป็นตาบลสุดเขตของอาเภอตะพานหิน ในทิศตะวันตก พน้ื ที่ส่วนใหญข่ อง
ตาบลทับหมันเป็นท่ีราบลุ่มมีแม่น้าพิจิตรเก่าไหลผ่านกึ่งกลางตาบล โดยทิศตะวันตกของแม่น้าพิจิตรเก่ามีพื้น
ทดี่ นิ จะเปน็ ดินร่วนปนดินเหนยี วเปน็ ส่วนใหญจ่ ะมีพน้ื ที่เหมาะสมกบั การทาอาชีพเกษตรกรรม เชน่ การทานา และ
ทางทิศตะวันออกของแม่น้าพิจิตรเก่า พื้นที่ ท่ีติดกับแม่น้าจะเป็นดินร่วนปนทรายและพื้นที่อยู่ห่างออกไปจาก
แม่น้า จะเปน็ ดินร่วนปนดนิ เหนียว ฉะนน้ั พืน้ ท่ีสว่ นใหญ่เหมาะแก่การทาเกษตรกรรม เช่น การทานา การทา
สวนผลไม้ ด้วยประกอบกับตาบลทับหมันทั้ง ๖ หมู่บ้านมีคลองชลประทานขนาดใหญ่ไหลผ่านตลอดทั้งปี และมี
คลองชลประทานขนาดเล็ก (คลองซอย) เกือบทุกพื้นท่ีในการทานาจะไหลผ่านตลอดทั้งปี ซึ่งประชาชนตาบลทับ
หมนั ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมในการทานาปรังเปน็ ส่วนใหญ่และทากันตลอดท้ังปี เฉล่ียปีละ ๓ คร้ัง
/ ปี และประชาชนส่วนหนึง่ จะหนั จากการทานามาทาสวนผลไม้มากข้ึนในตาบล เช่น การปลูกมะนาว การ
ทาสวนส้มโอทา่ ขอ่ ย ส้มโอขาวแตงกวา สม้ บางมด สวนมะม่วง เปน็ ต้น
เขตตดิ ตอ่ ของตาบลทับหมัน จดกับตาบลวังสาโรง อาเภอตะพานหนิ
ทิศเหนือ จดกบั ตาบลวดั ขวาง อาเภอโพทะเล
ทศิ ใต้ จดกับตาบลทับหมนั อาเภอตะพานหนิ
ทิศตะวันออก
ทิศตะวนั ตก จดกับตาบลบางลาย อาเภอบึงนาราง
๓
บทบำทหนำ้ ที่ กศน.ตำบล
กศน.ตาบลทบั หมนั มีบทบาทสาคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนเพ่ือ สร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้ และส่งเสริมอาชีพในชุมชน โดยมีหัวหน้า กศน.ตาบล เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมี
หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องทาหน้าทีส่ ง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาเนนิ งานจดั การศกึ ษาใหก้ ับประชาชน
1. บทบำทหนำ้ ทีข่ องหวั หนำ้ กศน. ตำบล
1) การวางแผนจัดทาฐานขอ้ มูลชมุ ชน จัดทาแผนพัฒนาการจัด กศน. ตาบล และจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ
ประจาปี
2) การจัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจดั และสง่ เสริมการศึกษานอก
ระบบ ไดแ้ ก่ การส่งเสรมิ การรูห้ นงั สือการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และ การศกึ ษาต่อเนอื่ ง จดั
และส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ไดแ้ ก่ สง่ เสริมการอ่าน จัดและพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ บริการข่าวสารขอ้ มูล และ
สอ่ื ท่หี ลากหลาย จัดและสง่ เสรมิ กิจกรรมห้องสมดุ ประชาชนตาบล ห้องสมุดชุมชน มุมหนงั สือบ้าน
3) บริการการเรยี นรใู้ นชมุ ชนรว่ มกับภาคเี ครอื ขา่ ย
- ศนู ยเ์ รียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจาตาบล
- ศูนย์ส่งเสริมประชาธปิ ไตย
- ศูนยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน
- ศนู ย์เรยี นรตู้ ลอดชีวติ
4) สร้างและพัฒนาภาคเี ครือข่ายการเรียนรู้ในชมุ ชน โดยการประสานขอความรว่ มมือจากภาคีเครือข่าย
องคก์ รชุมชนผรู้ ู้ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ตลอดจนภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น เพ่อื ร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครสง่ เสริมการ
อ่านเป็นตน้
5) ประชาสมั พนั ธแ์ ละเผยแพร่แผนงาน โครงการ กจิ กรรมและผลการดาเนินงานของ กศน. ตาบล ใน
รปู แบบต่างๆ
๔
ขอ้ มลู พนื้ ฐำนของหน่วยงำน
สภำพทวั่ ไปของตำบลทับหมนั
๑. สภาพภูมิศาสตร์ของตาบลทับหมัน
ตาบลทบั หมนั เป็นตาบลสุดเขตของอาเภอตะพานหนิ ในทิศตะวนั ตก พ้ืนทส่ี ่วนใหญ่ของ
ตาบลทับหมันเป็นท่ีราบลุ่มมีแม่น้าพิจิตรเก่าไหลผ่านกึ่งกลางตาบล โดยทิศตะวันตกของแม่น้าพิจิตรเก่ามีพ้ืน
ทีด่ ินจะเป็นดนิ ร่วนปนดินเหนียวเป็นส่วนใหญ่จะมีพนื้ ที่เหมาะสมกับการทาอาชพี เกษตรกรรม เชน่ การทานา และ
ทางทิศตะวันออกของแม่น้าพิจิตรเก่า พื้นที่ ที่ติดกับแม่น้าจะเป็นดินร่วนปนทรายและพื้นท่ีอยู่ห่างออกไปจาก
แมน่ ้า จะเปน็ ดินรว่ นปนดินเหนยี ว ฉะน้นั พื้นทสี่ ว่ นใหญ่เหมาะแก่การทาเกษตรกรรม เช่น การทานา การทา
สวนผลไม้ ด้วยประกอบกับตาบลทับหมันทั้ง ๖ หมู่บ้านมีคลองชลประทานขนาดใหญ่ไหลผ่านตลอดทั้งปี และมี
คลองชลประทานขนาดเล็ก (คลองซอย) เกือบทุกพื้นที่ในการทานาจะไหลผ่านตลอดท้ังปี ซ่ึงประชาชนตาบลทับ
หมนั ส่วนใหญจ่ ะประกอบอาชพี เกษตรกรรมในการทานาปรังเปน็ สว่ นใหญ่และทากันตลอดทั้งปีเฉล่ยี ปลี ะ ๓ ครั้ง /
ปี และประชาชนส่วนหน่งึ จะหันจากการทานามาทาสวนผลไม้มากขึน้ ในตาบล เช่น การปลูกมะนาว การทา
สวนสม้ โอท่าขอ่ ย ส้มโอขาวแตงกวา ส้มบางมด สวนมะม่วง เปน็ ตน้
เขตตดิ ตอ่ ของตาบลทบั หมนั
ทศิ เหนอื จดกับตาบลวงั สาโรง อาเภอตะพานหนิ
ทศิ ใต้ จดกบั ตาบลวัดขวาง อาเภอโพทะเล
ทศิ ตะวนั ออก จดกับตาบลทับหมนั อาเภอตะพานหิน
ทศิ ตะวันตก จดกบั ตาบลบางลาย อาเภอบึงนาราง
ลกั ษณะการตั้งบา้ นเรือน
ประชาชนของตาบลทบั หมนั สมยั กอ่ นจะปลูกบา้ นเรอื นทอ่ี ยู่อาศยั อยู่บริเวณสองฝั่งแม่น้าพิจิตรเก่า เป็น
ส่วนใหญ่ เพราะในสมัยก่อนการคมนาคมทุกอย่างจะใช้การติดต่อทางน้าเป็นหลักแต่ด้วยความเจริญทางด้าน
คมนาคมเข้าสู่หมู่บ้านตาบลทับหมันได้มีการจัดทาถนนเข้าสู่หมู่บ้านและตาบล ถนนเส้นหลักของตาบลทับหมัน
เป็นถนนลาดยางตลอดทงั้ ตาบลทาให้ประชาชนย้ายการตั้งบ้านเรือนออกมาอยสู่ องขา้ งถนนสายหลัก เป็นส่วนใหญ่
และถนนสวยทีเ่ ขา้ หม่บู า้ นกจ็ ะเป็นถนนลาดยาง ถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และถนนลูกรัง ทาให้การปลูกบ้านเรือน
กระจายไปตามพืน้ ท่ขี องตนเอง
สภาพดนิ ฟ้าอากาศของตาบลทับหมนั
สภาพอากาศในปัจจุบนั อยใู่ นระดบั ปานกลาง ไมห่ นาวจดั รอ้ นจดั แบง่ ออกเปน็ ๓ ฤดู คอื ฤดูร้อน
ฤดูฝน และฤดหู นาว
ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมบู่ า้ น
หมู่ที่ ๑ บา้ นทับหมนั ใต้
สมยั ก่อนบา้ นทับหมนั ใตเ้ ป็นสถานทตี่ งั้ กองทัพในสมยั พระเจ้าเสือ และได้ยกกองทัพมาตั้งเป็นเวลานาน
และประชาชนไดเ้ รยี กว่า “บ้านทพั มัน่ ” และตอ่ มาเรียกเพีย้ นมาเป็น “บา้ นทบั หมัน”ในปัจจุบนั นี้ ผ้นู าคนแรก
คือผใู้ หญ่ถนัด โตท้ยุ คนท่ี สอง ผ้ใู หญม่ นัส โตทุ้ย คนทส่ี าม ผูใ้ หญส่ ุวิทย์ โตทยุ้ คนท่ีส่ี ผใู้ หญล่ ายง รอด
เกิด คนที่ห้า ผู้ใหญ่ ววิ ัฒน์ เปรมปรู และคนปจั จุบนั ผู้ใหญป่ ระวติ ร พมุ่ ไพรจิตร
๕
หมทู่ ่ี ๒ บา้ นทับปรู
ในสมัยท่ีพระยาโคตรบอง คุมทหารจานวนมากมาตั้งฐานทัพที่วัดหลวง เพื่อต่อสู้กับกองทัพเงี้ยวนาน
ถึง ๗ วัน แนวทหารที่ ๕ ของพระยาโคตรบอง ได้แจ้งว่าทัพเง้ียวได้เคล่ือนพลมาถึงบ้านวังจันทร์ บ้านท่าข่อย
นายกองฝ่ายทัพเงี้ยวพาลูกน้องมาปล้น ฆ่าชาวบ้านไม่เว้นแม้แต่เด็ก วันขึ้น ๔ ค่า เดือน ๔ ทัพเง้ียวได้ปะทะกับ
กองทัพพระยาโคตรบอง ในท่ีสุดกองทัพของพระยาโคตรบองได้รับชัยชนะและได้ไล่ตีกองทั พเง้ียวมาถึง
บ้านกองทองเหนอื ซง่ึ ปกคลุมด้วยปา่ ไมข้ นาดใหญ่ประกอบไปด้วยป่าปรู จานวนมากและได้พักเหน่ือยใน ป่า
ปรู และได้เรียกชื่อหมู่บ้านว่า “ ทัพปรู ” ในปัจจุบันผู้ใหญ่คนแรก คือ กานันบุญส่ง สุขโท้ คนที่สอง ผู้ใหญ่บุญ
ชว่ ย บญุ เนยี ง และคนปัจจบุ ัน คอื กานนั สะอาด กันสขุ
หมทู่ ี่ ๓ บ้านย่านขาด
ในสมยั พระเจ้าเสือ ได้มีทหารยกกองทพั มาจานวนมากเพอ่ื ไปรบกับทหารและไดข้ นเสบียงตา่ ง ๆ โดยใส่
ยา่ ม ดว้ ยความหนักของเสบยี งอาหารได้มีทหารจานวนหนึ่งทายา่ มขาดในบริเวณหมู่บา้ นประชาชนในสมยั ก่อนเลย
เรียกหมูบ่ า้ นนีว้ ่า “บ้านย่ามขาด” และได้เรยี กเพีย้ นมาเปน็ ”บ้านยา่ นขาด ”ผใู้ หญ่บ้านคนแรกผู้ใหญณ่ รงค์ สุด
โท้ และผใู้ หญ่คนปจั จุบนั ผู้ใหญ่พทิ ยา สงวนดษิ ฐ์
หมูท่ ่ี ๔ บา้ นคลองเถาวัลย์เหล็ก
สมยั กอ่ นบา้ นคลองเถาวัลย์เหล็ก เป็นปา่ ไมด้ งไม้ ส่วนใหญจ่ ะประกอบไปดว้ ยไม้เถาวัลย์เปน็ จานวนมาก
ด้วยไมเ้ ถาวัลย์มลี กั ษณะแขง็ ชาวบ้านได้เรียกหมู่บ้านน้วี ่า “ บา้ นเถาวลั ย์เหล็ก ”และด้วยพน้ื ท่ขี องหมู่บ้านรอบ ๆ
หมบู่ ้านมีคลองธรรมชาตผิ ่านก็เลยเรียกติดปากวา่ “บา้ นคลองเถาวัลยเ์ หลก็ ” จนถึงปจั จุบนั ประชากรในสมัยก่อน
ของบา้ นคลองเถาวลั ย์เหลก็ สว่ นใหญไ่ ดอ้ พยพมาจากจังหวัดลพบุรี เพื่อมาตง้ั ถิ่นฐานและประกอบอาชีพทานา
ผ้ใู หญค่ นแรก ผู้ใหญแ่ ฉลม้ เก่งการรบ ในปัจจบุ ัน ผใู้ หญ่สุทัศน์ เกดิ มงคล
หมูท่ ี่ ๕ บา้ นบงึ ประดู่
ในสมัยกอ่ นพ้นื ทีบ่ า้ นบึงประดู่ มีลักษณะเป็นปา่ โปร่ง เดิมช่อื “บ้านท่ามะขาม” และไดเ้ ปล่ยี นมาเปน็
บ้านบึงประดู่ เนือ่ งจากมตี น้ ประดขู่ นาดใหญ่อยู่กลางบงึ ของหมู่บ้าน ประชาชนเลยเรียกว่า “บ้านบงึ ประดู่”
ประชาชนบ้านบึงประดู่สว่ นใหญ่อพยพมาจากตาบลวัดขวาง อาเภอโพทะเล จังหวัดพจิ ติ ร เปน็ สว่ นใหญ่ และมาตัง้
ถิ่นฐาน ผใู้ หญส่ นุ ทร บวั บานเป็นผู้ใหญค่ นแรก ผู้ใหญ่ในปจั จุบัน คือ ผ้ใู หญอ่ นันต์ เอมสาร
หมู่ท่ี ๖ บา้ นทบั หมันเหนอื
บ้านทับหมันเหนือเป็นหมู่บ้านที่แยกมาจากหมู่ท่ี ๑ บ้านทับหมันใต้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยการนาของ
ผใู้ หญค่ วง รอดฤทธ์ิ คนที่สอง ผูใ้ หญ่ สารวล มณเทียนทอง และผู้ใหญป่ จั จบุ ัน คือ ผใู้ หญป่ ระเทอื ง นิ่มสวุ รรณ์
วสิ ยั ทัศน์
“ส่งเสริมใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายใหไ้ ดร้ ับการศึกษาตลอดชวี ิตและการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมงี านทาทม่ี ี
คณุ ภาพท่ยี ั่งยืนอยา่ งทัว่ ถึง นาไปส่กู ารพัฒนาชมุ ชนให้เป็นสังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต บนพน้ื ฐานปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง”
๖
ปรัชญำ
ส่งเสริมการศกึ ษา พัฒนาอาชีพ สร้างชุมชนเพ่อื การเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียง
อัตลกั ษณ์สถำนศกึ ษำ
ความรู้ ค่เู ศรษฐกจิ พอเพยี ง
เอกลกั ษณ์
พัฒนาเครอื ข่าย ขยายแหล่งเรยี นรู้ สวู่ ถิ ีพอเพยี ง
จดุ เน้นจุดเดน่ กำรทำงำนของ กศน.ตำบล
1. จดุ เนน้ การดาเนินงาน โดยการจัดการศึกษาให้ชุมชนเป็นฐานแห่งการเรียนรู้ และสร้างโอกาสทาง
การศึกษาทม่ี ีความเปน็ ธรรมใหก้ บั ประชาชนทุกกลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผดู้ อ้ ย ผู้พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา
2. จุดเด่น การบริการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ กศน.ตาบลเป็นฐานแห่งการเรียนรู้ เป็นศูนย์กลางการ
ประสานงานให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับประชาชนใน
พ้ืนที่ โดยการพัฒนา กศน.ตาบลให้มีศักยภาพและความพร้อมในการบริการ การเรียนรู้แก่ ประชาชนทุกกลุ่ม
อยา่ งทั่วถึง
พนั ธกิจ
1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือยกระดับการศึกษาพัฒนาคุณภาพชีวิตให้
ประชาชนกลุม่ เปา้ หมายทกุ กลมุ่ ทุกชว่ งวัย เขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษานอกระบบอย่างทัว่ ถึง
2. จัดและส่งเสริม การศกึ ษาอาชีพของประชาชนและชุมชนใหส้ ามารถสร้างสรรค์อาชพี สร้างรายได้
3. สง่ เสริมสนับสนุนให้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น/ผู้เชี่ยวชาญองค์ความรู้ด้านต่างๆ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
4. จัดและส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่นักศึกษาและ
ประชาชน และนาส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา ETV ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพมาใช้ในการจัดกระบวนการ
เรยี นรู้เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั การศึกษา
5. ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดาเนินการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัย และพัฒนา กศน.ตาบลให้เปน็ ศนู ย์กลางการเรียนร้ตู ลอดชวี ิตของคนในชมุ ชน
เป้ำประสงค์
1. กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีความรู้ความสามารถรอบด้านเพียงพอต่อการ
ดารงชวี ิตอยา่ งมีความสุขในสังคมแห่งการเรยี นรู้ บนพ้ืนฐานของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. กลมุ่ เป้าหมายมีอาชีพและสามารถพัฒนาอาชีพเพ่ือสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้อย่าง
ยงั่ ยนื
3. ภูมิปัญญาท้องถ่ินสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษานอกระบบ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวติ อยา่ งต่อเนื่อง
4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร และแสวงหาข้อมูล
ความรทู้ เ่ี ป็นประโยชน์ ในการศกึ ษานอกระบบการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศกึ ษาตลอดชีวติ
5. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและ
การศกึ ษาตลอดชวี ติ
6. กศน.ตาบล เป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั และเป็นแหล่งเรียนรู้การจดั การศึกษาตลอดชีวิตของชุมชน
๗
ทำเนยี บผบู้ ริหำรและบุคลำกร กศน.ตำบล
นำงสำวนนั ทวัน อ่อนจติ ร
ครู กศน.ตำบล
๘
โครงสรำ้ งกำรปฏิบตั งิ ำนของ กศน.ตำบล
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะพานหนิ
ผูอ้ านวยการ
ครูผชู้ ว่ ย
ครอู าสา
ครู กศน.ตาบล
งานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน หมทู่ ่ี 1 บ้านทับหมัน
งานการศึกษาต่อเน่ือง หมทู่ ี่ 2 บา้ นทบั ปรู
งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย หมูท่ ่ี 3 บ้านยา่ นขาด
งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย หมทู่ ี่ 4 บ้านคลองเถาวัลย์เหลก็
งานตามนโนบายท่ีรับมอบหมาย หม่ทู ่ี 5 บ้าบงึ ประดู่
หมทู่ ่ี 6 บ้าทับหมันเหนือ
๙
อัตรำกำลงั บคุ ลำกร
ท่ี หน่วยงำน/สถำนศกึ ษำ ผู้บรหิ ำร ครูอำสำฯ ครู กศน.ตำบล รวม
1 กศน.ตาบลทับหมัน 1 1 13
รวม 11 13
กำรบริหำรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปี
พ.ศ.2564
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลทับหมันได้รับจัดสรรงบประมาณประจาปี
งบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2564 จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอตะพานหิน
จานวน 86,410 บาท
1.แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ผลผลิตที่ 4 ผู้รับการศึกษานอกระบบ งบ
ดาเนินงานกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต รหัสงบประมาณ 2000236004000000 ได้รับจัดสรร
งบประมาณ จานวน 21,110 บาท
ท่ี โครงการ / กิจกรรม กลุ่มเปา้ หมาย งบประมาณทใ่ี ช้
(คน) (บาท)
1 กิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ 44 5,060
2 กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 28 10,450
3 กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ 14 5,600
พอเพียง 86 21,110
รวม
2. แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพอื่ สนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์โครงการขับเคล่ือนการ
พัฒนาการศกึ ษาท่ีย่งั ยนื งบรายจ่ายอื่น งบศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รหัสงบประมาณ2000235052700019 ได้รับ
จดั สรรงบประมาณ 58,700 บาท
ท่ี โครงการ / กจิ กรรม กลุ่มเปา้ หมาย งบประมาณทใ่ี ช้
(คน) (บาท)
1 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 35 24,500
(กล่มุ สนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง)
38 34,200
2 โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน
(ชัน้ เรียน 31 ชว่ั โมงขึ้นไป) 73 58,700
รวม
๑๐
3. แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตร์พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดิจทิ ัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรดิจิทัล
งบรายจ่ายอื่นรหสั งบประมาณ 2000222744700001ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 3,300 บาท
ท่ี โครงการ / กิจกรรม กลุม่ เปา้ หมาย งบประมาณท่ใี ช้
(คน) (บาท)
1 โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน 25 ๓,๓00
รวม 25 ๓,๓00
๑๑
สว่ นท่ี 2 ผลกำรดำเนนิ งำนตำมยุทธศำสตร์และจดุ เนน้ ของสำนักงำน กศน.
ประจำปงี บประมำณ 2564 (ตลุ ำคม 2563-กนั ยำยน 2564)
ผลการดาเนนิ งานตามโครงการสาคัญ/ขับเคล่ือนการดาเนินงานตามนโยบายของรฐั บาล
- กศน. WOW : 6G
กศน.ตาบลทับหมัน ดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลในการขับเคล่ือนการศึกษาขอประเทศ เพ่ือให้
เยาวชนและผู้คนในพื้นที่ชนบทห่างไกลได้เข้าถึงการศึกษามากขึ้น ถือเป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้ กับ
ประชาชนชาวไทยอกี ทางหนง่ึ เพื่อตดิ ตามผลการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งาน “กศน. WOW”
1.Good Teacher การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้
โดยเข้ารวมอบรมกับสานกั งานต้นสงั กดั
2.Good Place พฒั นา กศน.ตาบลให้มบี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้
3.Good Activities สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และมีประสิทธภิ าพ
๑๒
4.Good Partnership การเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย โดยให้มีความร่วมมือจัดทาทาเนียบ
ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน และส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาสกู่ ารจัดการเรยี นร้ชู มุ ชน
5.Good Innovation การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและ
กลุม่ เปา้ หมาย โดยให้จัดต้ังศูนย์ใหค้ าปรึกษาและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ brand กศน.
6.Good Learning การจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย ซ่ึงต้องมีการจัดเตรียมข้อมูลและประสานงาน
เบือ้ งตน้ โดยผบู้ รหิ าร กศน.
ผลการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ ของสานักงาน กศน.
- ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมน่ั คง
- ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
- ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ด้านการสร้างและเสริมสรา้ งศักยภาพมนุษย์
- ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 ดา้ นการสร้างและเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อม
- ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
ผลกำรดำเนนิ งำนภำรกจิ ต่อเน่อื ง ๑๓
- การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน รวม
ภำคเรยี นที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 ๓
1๒
ท่ี ระดบั กำรศึกษำ จำนวนนกั ศกึ ษำ 35
ชำย หญิง 50
1 ประถมศึกษา ๑2
2 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๔๔ รวม
3 มัธยมศึกษาตอนปลาย ๒๑ ๑๔ 3
๒๖ ๒๐ 1๐
รวมท้ังส้ิน 3๗
50
ภำคเรยี นท่ี 2 ปีกำรศกึ ษำ 2564
ท่ี ระดบั กำรศึกษำ ชำย จำนวนนักศึกษำ
1 หญิง
1 ประถมศกึ ษา 7 2
2 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๒๒ ๓
3 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๘ 1๕
๒๐
รวมทั้งส้นิ
- กำรจัดกำรศกึ ษำเพอ่ื พฒั นำทักษะชวี ติ
โครงการ/ วนั ที่ งบประมาณ ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็
กจิ กรรม ดาเนนิ การ เชงิ ปริมาณ
กิจกรรมการ 1๕ จัดสรร ดาเนนิ การ เปา้ หมาย ผลผลติ คดิ เปน็ เชิงคณุ ภาพ
จดั การศกึ ษา ธนั วาคม (คน) (คน) (%)
เพ่ือพฒั นา 2563
ทกั ษะชีวิต 2,645.- 2,๔๖5.- 2๑ ๒๓ 100.00 - ผู้เข้ารบั
โครงการทกั ษะ
ชวี ิต จิตสดใส การอบรมมี
ใจเปน็ สุข
ความรู้ความ
เข้าใจ
เก่ียวกบั การ
ดแู ลสุขภาพ
สามารถนา
ความร้ไู ปนา
ความรไู้ ปใช้
ในการพฒั นา
ตนเอง
๑๔
โครงการทักษะชีวิต จิตสดใส ใจเป็นสุข สถานที่ดาเนินการ ณ โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลทับหมนั หมู่ ๖ ตาบลทับหนั อาเภอตะพานหิน จังหวดั พจิ ติ ร วนั ทดี่ าเนนิ การ 1๕ ธันวาคม
2563
โครงการ/ วนั ท่ี งบประมาณ ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ
กจิ กรรม ดาเนนิ การ เชิงปริมาณ
จดั สรร ดาเนินการ เปา้ หมาย ผลผลติ คดิ เป็น เชงิ คุณภาพ
(คน) (คน) (%)
กิจกรรมการจัด ๒ มถิ ุนายน 1,115.- 1,๒๖5.- 15 1๕ 100.00 - ผู้เข้ารบั
การศึกษาเพอ่ื 2564 การอบรมมี
พัฒนาทักษะ ความรู้ความ
ชีวติ โครงการ เขา้ ใจเกี่ยวกบั
พัฒนาทักษะ การพฒั นา
ชีวิตหง่ ไกล ทักษะชวี ิต
CoVid - ๑๙ ห่างไกล
Covid - 19”
ความร้ไู ปใช้
ในการพัฒนา
ตนเอง
กจิ กรรมการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการพัฒนาทักษะชีวติ หา่ งไกล Covid - 19”
สถานทีจ่ ัด กศน.ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร วันที่ ๒ มถิ ุนายน 2564
๑๕
โครงการ/ วนั ที่ งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็
เชงิ ปริมาณ
กิจกรรม ดาเนนิ การ จดั สรร ดาเนนิ การ เป้าหมาย ผลผลิต คดิ เปน็ เชงิ คณุ ภาพ
(คน) (คน) (%)
การศึกษาเพอ่ื 6 กันยายน 1,150.- 1,150.- 10 11 100.00 - ผู้เขา้ รบั
พฒั นาทักษะ 2564 การอบรมมี
ชวี ติ โครงการ ความรคู้ วาม
ฝกึ อบรมพัฒนา เขา้ ใจเก่ยี วกบั
ทักษะชีวติ ตา้ น พัฒนาทักษะ
COVID-19 ชีวิต ตา้ น
ด้วยสมุนไพร COVID-19
ไทย ด้วยสมุนไพร
ไทยความรู้ไป
ใชใ้ นการ
พฒั นาตนเอง
การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต โครงการฝึกอบรมพัฒนาทักษะชีวิต ต้าน COVID-19 ด้วยสมุนไพรไทย
ใน ณ กศน.ตาบลทบั หมัน ตาบลทับหมนั อาเภอตะพานหนิ จังหวัดพิจิตร วนั ท่ี 6 กนั ยายน 2564
- กำรจดั กำรศกึ ษำเพือ่ พฒั นำสงั คมและชมุ ชน
งบประมาณ ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็
เชงิ ปรมิ าณ
โครงการ/ วนั ท่ี
กจิ กรรม ดาเนนิ การ เปา้ หมาย ผลผลติ คิดเปน็ เชิงคณุ ภาพ
จัดสรร ดาเนินการ
(คน) (คน) (%)
กจิ กรรมการจัด ๒๕ ธันวาคม 5,250.- 5,250.- 15 ๓๖ 100 - ผู้รบั บริการ
การศกึ ษาเพ่ือ 2563 สามารถนา
พฒั นาสงั คม ความรูท้ ไ่ี ด้ไป
และชมุ ชน ปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ
โครงการจิต ประโยชนม์ าก
อาสาพฒั นา ขน้ึ
ชมุ ชน
๑๖
กิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ปีงบประมาณ โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน
ณ อาคารอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตาบลทับหมัน ทับหมัน อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร วันท่ี ๒๕ ธันวาคม
2563
งบประมาณ ตวั ชี้วัดความสาเร็จ
เชงิ ปริมาณ
โครงการ/ วนั ที่
กิจกรรม ดาเนินการ เป้าหมาย ผลผลติ คดิ เปน็ เชงิ คณุ ภาพ
จัดสรร ดาเนินการ
(คน) (คน) (%)
กจิ กรรมการจัด 4 มิถุนายน 2,800.- 2,800.- 15 1๕ 100 - ผรู้ ับบริการ
การศึกษาเพ่อื 2564 สามารถนา
พัฒนาสงั คม ความรทู้ ไ่ี ด้ไป
และชมุ ชน พฒั นาชมุ ชน
โครงการชุมชน ปลอดภัยตาม
ปลอดภยั แนวคดิ new
ห่างไกลโควิด - normal
19
ภายใตแ้ นวคดิ
สงั คม new
normal
๑๗
โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโควิด -19 ภายใตแ้ นวคดิ สงั คม new normal ท่ีทาการผูใ้ หญบ่ า้ น ม.
1 หมู่ท่ี ๑ ตาบลทบั หมนั อาเภอตะพานหิน จงั หวัดพิจิตร วนั ที่ 4 มิถุนายน 2564
งบประมาณ ตัวช้วี ัดความสาเร็จ
เชิงปริมาณ
โครงการ/ วนั ที่
กิจกรรม ดาเนนิ การ เป้าหมาย ผลผลิต คดิ เปน็ เชิงคณุ ภาพ
จัดสรร ดาเนนิ การ
(คน) (คน) (%)
กิจกรรมการ 2 กันยายน 2,615.- 2,615.- 10 15 100 - ผู้รับบรกิ าร
จดั การศกึ ษา 2564 สามารถนา
เพ่อื พัฒนา ความรูไ้ ปใช้
สังคมและ ในการพฒั นา
ชมุ ชน สงั คมและ
โครงการ ชุมชน
สังคมตืน่ รู้ สู้
ภัยโควิด-19
๑๘
กิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการสังคมตื่นรู้ สู้ภัยโควิด -19
ณ กศน.ตาบลทบั หมนั หม่ทู ี่ ๒ ตาบลทบั หมัน อาเภอตะพานหนิ จงั หวดั พิจิตร วันที่ 2 กันยายน 2564
- กำรจัดกำรศกึ ษำตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
โครงการ/ วนั ท่ี งบประมาณ ตัวชี้วดั ความสาเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
กิจกรรม ดาเนนิ การ จัดสรร ดาเนนิ การ เป้าหมาย ผลผลติ คดิ เปน็ เชิงคณุ ภาพ
(คน) (คน) (%)
กิจกรรมการ ๒๒ ธันวาคม 3,200.- 3,200.- 8 15 100.00 - ผู้รับบริการ
จัดการศึกษา 2563 สามารถนา
เรียนรตู้ าม ความรู้อยู่
หลักปรัชญา อยา่ งพอเพยี ง
เศรษฐกจิ เปน็ การลด
พอเพียง ต้นทนุ ดว้ ย
โครงการ การถนอม
คลองสวยนา้ อาหารเพ่ือลด
ใส ร่วมใจสู่สุข รายจา่ ยชว่ ย
ภาวะชมุ ชน เสริมรายได้
ตามหลัก
ปรัชญาของ
เศรษฐกิจ
พอเพียงและ
เกษตรทฤษฎี
ใหม่
๑๙
โครงการคลองสวยน้าใส ร่วมใจสู่สุขภาวะชุมชน ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านบึงประดู่ ที่ ๕ ตาบลทับหมัน อาเภอ
ตะพานหนิ จังหวัดพจิ ิตร วันที่ ๒๒ ธันวาคม 2563
โครงการ/ วันที่ งบประมาณ ตัวชวี้ ดั ความสาเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
กิจกรรม ดาเนินการ จดั สรร ดาเนินการ เป้าหมาย ผลผลติ คิดเป็น เชิงคณุ ภาพ
(คน) (คน) (%)
โครงการรู้กิน รู้ ๖ มถิ นุ ายน 1,200.- 1,200.- 15 1๕ 100.00 - ผู้รบั บริการ
ใช้ รูจ้ า่ ย 2564 สามารถนา
ภายใต้ ความรไู้ ป
สถานการณ์โค ดาเนินตาม
วิท ๑๙ ด้วย หลกั เศรษฐกิจ
หลกั ปรัชญา พอเพยี ง
ของเศรษฐกิจ
พอเพียง
โครงการรกู้ ิน ร้ใู ช้ รจู้ ่าย ภายใต้สถานการณ์โควดิ -19 ดว้ ยหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ณ
ศูนยเ์ รยี นรูช้ มุ ชนบา้ นบึงประดู่ หมูท่ ี่ 5 ตาบลทับหมนั อาเภอตะพานหิน จังหวดั พิจิตร วันท่ี ๖ มถิ ุนายน 2564
๒๐
โครงการ/ วนั ท่ี งบประมาณ ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็
กจิ กรรม ดาเนนิ การ เชิงปรมิ าณ
โครงการการ 3 กนั ยายน จัดสรร ดาเนินการ เปา้ หมาย ผลผลิต คิดเปน็ เชิงคุณภาพ
ปลกู สมุนไพร 2564 (คน) (คน) (%)
ให้มภี ูมคิ ้มุ กนั
ปอ้ งกนั โควิด- 1,262.- 1,262.- 3 8 100.00 - ผรู้ ับบรกิ าร
19
สามารถนา
ความรู้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั
ได้อย่าง
เหมาะสม
โครงการการปลูกสมุนไพรใหม้ ภี มู คิ ุ้มกนั ป้องกันโควิด-19 ณ กศน.ตาบลทบั หมัน
ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหนิ จงั หวัดพิจิตร วันที่ 3 กนั ยายน 2564
๒๑
- โครงกำรศนู ย์ฝึกอำชีพชมุ ชน
กำรจัดกำรศึกษำเพอ่ื พฒั นำอำชพี ระยะส้ัน (หลกั สตู รไมเ่ กนิ 30 ชั่วโมง)
โครงการ/ วนั ท่ี งบประมาณ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็
กจิ กรรม ดาเนินการ เชิงปริมาณ
ฝกึ ทักษะ ๖–๙ จดั สรร ดาเนินการ เป้าหมาย ผลผลิต คดิ เป็น เชงิ คุณภาพ
อาชีพ มกราคม (คน) (คน) (%)
วชิ าการถัก 2563
หมวกจาก 4,๙00.- 4,๙00.- 6 6 100.00 - ผู้เรยี นมี
ไหมพรม
จานวน ๒๐ ความรแู้ ละ
ชว่ั โมง
วธิ ี ทกั ษะ
การถักหมวก
จากไหมพรม
สามารถ
นาไป
ประกอบและ
พฒั นาอาชพี
ได้
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (ไม่เกนิ 30 ชั่วโมง) วชิ าการถกั หมวกจากไหมพรม
ณ บ้านเลขท่ี ๑๕๐ หมู่ที่ ๑ ตาบลทบั หมัน วันที่ ๖-๙ มกราคม 256๔
๒๒
โครงการ/ วนั ที่ งบประมาณ ตัวชวี้ ัดความสาเร็จ
กิจกรรม ดาเนินการ เชงิ ปริมาณ
ฝกึ ทกั ษะ ๘ – ๑๓ จัดสรร ดาเนินการ เปา้ หมาย ผลผลติ คดิ เปน็ เชงิ คุณภาพ
อาชพี การทา มกราคม (คน) (คน) (%)
แคร่ไมไ้ ผ่ 2563
จานวน ๓๐ ๗,000.- ๗,000.- 6 ๘ 100.00 - ผู้เรยี นมี
ช่วั โมง
ความรู้และวิธี
ทกั ษะการทาแคร่
ไม้ไผ่
สามารถนาไป
ประกอบและ
พัฒนาอาชีพได้
โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (ไมเ่ กนิ 30 ชั่วโมง) วิชาการทาแคร่ไม้ไผ่ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน
บ้านบงึ ประดู่ หมูท่ ี่ ๕ ตาบลทบั หมนั อาเภอตะพานหนิ จังหวดั พจิ ิตร ๘ – ๑๓ มกราคม 256๔
๒๓
โครงการ/ วนั ที่ งบประมาณ ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็
กิจกรรม ดาเนินการ เชิงปรมิ าณ
วชิ าการปลกู ๘ – ๑๐ จัดสรร ดาเนินการ เปา้ หมาย ผลผลติ คดิ เป็น เชงิ คุณภาพ
พืชผกั มิถนุ ายน (คน) (คน) (%)
สมนุ ไพร 2564
จานวน 1๕ ๓,600.- ๓,600.- 6 8 100.00 - ผู้เรยี นมี
ชั่วโมง
ความรูแ้ ละ
วธิ ี ทักษะ
การปลูก
พชื ผัก
สมุนไพร
สามารถ
นาไป
ประกอบและ
พฒั นาอาชพี
ได้
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน (ไม่เกนิ 30 ชว่ั โมง) วชิ าการปลูกพชื ผักสมนุ ไพร
ณ บ้านเลขท่ี ๙ หมู่ท่ี๒ ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร วันที่ ๘ – ๑๐ มิถุนายน
2564
๒๔
โครงการ/ วันท่ี งบประมาณ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
กิจกรรม ดาเนนิ การ เชิงปริมาณ
วชิ าการตดั ๑๑ – ๑๒ จดั สรร ดาเนินการ เปา้ หมาย ผลผลิต คิดเปน็ เชงิ คณุ ภาพ
เยบ็ หนา้ กาก มถิ ุนายน (คน) (คน) (%)
อนามัยแบบ 2564
ผ้าจานวน ๒,๗00.- ๒,๗00.- 6 ๑๐ 100.00 - ผู้เรียนมี
1๐ ช่ัวโมง
ความรู้และ
วธิ ี ทักษะ
การตดั เย็บ
หน้ากากผ้า
สามารถ
นาไป
ประกอบและ
พฒั นาอาชพี
ได้
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน (ไม่เกิน 30 ชว่ั โมง) วชิ าการตัดเย็บหนา้ กากอนามยั แบบผา้
ณ บา้ นเลขที่ 50/3 หมู่ท่ี๗ ตาบลวัดขวาง อาเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร วันที่ ๑๑– ๑๒ มิถุนายน
2564
๒๕
- โครงกำรศนู ย์ฝกึ อำชพี ชุมชน
- กำรจดั กำรศกึ ษำชัน้ เรียนวชิ ำชพี (หลกั สตู ร 31 ชั่วโมง)
โครงการ/ วันที่ งบประมาณ ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็
กิจกรรม ดาเนินการ เชิงปรมิ าณ
วชิ าการเพาะ จัดสรร ดาเนินการ เป้าหมาย ผลผลิต คิดเป็น เชงิ คณุ ภาพ
เมล็ดพันธุ์พชื (คน) (คน) (%)
จานวน ๔๐
ชั่วโมง วันท่ี 9-๑๖ ๑๒,000.- ๑2,000.- 6 1๔ 100.00 - ผู้เรียนมี
มกราคม ความรู้และวิธี
2564 ทกั ษะการ
การเพาะพนั ธ์
พืชเปน็ การ
ลดรายจา่ ย
สามารถนาไป
ประกอบและ
พัฒนาอาชีพ
ได้
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การจัดการศึกษาชน้ั เรยี นวชิ าชีพ (หลักสูตร 31 ชวั่ โมง)
วชิ าการเพาะเมล็ดพนั ธุ์พชื ณ ศูนยเ์ รียนรชู้ มุ ชนบ้านบงึ ประดู่ หมู่ที่๕ ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหิน
จังหวัดพิจติ ร วันท่ี ๙– ๑๖ มกราคม 2564
๒๖
- โครงกำรพฒั นำเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั
โครงการ/ วนั ที่ งบประมาณ ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็
กจิ กรรม ดาเนนิ การ เชิงปรมิ าณ
โครงการ วันท่ี จัดสรร ดาเนนิ การ เป้าหมาย ผลผลิต คดิ เปน็ เชงิ คุณภาพ
พัฒนา ๑๘-๑๙ (คน) (คน) (%)
เศรษฐกจิ กรกฎาคม
ดจิ ทิ ัล 2564 ๒,๒๘๐.- ๒,๒๘๐.- ๑๓ ๑๕ 100.00 - ผู้เรียนมี
กจิ กรรม ความรูแ้ ละวธิ ี
พัฒนา ทักษะการ
เครอื ข่าย
เศรษฐกจิ การหลักสตู ร
ดจิ ิทัลชุมชน Digital
หลักสูตร
Digital Literacy
Literacy และการใช้
และการใช้ งานโปรแกรม
งานโปรแกรม
สานักงาน สานกั งาน
เบือ้ งต้น เบื้องตน้
สามารถนาไป
ประกอบและ
พัฒนาอาชีพ
ได้
โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจทิ ัล กิจกรรมพฒั นาเครือขา่ ยเศรษฐกิจดิจิทัลชุมชน หลักสูตรDigital
Literacy และการใชง้ านโปรแกรมสานักงานเบ้ืองตน้ ณ ศูนย์ดิจทิ ลั ชุมชนบา้ นตน้ ชมุ แสง ต. งวิ้ ราย อ. ตะพานหิน
จ.พจิ ิตร วันที่ ๑๘– ๑๙ กรกฎาคม 2564
๒๗
- กิจกรรมส่งเสริมกำรอำ่ น/บำ้ นหนังสือชนุ /ห้องสมุดประชำชนอำเภอ
ท่ี โครงกำร / กิจกรรม กล่มุ เป้ำหมำย งบประมำณ ระยะเวลำ (วนั สถำนทีด่ ำเนนิ กำร
(คน) ทีใ่ ช้ / เดือน / ปี)
๑ โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรูห้ นงั สือผูส้ ูง (บำท) ณ รพ.สต.ตาบลทบั หมัน หมู่
วัยให้กับประชาชน ๓๐ คน ๑๙ มนี าคม ที่ ๖ ตาบลทบั หมัน อาเภอ
ไมใ่ ช้ 256๔ ตะพานหิน จงั หวดั พิจิตร
งบประมาณ
2 โครงการส่งเสรมิ การเรียนรู้ตามอัธยาศัยใน ๕๓ คน ไม่ใช้ ๑๖ เดอื น บ้านทบั หมัน หมทู่ ี่๑ ตาบล
ชมุ ชน งบประมาณ มนี าคม 256๔ ทบั หมนั อาเภอตะพานหิน
จงั หวัดพจิ ติ ร
3 โครงการอาเภอยม้ิ เคลือ่ นทแ่ี ละสง่ เสรมิ การ ๗๕ คน ไม่ใช้ ๓ กนั ยายน วัดทบั หมนั หมูท่ ่ี ๑ ตาบล
เรียนรู้สู่ชุมชนตามอธั ยาศัย งบประมาณ ๒๕๖๔ ทับหมัน อาเภอตะพานหนิ
จงั หวัดพจิ ติ ร
4 โครงการสง่ เสรมิ การสร้างนสิ ัยแหง่ การเรยี นรู้ ๖๒ คน ไมใ่ ช้ ๒๗ เดือน บา้ นทับปรู หมู่ท่ี ๒ ตาบลทบั
สยู่ อดนักอ่านในบา้ นหนงั สือชมุ ชนประจา งบประมาณ กรกฎาคม ถงึ วันท่ี หมัน อาเภอตะพานหิน
ตาบลทบั หมัน จังหวดั พิจติ ร
๓๑ สงิ หาคม
256๔
5 โครงการส่งเสริมการสร้างนสิ ัยแห่งการเรียนรู้ ๗๐ คน ไมใ่ ช้ ๒๗ เดือน บา้ นบึงประดู่ หมูท่ ่ี ๕ ตาบล
สู่ยอดนกั อ่านในบ้านหนงั สอื ชมุ ชนประจา งบประมาณ กรกฎาคม ถงึ วนั ท่ี ทับหมนั อาเภอตะพานหนิ
ตาบลทับหมัน ๓๕ คน
๗๐ คน ไม่ใช้ ๓๑ สิงหาคม จังหวดั พจิ ติ ร
6 โครงการรกั การอา่ น On Hand งบประมาณ 256๔
บ้านหนงั สอื ชุมชน หม่ทู ี่ ๑
7 โครงการส่งเสรมิ การอา่ นผ่าน QR CODE ไม่ใช้ ๑๑ สิงหาคม ตาบลทับหมัน อาเภอตะพาน
งบประมาณ ถึงวนั ที่ ๑๕
รวมงบประมำณทงั้ หมด กันยายน 256๔ หิน จังหวดั พจิ ติ ร
ไมใ่ ช้ ๒๐ เดอื น บ้านหนังสือชุมชน หมทู่ ี่ ๒
งบประมาณ ตาบลทบั หมัน อาเภอตะพาน
สิงหาคม 256๔
หิน จงั หวดั พจิ ติ ร
๒๘
ภำพกจิ กรรมสง่ เสรมิ กำรอำ่ น/บำ้ นหนงั สอื ชุน
๒๙
ส่วนที่ 3 แนวทำงกำรพัฒนำดำเนนิ งำน กศน.ตำบล ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
-ข้อจากัด/ปญั หา/อปุ สรรค
(ดา้ นบุคลากร ครู กศน.ตาบล/แขวง คณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง วิทยากร
ดา้ นงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานท่ี สอ่ื วัสดุอุปกรณ์ และดา้ นโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยม
องคก์ ร) ๑. มีอาคารเป็นเอกเทศ แตอ่ าคารมีความชารุดตอ้ งปรับปรงุ ซ่อมแซม ยงั ขาดในเรอ่ื งของ
งบประมาณ
๒. มีโรงเรยี นรฐั บาลที่สอนถงึ ชั้น มธั ยมศึกษาตอนต้นอยูใ่ นพน้ื ท่ี ทาให้หานักศึกษาได้ยาก
๓. ประชากรวัยแรงงานส่วนใหญไ่ ปทางานต่างจังหวดั ทาให้หานกั ศกึ ษาไดย้ าก
-จดุ ทีค่ วรพฒั นา
กศน.ตาบลทับหมนั เรื่องของอาคารสถานทยี่ งั ไมส่ วยงามต้องปรบั ปรงุ และเนอ่ื งจากอาคารสถานที่มีความชารดุ
ตอ้ งปรับปรุงซ่อมแซมเพมิ่ เตมิ
-แนวทำงกำรแก้ไขและกำรพฒั นำที่ย่งั ยืน
แนวทางการแก้ไขปญั หาจึงตอ้ งมีการปรบั ปรุงซ่อมแซมอาคารเรยี นใหน้ ่าอยู่ ให้สวยงาม และสิ่งแวดลอ้ มภายนอก
ใหด้ สู ะอาดงามตา
๓๐
ภาคผนวก
๓๑
Best Practice และรำงวลั ท่ีไดร้ ับประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564
ผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice)
รายงานผลกจิ กรรมเด่น (Best Practice)
สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอตะพานหนิ
๑.ช่ือผลงาน: การส่งเสรมิ สนับสนุนการค้าออนไลน์ โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน
๒. หนว่ ยงำน/สถำนศึกษำ : กศน.ตาบลทับหมนั ตาบลทบั หมัน อาเภอตะพานหนิ จังหวดั พจิ ติ ร
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอตะพานหนิ
สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พจิ ิตร
๓. ผู้ดำเนินงำน : นางสาวนันทวนั ออ่ นจติ ร ครู กศน.ตาบลทับหมนั
๔. สอดคลอ้ ง : นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
2. สง่ สรมิ กำรจัดกำรศกึ ษำและกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรบั ประชำชนท่เี หมำะสมกบั ทกุ ชว่ งวัย
2.1 สง่ เสริมการจดั การศึกษาอาชีพเพ่อื การมงี านทา ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง
นวตั กรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมยั และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผู้รบั บริการ และสามารถออกใบรับรองความรู้ความสามารถเพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้
2.2 ส่งเสริมและยกระดับทกั ษะภาษาองั กฤษให้กับประชาชน (English for All)
4. บูรณำกำรควำมร่วมมือในกำรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจัดกำรศึกษำและกำรเรียนรใู้ ห้กับ
ประชำชนอยำ่ งมีคุณภำพ
4.1 ร่วมมอื กับภาคเี ครือข่ายทัง้ ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
รวมทงั้ ส่งเสริมและสนบั สนุนการมีสว่ นรว่ มของชุมชน อาทิ การสง่ เสรมิ การฝกึ อาชพี ท่ีเปน็ อตั ลกั ษณ์และบริบท
ของชุมชนสง่ เสริมการตลาดและขยายช่องทางการจาหนา่ ยเพ่ือยกระดับผลิตภัณฑ์/สินค้า กศน.
4.2 บรู ณาการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ทง้ั ในสว่ นกลาง
และภูมิภาค
5. พัฒนำศกั ยภำพและประสทิ ธิภำพในกำรทำงำนของบุคลำกร กศน.
5.1 พัฒนาศักยภาพและทกั ษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Literacy & Digital
Skills)ใหก้ บั บุคลากรทุกประเภททุกระดบั รองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ิทัลอย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทัง้ พัฒนาครูให้มี
ทกั ษะความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสอ่ื การเรียนรแู้ ละการจัดการเรียนการสอนเพือ่ ฝกึ
ทักษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบและมเี หตุผล เป็นขนั้ ตอน
ภำรกิจตอ่ เนื่อง
1.3 กำรศกึ ษำตอ่ เนื่อง
1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทาอย่างยั่งยืน โดยใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การศึกษาอาชพี
เพอ่ื การมงี านทาในกลุม่ อาชีพเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรอื การ
บริการรวมถึงการเน้นอาชพี ชา่ งพน้ื ฐาน ท่สี อดคล้องกบั ศักยภาพของผเู้ รยี น ความต้องการและศกั ยภาพของแต่ละ
พืน้ ทมี่ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ท่ยี อมรับ สอดรบั กับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ
๓๒
ตลอดจนสร้างความเขม้ แข็งให้กับศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน โดยจัดให้มกี ารสง่ เสรมิ การรวมกลุม่ วิสาหกิจชุมชน การ
พัฒนาหนง่ึ ตาบลหน่งึ อาชพี เด่น การประกวดสินค้าดพี รีเมีย่ ม การสรา้ งแบรนดข์ อง กศน. รวมถึงการส่งเสรมิ และ
จัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกากบั ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชพี
เพื่อการมงี านทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนอ่ื ง
๕.ท่ีมาละความสาคัญของผลงาน
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สู่ “วิสาหกิจ
ชุมชน : ชุมชนพ่ึงตนเอง ทาได้ ขายเป็น” เพ่ือพัฒนาด้านอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย อาชีพด้าน
เกษตรกรรม ดา้ นอุตสาหกรรม ดา้ นพาณชิ ยกรรม ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ และดา้ นอานวยการและอาชีพเฉพาะ
ทาง โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง และสร้าง
รายได้ทมี่ ่ันคง
การประชาคมหมูบ่ า้ นประชาชนได้รว่ มกนั พูดคุย แลกเปลี่ยนถกแถลง เกีย่ วกบั การประกอบอาชพี ของคน
ในชุมชน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้างทั่วไป แต่ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจ จึงทาให้รายได้ในการ
ประกอบอาชพี ลดนอ้ ยน้อยลง ประชาชนในชุมชนจงึ เล็งเห็นความสาคญั และตอ้ งการสรา้ งอาชีพเสริมให้กับตนเอง
โดยประเมินจากความต้องการของตลาด และทรัพยากรทมี่ ีอยใู่ นชมุ ชน จงึ ได้จัดต้งั กลุม่ อาชีพการส่งเสริมสนับสนุน
การคา้ ออนไลน์ เพอ่ื เปน็ การสร้างอาชพี ให้เกิดรายได้
อาชีพการส่งเสริมสนบั สนุนเรื่องการคา้ ออนไลน์ ปจั จุบนั การเรียนร้ดู ้วยตนเอง คอื การเรยี นท่ีเกดิ จาก
ความอยากรู้ อยากเหน็ ผ้เู รียนจะมกี ารวางแผนด้วยตนเองและการเรียนรนู้ อกหอ้ งเรียน คอื การเรยี นรู้สามารถ
เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทกุ เวลา เน่อื งจากองค์ความรตู้ ่าง ๆ นน้ั มอี ยู่ในสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เราไม่ว่าจะเปน็ สง่ิ แวดล้อมทาง
ธรรมชาติ หรอื ส่ิงแวดลอ้ มทางสังคมที่มนุษย์สร้างข้นึ
การส่งเสริมสนับสนุนการค้าออนไลน์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้แต่ละชุมชนได้ผลิตและจาหน่าย
กระปุกออมสินพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการคุณภาพท่ีมีจุดเด่นและมูลค่าเพ่ิมเป็นท่ีเป็นที่ต้องการของ
ตลาดสอดคล้องกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่นโดยยึดหลักการพ่ึงตนเองของชุมชนและกา รบริหารจัดการ
เชอื่ มโยงสนิ คา้ ชมุ ชนสู่ตลาดทง้ั ในประเทศและต่างประเทศผลิตและจาหน่ายสินค้าออนไลน์ท่ีมีในกลุ่มอาชีพ ขาย
ทงั้ ปลีก-ส่ง ตามความตอ้ งการของลกู ค้ามหี ลากหลายรปู แบบในกลุ่มอาชพี
1. ภูมปิ ัญญาพ้ืนบ้าน เปน็ องคค์ วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ท่ีสั่งสมและสืบทอดกนั มาเปน็
ความสามารถและศกั ยภาพในเชงิ การแก้ปัญหา การปรบั ตัวเรยี นรแู้ ละสืบทอดไปสู่คนรนุ่ ตอ่ ไปเพือ่ การดารงอยู่
2. ภูมิปัญญาชาวบา้ น เป็นวธิ ีการปฏบิ ตั ิของชาวบ้าน ซ่งึ ไดม้ าจากประสบการณ์ แนวทางแก้ปญั หาแตล่ ะ
เรอ่ื งแตล่ ะประสบการณ์ แต่ละสภาพแวดลอ้ มซึ่งจะมีเงื่อนไขปัจจยั เฉพาะแตกตา่ งกันไปนามาใชแ้ ก้ไขปัญหาโดย
อาศัยศักยภาพที่มีอย่โู ดยชาวบ้านคิดเองเปน็ ความรทู้ สี่ รา้ งสรรคแ์ ละมีส่วนเสรมิ สร้างการผลิต หรือเป็นความรขู้ อง
ชาวบ้านทีผ่ ่านการปฏบิ ตั มิ าแล้วอยา่ งโชกโชน เป็นส่วนหน่งึ ของมรดกทางวัฒนธรรม เป็นความร้ทู ี่ปฏิบตั ิไดม้ พี ลงั
และสาคญั ยิ่ง ช่วยให้ชาวบ้านมชี วี ิตรอดสร้างสรรคก์ ารผลิตและช่วยในด้านการทางาน เป็นโครงสรา้ งความรูท้ ีมี
หลกั การ มเี หตุ มผี ลในตัวเอง
3. ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เปน็ ความรู้ทเี่ กิดจากประสบการณใ์ นชีวิตของคน ผ่านกระบวนการศึกษาสงั เกตคิด
วา่ วเิ คราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลกึ เปน็ องคค์ วามรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรเู้ ฉพาะหลายๆเรื่องจดว่าเปน็
พื้นฐานขององคค์ วามรูส้ มยั ใหมท่ ี่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดาเนินชวี ติ ของ
เรา ภมู ิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรทู้ ี่มอี ยู่ท่ัวไปในสงั คมชุมชนและในตัวผรู้ ู้เองจงึ ควรมีการสืบคน้ รวบรวม ศึกษา
ถา่ ยทอดพัฒนาและนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างกวา้ งขวาง
๓๓
4.ภูมปิ ญั ญาไทย หมายถงึ องคค์ วามรคู้ วามสามารถ
ทักษะของคนไทยทเ่ี กิดจากการสง่ เสริมประสบการณท์ ่ีผา่ นกระบวนการ การเลือกสรรเรียนรู้ปรงุ แต่งและ
ถา่ ยทอดสบื ตอ่ กันมา เพ่ือใชแ้ กไ้ ขปญั หาและพฒั นาวิถชี ีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสมกับ
ยคุ สมัย
จากการไดเ้ ข้าร่วมขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนยิ มยัง่ ยืน โดยบรู ณาการขับเคลื่อนการ
ทางานตามแนวทางประชารชั ดาเนินการโครงการ / กจิ กรรมในพน้ื ทีท่ งั้ ในระดับตาบล หมู่บ้าน โดยร่วม
ดาเนนิ งานกบั ทีมขบั เคลอื่ นการพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนิยมย่งั ยนื การดารงชีวิต วฒั นธรรมการบริโภค
ภูมปิ ญั ญา วัตถุดิบและ ความตอ้ งการของประชาชนในชุมชน ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหิน จงั หวัดพจิ ติ ร
พบวา่ ประชาชนส่วนใหญ่ มีอาชพี เกษตรกรรม ปลกู ข้าว ทาสวน ทาไร่ เป็นส่วนใหญ่ ซงึ่ ฤดกู ารเพาะปลูกและเก็บ
เก่ียวมนั จะมีช่วงระยะท่ีว่างเยอะ ทาให้ประชาชนเขาขาดรายได้ในช่วงนนั้ จึงมีความต้องการทยี่ ากสร้างรายได้
เสริม หลักจาการทานา ทาไร่
กศน.ตาบลทับหมนั จงึ ได้ทาการสารวจและสอบถามความสนใจ ความต้องการเรียนรู้การทากิจกรรม จึงได้มีการ
รวมกลุ่มอาชีพ เพ่ือเรยี นรู้และเป็นการฝึกอาชีพวชิ าการพัฒนาอาชพี การวิชาการถักหมวกจากไหมพรหม เพ่ือเป็น
การพัฒนาอาชพี ให้กับประชาชนในพื้นท่ี และสามารถนาองค์ความรู้ที่ไดร้ บั จากการอบรมไปพัฒนาอาชีพในชุมชน
ทีห่ ลากหลายมีรายไดม้ ากข้นึ
๖. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
เพ่ือเพ่มิ รายได้ในการคา้ ออนไลน์
๒. เพ่อื พัฒนาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนที่มีความสามารถเชิงการแข่งขันใน
ตลาดได้ อยา่ งยง่ั ยนื
๗.วธิ ีกำรดำเนนิ งำน
๑.กำหนดกลมุ่ เป้ำหมำย
กลุ่มอาชพี ชมุ ชนตาบลทับหมนั หมู่ ๑ ตาบลทบั หมัน จานวน ๑๐ คน
๒.กำรดำเนนิ กจิ กรรม
๑. ครูและประชาชนในพื้นท่ีร่วมกันศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ โดยจัดเวทีประชาคม
จากนั้นนาข้อมูลมาวิเคราะห์ ทาให้ทราบว่าชุมชนมีอาชีพด้านการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ และมีช่วงว่างที่เว้น
ระยะหา่ งจาการประกอบอชีพเพาะปลูก ทาไร่ ทานา จึงให้ประชาชนเกิดการว่างงานในช่วงเพาะปลูก จึงอยากมี
ความรู้และสรา้ งรายไดเ้ สรมิ ให้กับตนเองและครอบครวั
๒. ครูและประชาชนในพนื้ ที่ ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ผลท่ี
ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจะได้รบั ทาใหม้ ีผู้สนใจเขา้ ร่วมโครงการเป็นอาชีพ จานวน ๑๐ คน
๓. ศกึ ษาเอกสารข้อมูลเกีย่ วกับการสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพให้กัลป์ชุมชน และ
การดาเนนิ งาน ตลอดจนจดั เตรยี มสือ่ อุปกรณ์ และวางแผนการจดั กจิ กรรมเรียนรู่รว่ มกัน
๔. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้กับผู้เรียน เรื่องผลิต การพัฒนารูปแบบสินค้าให้
นา่ สนใจ โดยเน้นให้สินค้ามีคุณภาพ สามรถนาไปจาหน่ายได้
๕. ให้ผู้เรียนสามารถนาสินค้าออกจาหน่ายได้ ตลอดจนเพ่ิมช่องทางการขายโดยใช้สื่อออนไลน์
เข้ามามบี ทบาท
๓๔
๖. สรปุ ผลการดาเนนิ งานท่ีได้จากการติดตามประเมนิ ผลเมือ่ ส้ินสดุ โครงการโดยรวบรวมผลงานท่ี
เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะจากการประเมิน และจัดทารายงานเพื่อนาเสนอผลการ
ปฏบิ ตั ิงานทีด่ ี (Best Pratice)
๗. เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Pratice) โดยการนาเสนอผลงาน ปัญหา และอุปสรรค
ขอ้ เสนอต่อทป่ี ระชุม กศน.อาเภอเพอื่ ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมท้ังนาเสนอผลงานใน
รปู แบบต่างๆ นาเสนอข้อมูลในชมุ ชนใหร้ าบ
๘. นาเสนอแนะของผู้เรียน ชุมชน และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง มาปรับปรุงรูปแบบวิธีการ เพื่อเผยแพร่ให้
ชมุ ชนอน่ื ทมี่ ีสภาพบริบทเหมือนใกล้เคยี งกนั ได้นาไปปรับใชใ้ นการดาเนนิ กจิ กรรมตอ่ ไป
๘. ตวั ชีวัดความสาเรจ็
๑. กลุ่มเป้าหายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
เพอื่ เพ่มิ รายได้
๒. มีการพัฒนาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนท่ีมีความสามารถเชิงการ
แขง่ ขนั ในตลาดไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน
๙. การประเมนิ ผลและเครอ่ื งมอื การประเมนิ ผล
ประเมินตามสภาพจริง โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบตั ิ การประเมินความรู้ รวมถงึ การประเมินความพึง
พอใจในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว
๑๐. ผลการดาเนนิ งาน
๑. กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกิจกรรมการเรยี นรไู้ ปใชใ้ นการพัฒนาอาชพี
๒. มกี ารพฒั นาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนที่มีความสามารถเชิงการ
แขง่ ขนั ในตลาดได้อย่างยัง่ ยนื
๑๑.บทสรปุ
มีการดาเนินการโดยใชว้ งจรเดมิง่ (Deming Cycle) PDCA
ดา้ นการวางแผน(P)
๑. ศึกษาสภาพปัญหา กศน.ตาบลทับหมัน ได้ร่วมทาการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ซง่ึ ทาการประชาคมระดบั หม่บู า้ น เพ่ือสอบถามความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย ในด้านตา่ งๆ และวิเคราะห์ปัญหา
จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของกลมุ่ ตง้ั แตต่ น้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ไว้และทาการวเิ คราะหผ์ ลรว่ มกนั ดังน้ี
จดุ แข็ง(S) โอกาส(O)
๑. มีการรวมกลุ่มทีช่ ัดเจน ๑.มีหนว่ ยงานในพนื้ ท่ีอย่ใู กล้ และสนบั สนนุ หลากหลาย
๒.ผเู้ รยี นมที ักษะในการดาเนินอยู่แล้ว ๒.มงี บประมาณสนับสนุน จาก กศน.อาเภอตะพานหนิ
๓.มีผ้นู าเครือขา่ ยท่ดี ี ๓.มีชอ่ งทางการตลาด และสามารถขายทางออนไลนไ์ ด้
อปุ สรรค(W) อปุ สรรค(T)
๑.ขาดทักษะการบรหิ ารจกั การกลุ่มทดี่ ี ๑.ตลาดหรือแหลง่ จาหนา่ ยไมช่ ดั เจน
๒.ไมม่ ที กั ษะการส่งเสรมิ การขาย
๓๕
๒. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าท่ี และวิเคราะห์ความสอดคล้องท่ีเก่ียวข้อง เช่น นโยบาย
จุดเน้นของสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯลฯ จากการวิเคราะห์งานซึ่งจะเห็นได้ว่า
เป็นงานตามบทบาทหน้าที่ของครู กศน.ตาบล ที่จะต้องจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาตามอัธยาศัย
สง่ เสริมดารเรยี นรขู้ งิ ชุมชน
๓. คน้ หาร Best Pratic โดยพิจารณาประเด็น ดังน้ี
-เป็นเรื่องทเ่ี กี่ยวข้องกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหนา้ ท่ี
-สนองนโยบาย การแกป้ ญั หา การพฒั นาประสิทธิภาพของผู้เรยี น
-เป็นวธิ กี ารรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ขึ้นมาใหม่ โดยผา่ การนวัตกรรม ทีว่ า่ ทาอะไร ทาอย่างไร และทาเพื่ออะไร
-มีผลผลติ / ความสาเรจ็ เพม่ิ ขนึ้
-สามารถนาไปใช้เป็นมาตรฐานการทางานต่อไปไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื
-มีการพัฒนาปรับปรงุ ต่อไป
จากการพจิ ารณาประเดน็ ตา่ งๆ ดังกล่าว เพือ่ ค้นหา Best Pratice ในการจัดกจิ กรรมท่ี
สอดคลอ้ งกบั ปญั หา และความต้องการของชุมชน พบวา่ เปน็ เรื่องท่เี กี่ยวขอ้ งกับบทบาทหน้าที่โดยตรง ของครู
กศน.ตาบล และเป็นการดาเนนิ การตามบทบาทภารกิจ ดังน้ี
๑. ครแู ละประชาชนในพน้ื ท่ี ประชมุ ร่วมกันเพอื่ วางแผนการดาเนินงาน ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงคผ์ ลที่
ผ้เู ข้ารว่ มโครงการจะไดร้ บั ทาให้มีผู้สนใจเขา้ ร่วมโครงการเปน็ อาชพี จานวน ๑๐ คน
๒. ศกึ ษาเอกสารขอ้ มูลเก่ียวกบั การสง่ เสริม การจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพให้กลั ปช์ มุ ชน และ
การดาเนนิ งาน ตลอดจนจดั เตรียมสือ่ อุปกรณ์ และวางแผนการจัดกิจกรรมเรยี นรรู่ ่วมกนั
๓. ครูและผูเ้ รยี นร่วมกนั กาหนดทิศทางการดาเนินงานและขอ้ ตกลงร่วมกนั คือ ในการรับซ้ือ
ผลผลิตจากชมุ ชน มาดาเนินการผลิตในราคาทกี่ าหนดกนั ของกลมุ่ และนามาทาผลติ แล้วขายออกในราคาท่ี
ท้องตลาดกาหนด หรือในราคาที่ตกลงของกลุ่ม
๔. นาขอ้ มูลจากการวเิ คราะหแ์ ละพจิ ารราในขอ้ ๑ – ๓ มากาหนดกรอบการดาเนนิ งานที่
พิจารณาแล้ววา่ เป็นแนวทางปฏิบัตทิ ่ีดี (Best Pratice) โดยดาเนนิ การ ดงั นี้
๑.กาหนดวตั ถปุ ระสงค์
๒.กาหนดตวั ช้วี ัดความสาเร็จ
๓.กาหนดวธิ ีดาเนนิ การ
๔.กาหนดวิธกี ารประเมนิ ผลเครือ่ งมือการประเมิน
ดา้ นการปฏบิ ัติ (D)
จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ อาชีพตามท่วี างไวแ้ ละออกแบบกิจกรรมไว้ โดยการให้ความรู้และฝกึ ปฏิบัติ ดงั นี้
๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้กับผู้เรียน เรื่องผลิต การพัฒนารูปแบบสินค้าให้
นา่ สนใจ โดยเน้นให้สินค้ามคี ณุ ภาพ สามารถนาไปจาหน่ายในรูปแบบออนไลนไ์ ด้
๒.ให้ผู้เรียนฝึกปฏบิ ตั กิ ารผลติ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์และการสร้างโล
โกข้ องสินคา้ เพอ่ื เปน็ จดุ เดน่
๓. ให้ผู้เรียนสามารถนาสินค้าออกจาหน่ายได้ ตลอดจนเพิ่มช่องทางการขายโดยใช้สื่อออนไลน์
เข้ามามบี ทบาท
๓๖
ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล (C)
๑.ประเมินตามสภาพจริง โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติ การประเมินความรู้ รวมถึงการ
ประเมินความพึงพอใจในการดาเนนิ กิจกรรมดังกล่าว
๒. สรปุ ผลการดาเนนิ งานที่ได้จากการตดิ ตามประเมนิ ผลเม่ือส้ินสุดโครงการโดยรวบรวมผลงานท่ี
เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมท้ังข้อเสนอแนะจากการประเมิน และจัดทารายงานเพื่อนาเสนอผลการ
ปฏบิ ัติงานท่ีดี (Best Pratice)
๓. เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Pratice) โดยการนาเสนอผลงาน ปัญหา และอุปสรรค
ขอ้ เสนอต่อทป่ี ระชมุ กศน.อาเภอเพ่อื ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมทั้งนาเสนอผลงานใน
รปู แบบตา่ งๆ นาเสนอข้อมูลในชุมชนใหร้ าบ
ด้านการพัฒนาปรับปรงุ (Action: A)
นาข้อเสนอแนะของผเู้ รยี น ชุมชน และผู้เก่ียวขอ้ ง มาปรับปรุงรูปแบบวิธีการ เพื่อเผยแพร่ให้กับ
ชมุ ชน
๑๒. กลยุทธ์หรอื ปจั จัยทที่ าให้ประสบความสาเร็จ
๑. การมีสว่ นร่มของครู ผู้เรยี นและชมุ ชน ในการวเิ คราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน ทาให้รู้สภาพ
ปญั หาความต้องการของชุมชนไปสูเ่ ป้าหมายทีต่ ้องการได้
๒. การนาอาทรัพยากรท่ีมอี ยูใ่ นชุมชน มาพัฒนา ดดั แปลงให้เกิดผลิตภัณฑใ์ หม่ๆ
๓. เปน็ การดาเนนิ การตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดิม (PDCA) ซึ่งเปน็ การดาเนนิ การแบบมี
ระบบ สามารถตรวจสอยได้ ตง้ั แต่การวิเคราะห์สภาพปัญหา ความตอ้ งการของชุมชน การมสี ่วนรว่ มของครู เรยี น
ชุมชน รวมท้ังการมีสว่ นร่วมในการวางแผนและออแบบกจิ กรรมของครู ผเู้ รียนและชมุ ชน ตลอดจนมีการตดิ ตาม
ประเมินผลทุกขั้นตอน จึงทาให้สามารถพัฒนาผ้เู รียนให้บรรลตุ ามตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ ของโครงการ
๓๗
ควำมสำคญั ของกำรขำยออนไลน์
ในโลกปัจจุบันอินเทอร์เนต็ ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทสาคัญอยา่ งยง่ิ ในชวี ติ ไม่เพยี งแต่การสบื ค้นขา่ วสารขอ้ มูล
ตา่ งๆ การตดิ ตอ่ สือ่ สารในกลมุ่ เพอ่ื น แต่รวมไปถึงการซื้อขายสนิ คา้ แบะบรกิ ารผ่านทางอินเทอร์เนต็ หรอื ที่เรยี ก
กันวา่ E-Commerce เพราะ E-Commerce คือ บริการการซ้อื ขายออนไลน์ มคี วามสาคญั ดังนี้ ทาให้
การซือ้ ขายออนไลน์ สามารถซอื้ ขายไดท้ กุ ที่ สรา้ งความสะดวกสบายให้ผู้ซอ้ื และผู้ขาย
เทคโนโลยี กย็ ังถอื ปจั จัยหลักท่ีช่วยสง่ เสริมใหธ้ ุรกจิ E-Commerce เตบิ โตไปไดอ้ ย่างรวดเร็วมาก
เพราะทาธุรกจิ E-Commerce ปัจจบุ ัน สามารถใช้งานไดห้ ลากหลายช่องทางทงั้ ทางสมาร์ทโฟน แทบ็ เล็ต หรอื
คอมพิวเตอร์ ซง่ึ ระบบของ E-Commerce มคี วามปลอดภัย โดย เวบ็ ไซต์ E-Commerce สว่ นใหญจ่ ะมรี ะบบการ
จ่ายเงนิ ทีส่ ะดวกสบายแตร่ ะบบความปลอดภัยสูงมาก
เป็นชอ่ งทางใหม่สาหรับผู้ประกอบการ ซ่ึงถอื เป็นชอ่ งทางหนึง่ ท่ชี ว่ ยสร้างโอกาสในการขยายช่องทาง
การคา้ ขายให้ผูป้ ระกอบการได้มากยง่ิ ขึ้น และเป็นตัวช่วยหนึ่งในการเขา้ ถงึ ผบู้ รโิ ภคไดง้ ่ายและตรงกลุม่ เปา้ หมาย
มากขึน้
เปน็ วิธที ่ดี ีในการสร้างแบรนด์ใหเ้ ปน็ ทรี่ ู้จัก เพราะปัจจุบันสงั คมออนไลน์ถอื เป็นส่อื หลักทช่ี ว่ ยในการโฆษณา
และประชาสัมพันธ์ไดอ้ ยา่ งดเี ยยี่ ม ได้รบั ความนยิ มอย่างแพร่หลาย ดังนน้ั จึงถือเป็นอีกช่องทางหนง่ึ ในการชว่ ย
ขยายแบรนด์ ซง่ึ ช่วยเพิม่ ฐานลูกค้าและขยายฐานธรุ กิจออกไปอีกดว้ ย
ข้อเสนอแนะ
- หน่วยงานต้นสังกัด มีความคาดหวังในการร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายภายในพ้ืนที่รับผิดชอบ
แตท่ ้ังนข้ี ้ึนอยู่กบั ความเหมาะสมของภารกิจงานของแต่ละหนว่ ยงาน แต่หากเป็นไปไดใ้ นการร่วมประสานงานการ
จัดกิจกรรมส่งเสริมการฝึกทักษะอาชีพให้กับชุมชน สร้างความน่าสนใจในความหลากหลายของเนื้อหาของ
กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้เรยี น และมปี ระสิทธิภาพในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้เพิ่มขึ้น
สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อเป็นการลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและใชเ้ วลาว่างอย่างเกดิ ประโยชน์
๓๘
ภำพกำรดำเนนิ กจิ กรรม
กำรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เรื่องกำรค้ำออนไลน์ โครงกำรศนู ยฝ์ กึ อำชีพชุมชน
คำอธบิ ำย : การนาแผนการดาเนนิ งานลงสกู่ ารปฏบิ ัติ ประชาชนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติวชิ าการพัฒนาอาชพี การ
สง่ เสรมิ สนับสนุนการค้าออนไลน์ ลงขายสินคา้ ทางออนไลนใ์ น Shopee มเี ข้ามากดไลนถ์ ูกใจและสัง่ สนิ คา้ คะ
๓๙
ภำพกำรดำเนนิ กจิ กรรม
กำรสง่ เสรมิ สนบั สนนุ เรื่องกำรค้ำออนไลน์ โครงกำรศนู ยฝ์ กึ อำชีพชุมชน
คำอธบิ ำย : การนาแผนการดาเนนิ งานลงสกู่ ารปฏบิ ัติ ประชาชนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติวิชาการพัฒนาอาชพี การ
สง่ เสรมิ สนับสนุนการค้าออนไลน์ ลงขายสินคา้ ทางออนไลนใ์ น Shopee มเี ข้ามากดไลน์ถูกใจและสัง่ สนิ คา้ คะ
๔๐
ภำพกำรดำเนนิ กิจกรรม
กำรส่งเสรมิ สนบั สนนุ เรอ่ื งกำรคำ้ ออนไลน์ โครงกำรศนู ยฝ์ ึกอำชีพชุมชน
๔๑
ผลการปฏิบตั งิ านที่ดี (Best Practice)
รายงานผลกิจกรรมเดน่ (Best Practice)
สถานศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอตะพานหิน
๑.ชือ่ ผลงาน: โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การปลูกพชื ผกั สมนุ ไพร
๒. หนว่ ยงำน/สถำนศึกษำ : กศน.ตาบลทบั หมัน ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหนิ จังหวดั พิจติ ร
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอตะพานหิน
สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดพจิ ติ ร
๓. ผู้ดำเนินงำน : นางสาวนันทวัน ออ่ นจติ ร ครู กศน.ตาบลทบั หมัน
๔. สอดคลอ้ ง : นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน.ปงี บประมาณ ๒๕๖๔
๑.๑ น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาสู่การสิตและเรยี นรู้”โคกหนองนาโมเดล”เพ่ือเป็น
แนวทางในการจัดการบรหิ ารทรพั ยากรรูปแบบตา่ งๆ ทัง้ ดนิ นา้ ลม แดด รวมถงึ พืชพนั ธ์ตุ ่างๆ และสง่ เสรมิ การใช้
พลงั งานทดแทนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
๑.๒ จดั ใหม้ กี าร”หน่ึงชุมชน หนึ่งนวตั กรรม การพัฒนาชมุ ชน”เพอ่ื ความกินดี อยู่ดี มงี านทา
4. บูรณำกำรควำมรว่ มมอื ในกำรสง่ เสรมิ สนับสนุน และจดั กำรศึกษำและกำรเรยี นรใู้ หก้ บั
ประชำชนอยำ่ งมคี ุณภำพ
4.1 รว่ มมือกับภาคเี ครอื ขา่ ยท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คม และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสรมิ การฝึกอาชพี ที่เป็นอัตลกั ษณ์และบรบิ ท
ของชุมชนสง่ เสริมการตลาดและขยายชอ่ งทางการจาหนา่ ยเพื่อยกระดับผลติ ภัณฑ์/สินคา้ กศน.
4.2 บรู ณาการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานต่าง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท้ังในส่วนกลาง
และภูมิภาค
5. พัฒนำศกั ยภำพและประสทิ ธภิ ำพในกำรทำงำนของบคุ ลำกร กศน.
5.1 พัฒนาศกั ยภาพและทกั ษะความสามารถดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy & Digital
Skills)ใหก้ ับบคุ ลากรทกุ ประเภททกุ ระดบั รองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจิทัลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวมท้ังพัฒนาครูใหม้ ี
ทกั ษะความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาองั กฤษ การผลิตสอื่ การเรยี นรู้และการจัดการเรยี นการสอนเพื่อฝกึ
ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบและมเี หตุผล เปน็ ข้ันตอน
ภำรกิจต่อเนื่อง
1.3 กำรศกึ ษำต่อเนอ่ื ง
1) จดั การศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาอย่างย่ังยนื โดยใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การศกึ ษาอาชพี
เพ่อื การมงี านทาในกลมุ่ อาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บรกิ ารรวมถงึ การเน้นอาชีพช่างพ้นื ฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผเู้ รยี น ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะ
พืน้ ทีม่ คี ณุ ภาพได้มาตรฐานเปน็ ทยี่ อมรบั สอดรับกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน โดยจัดให้มีการสง่ เสริมการรวมกลุม่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน การ
พฒั นาหนง่ึ ตาบลหนึง่ อาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรเี มย่ี ม การสร้างแบรนดข์ อง กศน. รวมถงึ การส่งเสริมและ
จัดหาช่องทางการจาหน่ายสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ และใหม้ กี ารกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ
เพ่อื การมีงานทาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง
๔๒
๕.ท่มี าละความสาคัญของผลงาน
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด -๑๙) กลายเป็นโรคระบาดคร้ังใหญ่
ของโลก มผี ปู้ ว่ ยกระจายไป ๑๑๘ ประเทศ มผี ูป้ ่วยเพม่ิ กวา่ แสนชวี ิต ผลกระทบของโควิด – ๑๙ ส่งผลให้เศรษฐกิจ
ของประเทศต่าง ๆ รวมท้งั ประเทศไทยตอ้ งชะงกั งนั การท่องเท่ียวทเี่ ป็นเสน้ เลือดสาคญั ถูกกระทบ
ธุรกิจโรงแรมและการทอ่ งเที่ยวต้องปิดตัวไป สนิ ค้าอุปโภคบริโภคกระทบหนัก หลายบริษัทต้องปิดตัวลงประกอบ
กับความตื่นตระหนกของผคู้ นท่เี กรงว่าสนิ ค้าอุปโภคบริโภคจะขาดแคลน ดงั ปรากฏการณ์ประชาชน
แย่งกนั ซ้อื ของในห้างสรรพสนิ คา้ เพื่อไปกักตนุ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ทรงพระราชทานแนวทางการสร้างพ้ืนฐาน
ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน เพอื่ ใหพ้ ึ่งตนเองได้ ซึ่งจะเป็นทางออกสาหรับวิกฤตโรคระบาด และ
ปัญหาภัยแล้งทปี่ ระเทศไทยกาลังเผชญิ อยู่ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอ
ตะพานหิน จึงได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในระดับครัวเรือน โดยรณรงค์ให้มีการ
ปลกู ผักสวนครัวทุกครวั เรอื น เพอื่ สร้างความมนั่ คงทางอาหารในระดบั ครอบครวั และชมุ ชน โดยเน้นการพ่ึงตนเอง
และความสามัคคีของคนในชุมชน เพื่อให้รอดพันจากวิกฤตในคร้ังน้ี จากภารกิจเร่งด่วน ตามนโยบายของ
สานักงาน กศน. ขอ้ ๑. น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หนงึ่ นวตั กรรมการพัฒนาชมุ ชนถิน่ ไทย
งาม” เพ่อื ความกินดีอยู่ดี มีงานทา เช่น โคกหนองนาโมเดล , คลองสวยน้าใส , พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย์) ,
จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน
กศน.ตาบลทับหมันจึง ได้ทาการสารวจและสอบถามความสนใจ ความต้องการเรียนรู้การทา
กิจกรรม จึงได้มีการรวมกลุ่มอาชีพ เพื่อเรียนรู้และเป็นการฝึกอาชีพวิชาการพัฒนาอาชีพการวิชาการการปลูก
พชื ผกั สมุนไพร เพ่ือเปน็ การพฒั นาอาชพี ให้กบั ประชาชนในพน้ื ท่ี และสามารถนาองค์ความรู้ท่ีได้รับจากการอบรม
ไปพัฒนาอาชีพในชุมชน ที่หลากหลายมรี ายไดม้ ากขึน้
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สู่
“วิสาหกจิ ชมุ ชน : ชมุ ชนพงึ่ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” เพื่อพัฒนาด้านอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบด้วย อาชีพด้าน
เกษตรกรรม ดา้ นอตุ สาหกรรม ดา้ นพาณชิ ยกรรม ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ และด้านอานวยการและอาชีพเฉพาะ
ทาง โดยมุ่งให้กลุ่มเป้าหมายผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง และสร้าง
รายไดท้ มี่ ่นั คง
การประชาคมหมบู่ า้ นประชาชนไดร้ ว่ มกันพูดคุย แลกเปล่ียนถกแถลง เก่ียวกับการประกอบอาชีพ
ของคนในชุมชน ซ่งึ สว่ นใหญ่เปน็ อาชพี เกษตรกรรมและรบั จา้ งทัว่ ไป แตด่ ้วยสภาพทางเศรษฐกจิ จึงทาให้รายได้ใน
การประกอบอาชีพลดน้อยน้อยลง ประชาชนในชุมชนจึงเล็งเห็นความสาคัญ และต้องการสร้างอาชีพเสริมให้กับ
ตนเอง โดยประเมินจากความต้องการของตลาด และทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน จึงได้จัดต้ังกลุ่มอาชีพการส่งเสริม
สนับสนนุ การปลูกพชื ผักสมุนไพร เพอ่ื เปน็ การสร้างอาชพี ให้เกดิ รายได้
1. ภูมปิ ัญญาพ้นื บา้ น เป็นองคค์ วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ทสี่ ่งั สมและสบื ทอดกนั มาเป็น
ความสามารถและศักยภาพในเชงิ การแก้ปัญหา การปรบั ตัวเรยี นร้แู ละสบื ทอดไปสู่คนรุ่นต่อไปเพ่อื การดารงอยู่
2. ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน เปน็ วธิ ีการปฏบิ ัตขิ องชาวบ้าน ซงึ่ ได้มาจากประสบการณ์ แนวทางแกป้ ัญหาแต่ละ
เร่อื งแต่ละประสบการณ์ แต่ละสภาพแวดล้อมซ่งึ จะมเี งือ่ นไขปัจจัยเฉพาะแตกตา่ งกันไปนามาใชแ้ ก้ไขปัญหาโดย
อาศยั ศักยภาพทม่ี ีอยู่โดยชาวบ้านคิดเองเป็นความรูท้ ่สี รา้ งสรรค์และมสี ว่ นเสริมสรา้ งการผลติ หรอื เปน็ ความรู้ของ
ชาวบ้านท่ผี ่านการปฏิบัติมาแล้วอยา่ งโชกโชน เป็นส่วนหนง่ึ ของมรดกทางวัฒนธรรม เปน็ ความรทู้ ปี่ ฏบิ ัตไิ ด้มีพลงั
และสาคัญย่งิ ช่วยให้ชาวบ้านมีชวี ิตรอดสร้างสรรค์การผลิตและชว่ ยในด้านการทางาน เป็นโครงสรา้ งความรทู้ มี ี
หลักการ มีเหตุ มีผลในตวั เอง
๔๓
3. ภูมิปัญญาท้องถน่ิ เปน็ ความรูท้ ีเ่ กิดจากประสบการณ์ในชีวติ ของคน ผ่านกระบวนการศึกษาสงั เกตคิด
ว่าวเิ คราะห์จนเกิดปญั ญาและตกผลึกเป็นองคค์ วามรทู้ ีป่ ระกอบกนั ข้ึนมาจากความรเู้ ฉพาะหลายๆเรื่องจดว่าเปน็
พนื้ ฐานขององคค์ วามรูส้ มยั ใหมท่ ่ีจะชว่ ยในการเรียนรู้ การแกป้ ญั หาจัดการและการปรับตวั ในการดาเนินชีวิตของ
เรา ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เป็นความรทู้ ่ีมีอยูท่ ั่วไปในสังคมชมุ ชนและในตวั ผู้รเู้ องจงึ ควรมกี ารสืบค้น รวบรวม ศกึ ษา
ถ่ายทอดพฒั นาและนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ งกว้างขวาง
4.ภมู ิปัญญาไทย หมายถงึ องคค์ วามรคู้ วามสามารถ
ทกั ษะของคนไทยที่เกดิ จากการส่งเสริมประสบการณ์ทผ่ี ่านกระบวนการ การเลอื กสรรเรยี นรปู้ รุงแต่งและ
ถา่ ยทอดสบื ต่อกันมา เพื่อใช้แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาวถิ ชี วี ิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสมกบั
ยุคสมยั
จากการได้เข้าร่วมขบั เคลอื่ นการพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนยิ มยั่งยืน โดยบรู ณาการขับเคล่ือนการ
ทางานตามแนวทางประชารัช ดาเนนิ การโครงการ / กจิ กรรมในพน้ื ท่ที งั้ ในระดบั ตาบล หมู่บ้าน โดยร่วม
ดาเนินงานกับทีมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนยิ มย่งั ยนื การดารงชีวิต วฒั นธรรมการบรโิ ภค
ภมู ปิ ัญญา วัตถุดบิ และ ความต้องการของประชาชนในชุมชน ตาบลทับหมัน อาเภอตะพานหิน จังหวัดพจิ ติ ร
พบวา่ ประชาชนสว่ นใหญ่ มีอาชีพเกษตรกรรม ปลกู ข้าว ทาสวน ทาไร่ เปน็ ส่วนใหญ่ ซ่งึ ฤดกู ารเพาะปลกู และเก็บ
เกย่ี วมนั จะมีชว่ งระยะทว่ี ่างเยอะ ทาให้ประชาชนเขาขาดรายได้ในชว่ งน้ัน จึงมีความตอ้ งการทยี่ ากสร้างรายได้
เสริม หลักจาการทานา ทาไร่
๖. วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ให้กลุม่ เป้าหมายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
เพ่อื เพิม่ รายได้ในการปลกู พืชผักสมนุ ไพร
๒. เพอ่ื พฒั นาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนที่มีความสามารถเชิงการแข่งขันใน
ตลาดได้ อย่างยัง่ ยืน
๗.วธิ ีกำรดำเนินงำน
๑.กำหนดกลมุ่ เปำ้ หมำย
กลมุ่ อาชีพชมุ ชนตาบลทับหมัน หมู่ ๒ ตาบลทบั หมัน จานวน ๖ คน
๒.กำรดำเนนิ กิจกรรม
๑. ครูและประชาชนในพ้ืนท่ีร่วมกันศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ โดยจัดเวทีประชาคม
จากน้ันนาข้อมูลมาวิเคราะห์ ทาให้ทราบว่าชุมชนมีอาชีพด้านการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ และมีช่วงว่างท่ีเว้น
ระยะหา่ งจาการประกอบอชพี เพาะปลูก ทาไร่ ทานา จึงให้ประชาชนเกิดการว่างงานในช่วงเพาะปลูก จึงอยากมี
ความรูแ้ ละสร้างรายไดเ้ สรมิ ให้กบั ตนเองและครอบครัว
๒. ครูและประชาชนในพื้นที่ ประชมุ ร่วมกันเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ช้ีแจงวัตถุประสงค์ผลที่
ผ้เู ข้ารว่ มโครงการจะได้รบั ทาให้มผี ู้สนใจเข้าร่วมโครงการเปน็ อาชีพ จานวน ๖ คน
๓. ศกึ ษาเอกสารข้อมลู เก่ียวกบั การสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพให้กัลป์ชุมชน และ
การดาเนินงาน ตลอดจนจัดเตรียมส่ือ อุปกรณ์ และวางแผนการจัดกจิ กรรมเรียนรู่ร่วมกนั
๔. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้กับผู้เรียน เร่ืองผลิต การพัฒนารูปแบบสินค้าให้
นา่ สนใจ โดยเน้นใหส้ ินคา้ มคี ณุ ภาพ สามรถนาไปจาหนา่ ยได้
๕. ใหผ้ ู้เรียนสามารถนาสินค้าออกจาหน่ายได้ ตลอดจนเพ่ิมช่องทางการขายโดยใช้ส่ือออนไลน์
เข้ามามีบทบาท
๔๔
๖. สรปุ ผลการดาเนนิ งานท่ีได้จากการติดตามประเมนิ ผลเมือ่ ส้ินสดุ โครงการโดยรวบรวมผลงานท่ี
เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะจากการประเมิน และจัดทารายงานเพื่อนาเสนอผลการ
ปฏบิ ตั ิงานทีด่ ี (Best Pratice)
๗. เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Pratice) โดยการนาเสนอผลงาน ปัญหา และอุปสรรค
ขอ้ เสนอต่อทป่ี ระชุม กศน.อาเภอเพอื่ ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมครั้งต่อไป รวมท้ังนาเสนอผลงานใน
รปู แบบต่างๆ นาเสนอข้อมูลในชมุ ชนใหร้ าบ
๘. นาเสนอแนะของผู้เรียน ชุมชน และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง มาปรับปรุงรูปแบบวิธีการ เพื่อเผยแพร่ให้
ชมุ ชนอน่ื ทมี่ ีสภาพบริบทเหมือนใกล้เคยี งกนั ได้นาไปปรับใชใ้ นการดาเนนิ กจิ กรรมตอ่ ไป
๘. ตวั ชีวัดความสาเรจ็
๑. กลุ่มเป้าหายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
เพอื่ เพ่มิ รายได้
๒. มีการพัฒนาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนท่ีมีความสามารถเชิงการ
แขง่ ขนั ในตลาดไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน
๙. การประเมนิ ผลและเครอ่ื งมอื การประเมนิ ผล
ประเมินตามสภาพจริง โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบตั ิ การประเมินความรู้ รวมถงึ การประเมินความพึง
พอใจในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว
๑๐. ผลการดาเนนิ งาน
๑. กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ หรือทักษะจากกิจกรรมการเรยี นรไู้ ปใชใ้ นการพัฒนาอาชพี
๒. มกี ารพฒั นาต่อยอดกลุ่มอาชีพให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนที่มีความสามารถเชิงการ
แขง่ ขนั ในตลาดได้อย่างยัง่ ยนื
๑๑.บทสรปุ
มีการดาเนินการโดยใชว้ งจรเดมิง่ (Deming Cycle) PDCA
ดา้ นการวางแผน(P)
๑. ศึกษาสภาพปัญหา กศน.ตาบลทับหมัน ได้ร่วมทาการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ซง่ึ ทาการประชาคมระดบั หม่บู า้ น เพ่ือสอบถามความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย ในด้านตา่ งๆ และวิเคราะห์ปัญหา
จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของกลมุ่ ตง้ั แตต่ น้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ไว้และทาการวเิ คราะหผ์ ลรว่ มกนั ดังน้ี
จดุ แข็ง(S) โอกาส(O)
๑. มีการรวมกลุ่มทีช่ ัดเจน ๑.มีหนว่ ยงานในพนื้ ท่ีอย่ใู กล้ และสนบั สนนุ หลากหลาย
๒.ผเู้ รยี นมที ักษะในการดาเนินอยู่แล้ว ๒.มงี บประมาณสนับสนุน จาก กศน.อาเภอตะพานหนิ
๓.มีผ้นู าเครือขา่ ยท่ดี ี ๓.มีชอ่ งทางการตลาด และสามารถขายทางออนไลนไ์ ด้
อปุ สรรค(W) อปุ สรรค(T)
๑.ขาดทักษะการบรหิ ารจกั การกลุ่มทดี่ ี ๑.ตลาดหรือแหลง่ จาหนา่ ยไมช่ ดั เจน
๒.ไมม่ ที กั ษะการส่งเสรมิ การขาย
๔๕
๒. วิเคราะห์งานตามบทบาทหน้าท่ี และวิเคราะห์ความสอดคล้องท่ีเกี่ยวข้อง เช่น นโยบาย
จุดเน้นของสานักงาน กศน.ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ฯลฯ จากการวิเคราะห์งานซึ่งจะเห็นได้ว่า
เป็นงานตามบทบาทหน้าท่ีของครู กศน.ตาบล ที่จะต้องจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการศึกษาตามอัธยาศัย
สง่ เสรมิ ดารเรยี นรขู้ ิงชุมชน
๓. ค้นหาร Best Pratic โดยพิจารณาประเดน็ ดงั นี้
-เปน็ เรือ่ งท่ีเก่ียวขอ้ งกับภารกจิ โดยตรงของบทบาทหน้าท่ี
-สนองนโยบาย การแก้ปัญหา การพฒั นาประสิทธภิ าพของผูเ้ รยี น
-เปน็ วิธีการริเร่มิ สร้างสรรคข์ ้ึนมาใหม่ โดยผา่ การนวัตกรรม ท่วี า่ ทาอะไร ทาอย่างไร และทาเพ่ืออะไร
-มีผลผลติ / ความสาเร็จเพิม่ ขนึ้
-สามารถนาไปใชเ้ ปน็ มาตรฐานการทางานตอ่ ไปได้อยา่ งยงั่ ยนื
-มกี ารพัฒนาปรบั ปรงุ ตอ่ ไป
จากการพจิ ารณาประเด็นตา่ งๆ ดงั กลา่ ว เพ่ือค้นหา Best Pratice ในการจดั กิจกรรมที่
สอดคล้องกบั ปัญหา และความตอ้ งการของชุมชน พบวา่ เปน็ เรื่องทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับบทบาทหนา้ ทีโ่ ดยตรง ของครู
กศน.ตาบล และเปน็ การดาเนนิ การตามบทบาทภารกิจ ดังน้ี
๑. ครูและประชาชนในพ้นื ที่ ประชุมรว่ มกนั เพ่อื วางแผนการดาเนินงาน ชีแ้ จงวตั ถุประสงคผ์ ลที่
ผเู้ ข้ารว่ มโครงการจะไดร้ บั ทาใหม้ ผี ู้สนใจเขา้ ร่วมโครงการเปน็ อาชพี จานวน ๖ คน
๒. ศึกษาเอกสารขอ้ มูลเก่ียวกับการส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพใหก้ ัลป์ชุมชน และ
การดาเนนิ งาน ตลอดจนจัดเตรยี มส่อื อุปกรณ์ และวางแผนการจดั กจิ กรรมเรียนรู่ร่วมกนั
๓. ครูและผ้เู รียนร่วมกนั กาหนดทศิ ทางการดาเนนิ งานและขอ้ ตกลงร่วมกนั คอื ในการรับซื้อ
ผลผลิตจากชุมชน มาดาเนนิ การผลิตในราคาท่กี าหนดกนั ของกลุ่ม และนามาทาผลิตแลว้ ขายออกในราคาท่ี
ทอ้ งตลาดกาหนด หรือในราคาท่ตี กลงของกลุ่ม
๔. นาขอ้ มูลจากการวิเคราะห์และพจิ ารราในขอ้ ๑ – ๓ มากาหนดกรอบการดาเนินงานท่ี
พจิ ารณาแลว้ วา่ เป็นแนวทางปฏิบตั ทิ ่ีดี (Best Pratice) โดยดาเนินการ ดงั นี้
๑.กาหนดวัตถปุ ระสงค์
๒.กาหนดตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
๓.กาหนดวิธีดาเนินการ
๔.กาหนดวธิ ีการประเมินผลเคร่ืองมอื การประเมนิ
ดา้ นการปฏิบัติ (D)
จดั กิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามท่ีวางไวแ้ ละออกแบบกจิ กรรมไว้ โดยการให้ความรูแ้ ละฝกึ ปฏิบัติ ดังน้ี
๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้กับผู้เรียน เร่ืองผลิต การพัฒนารูปแบบสินค้าให้
น่าสนใจ โดยเน้นให้สินค้ามคี ณุ ภาพ สามารถนาไปจาหน่ายในรูปแบบออนไลน์ได้
๒.ให้ผ้เู รียนฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์และการสร้างโล
โกข้ องสนิ คา้ เพ่ือเป็นจดุ เด่น
๓. ให้ผู้เรียนสามารถนาสินค้าออกจาหน่ายได้ ตลอดจนเพ่ิมช่องทางการขายโดยใช้ส่ือออนไลน์
เขา้ มามบี ทบาท
ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผล (C)
๔๖
๑.ประเมินตามสภาพจริง โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติ การประเมินความรู้ รวมถึงการ
ประเมินความพึงพอใจในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าว
๒. สรุปผลการดาเนนิ งานที่ไดจ้ ากการตดิ ตามประเมินผลเมอ่ื ส้ินสุดโครงการโดยรวบรวมผลงานที่
เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมท้ังข้อเสนอแนะจากการประเมิน และจัดทารายงานเพ่ือนาเสนอผลการ
ปฏิบตั งิ านทดี่ ี (Best Pratice)
๓. เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Pratice) โดยการนาเสนอผลงาน ปัญหา และอุปสรรค
ข้อเสนอตอ่ ทป่ี ระชมุ กศน.อาเภอเพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนจัดกิจกรรมคร้ังต่อไป รวมทั้งนาเสนอผลงานใน
รูปแบบต่างๆ นาเสนอข้อมูลในชุมชนให้ราบ
ด้านการพัฒนาปรับปรงุ (Action: A)
นาขอ้ เสนอแนะของผ้เู รียน ชมุ ชน และผู้เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงรูปแบบวิธีการ เพื่อเผยแพร่ให้กับ
ชุมชน
๑๒. กลยุทธ์หรอื ปจั จัยท่ีทาให้ประสบความสาเรจ็
๑. การมสี ่วนร่มของครู ผู้เรียนและชมุ ชน ในการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชน ทาให้รู้สภาพ
ปญั หาความตอ้ งการของชุมชนไปสูเ่ ปา้ หมายที่ตอ้ งการได้
๒. การนาอาทรพั ยากรทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชน มาพฒั นา ดัดแปลงใหเ้ กดิ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ๆ
๓. เปน็ การดาเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดิม (PDCA) ซึ่งเป็นการดาเนินการแบบมี
ระบบ สามารถตรวจสอยได้ ต้ังแต่การวิเคราะห์สภาพปญั หา ความตอ้ งการของชุมชน การมีส่วนร่วมของครู เรียน
ชุมชน รวมท้ังการมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนและออแบบกิจกรรมของครู ผู้เรียนและชุมชน ตลอดจนมีการติดตาม
ประเมินผลทกุ ข้ันตอน จงึ ทาให้สามารถพัฒนาผเู้ รียนใหบ้ รรลตุ ามตัวชวี้ ดั ความสาเร็จของโครงการ
ข้อเสนอแนะ
- หน่วยงานต้นสังกัด มีความคาดหวังในการร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายภายในพ้ืนที่รับผิดชอบ
แต่ทงั้ นี้ขึน้ อยูก่ บั ความเหมาะสมของภารกิจงานของแตล่ ะหนว่ ยงาน แตห่ ากเปน็ ไปได้ในการร่วมประสานงานการ
จัดกิจกรรมส่งเสริมการฝึกทักษะอาชีพให้กับชุมชน สร้างความน่าสนใจในความหลากหลายของเน้ือหาของ
กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน และมปี ระสิทธภิ าพในการประกอบอาชพี และสรา้ งรายไดเ้ พิ่มขึ้น
สามารถนาความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจาวัน เพ่ือเป็นการลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและใชเ้ วลาวา่ งอยา่ งเกิดประโยชน์
๔๗
ภำพกำรดำเนนิ กิจกรรม
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กำรปลกู พชื ผกั สมนุ ไพร
คำอธิบำย : การนาแผนการดาเนนิ งานลงส่กู ารปฏบิ ตั ิ ประชาชนไดเ้ รยี นรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติวชิ าการพัฒนาอาชีพการ
ส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพชื ผักสมุนไพร และสามารถทากระชายลงขายได้
๔๘
ภำพกำรดำเนนิ กจิ กรรม
โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กำรปลกู พชื ผกั สมนุ ไพร
คำอธิบำย : การนาแผนการดาเนนิ งานลงส่กู ารปฏบิ ตั ิ ประชาชนไดเ้ รยี นรแู้ ละฝึกปฏบิ ัติวชิ าการพัฒนาอาชีพการ
ส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพชื ผักสมุนไพร และสามารถทากระชายลงขายได้