The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kai8981.sensai, 2021-06-05 02:47:20

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

Keywords: ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

ปัจจยั สำคญั ท่ีมีอทิ ธิพลต่อกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนดนตรี

เอกสารอา่ นเพมิ่ เติม
ประกอบการเรยี นวชิ า ศ32101 ดนตรี 1

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
รวบรวมโดย

นายพรี เดช เสนไสย
โรงเรยี นเมืองพลพิทยาคม

ปัจจยั สำคญั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนดนตรี

ด น ต รี มี อ ยู่ ใ น สัง ค ม ม นุ ษ ย์ ทุ ก ช า ติ แ ล ะ มี
บทบาทท่สี าคญั ตอ่ วถิ ีชวี ติ ของมนุษย์ ซึ่งมนุษยใ์ ชด้ นตรี
ในกิจกรรมทหี่ ลากหลาย ดงั นนั้ ดนตรีที่ดารงอยู่นน้ั จงึ
มีท่ีมาดว้ ยเหตุปัจจยั ต่างๆ ของแต่ละกลุ่มชนหรือกลุ่ม
วฒั นธรรม ซงึ่ ปัจจยั ตา่ งๆ มีดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ควำมเชอื่ อยูค่ กู่ บั มนุษยม์ าตงั้ แตส่ มยั
โบราณ ซง่ึ ในปัจจบุ นั มนุษยก์ ็ยงั คงมคี วามเชอื่ ในสิง่ ท่ี
เหนือธรรมชาติ (Supernatural) เชน่ การนบั
ถือบูชาผสี าง เทวดา และสง่ิ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิตา่ งๆ

ดงั นนั้ จงึ มีการประกอบพิธกี รรมเพ่อื แสดงถึงความ

เคารพบูชา องค์ประกอบต่างๆของการนามาประกอบ
พิธี ก รร ม นั้น ส่ ว น ห น่ึ ง จ ะ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง เ ซ่น ไ ห ว้ เ ช่น
พวงมาลยั อาหาร และส่ิงสาคญั ที่ขาดไม่ไดก้ ็คือ ดนตรี ซึ่ง
ตอ้ งเป็ นดนตรีท่ีมีคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ ดนตรีที่เกิดข้ึน
จากความเชื่อจึงทาหนา้ ที่เป็ นองคป์ ระกอบในพิธีกรรมหรือ
เรียกวา่ ดนตรีพิธีกรรม (Ritual music) เชน่ การ
ประกอบพิธไี หวค้ รูดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ เป็นตน้

2.ศำสนำ นบั เป็ นส่ิงหน่ึงทเี่ ป็ นเครอ่ื งยดึ เหนี่ยว
จติ ใจของมนุษย์ ซง่ึ นอกจากความเชอ่ื ในการนบั ถือสิ่งเหนือ

ธรรมชาตแิ ลว้ มนุษยย์ งั มีความเชอื่ และศรทั ธาในศาสนา ใน
การประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาก็มีการสรา้ งสรรคเ์ พือ่

นามาใชป้ ระกอบพิธีกรรม เชน่ ในศาสนาครสิ ตไ์ ดน้ าเพลงสวด
มาขบั รอ้ งเพือ่ ใชใ้ นขน้ั ตอนตา่ งๆของพธิ ีแมส (Mass)
หรอื พิธมี ิสซา (Missa) เป็นตน้ ในสว่ นศาสนาพุทธก็มกี าร
ดนตรใี นการบรรเลงประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา เชน่ งาน

บวช งานศพ งานเทศนม์ หาชาติ เป็นตน้

3.วิถชี วี ิต มีอทิ ธิพลตอ่ การสรา้ งสรรคด์ นตรเี ป็ น
อย่างมากดนตรีท่ีสรา้ งสรรคข์ ้ึนจากวถิ ีชีวติ ของมนุษยใ์ นทาง
วิชาการเรียกว่า ดนตรีฆราวาสหรือดนตรีชาวบา้ น (
Secula Music) ซึ่งเกิดข้ึนมาตงั้ แต่ก่อนยุคกรีก
โบราณ ดนตรีที่สรา้ งสรรคจ์ ากวิถีชีวิตของมนุษย์เกิดจาก
ความตอ้ งการท่ีจะบรรยาย พรรณนาเร่ืองราว ถ่ายทอด
อารมณ์ ความรูส้ ึกผ่านบทเพลง หรือเพื่อเป็ นการ
นนั ทนาการ ผ่อนคลายความเครียดและใหค้ วามบนั เทิงแก่
ผูค้ น เชน่ การแสดงอุปรากร (Opera) ของชาวยุโรป การ
แสดงโขนของไทย ลาว และกมั พูชา การแสดงละครคาบูกิ
(Kabuki) ของชาวญป่ี ่ ุน

กำรแสดงโอเปร่ำ

นอกจากน้ี ยงั มีการสรา้ งสรรคด์ นตรีเพื่อปลุกใจให้
ความฮกึ เฮมิ เป็ นการสรา้ งกาลงั ใจในการออกรบ ซงึ่ อาจมี
การเตน้ ออกท่าทางลักษณะข่มขู่ศัตรูร่วมดว้ ย เช่น การ
เตน้ ราปิ เลา ปิ เลา (pilou-pilou dance) ของชาว
คานคั (Kanak) ในแถบหมเู่ กาะทางตะวนั ออกของประเทศ
นิวซแี ลนด์ ทม่ี ีการเตน้ ดว้ ยการกา้ วเทา้ แบบกระทบื พรอ้ มกบั
การเคาะกระบอกไมไ้ ผ่เป็ นจงั หวะประกอบกบั การโหร่ อ้ งและ
เป่ าปากหวีดเสียง โดยกลุ่มของนกั รบนบั รอ้ ยคนจะเตน้ รา
พรอ้ มถืออาวุธในทว่ งทา่ เดยี วกนั อยา่ งพรอ้ มเพรยี ง

กำรแสดงโขน

4.เทคโนโลยี เป็ นปัจจยั หน่ึงทท่ี าใหด้ นตรีไดร้ บั
การสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นา การพฒั นาเทคโนโลยีสง่ ผลตอ่ การ

พฒั นาดนตรี และในทางกลับกันดนตรีก็ทาใหเ้ ทคโนโลยี

ปรบั ตวั ตามไปดว้ ย เทคโนโลยีช่วยทาใหเ้ กิดการพฒั นาใน

ดนตรมี าตงั้ แตส่ มยั โบราณ เหน็ ไดช้ ดั จากการนาเอาวธิ ีคดิ ของ
พีทาโกรสั (Pythagoras) นกั ปราชญช์ าวกรกี มาชว่ ย
ในการปรบั ปรุงระบบการตงั้ บนั ไดเสียงในดนตรีสากล โดย

การนาไปประยุกต์พฒั นาวิธีการปรบั ปรุงบนั ไดเสียงใหไ้ ด้

ตามท่ีเทคนิคและรูปแบบของดนตรที ่ีเปลี่ยนไป นอกจากน้ี
ยงั มีการปรบั ตง้ั ระบบบนั ไดเสียงของเครื่องดนตรี โดยมีการ
เกลี่ยเสียงยอ่ ย 12 เสียง ใน 1 ชว่ งทบของบนั ไดเสียงดนตรี
สากลใหม้ ีระยะหา่ งเทา่ กนั ทง้ั 12 เสียง เรียกวา่ ระบบอีควล
(Equal Temperment) ซ่งึ ดาเนินการเชน่ น้ีตอ้ ง
อาศยั เทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ย เพื่อใหด้ นตรีเป็ นไปตามความ

ตอ้ งการของนกั ประพนั ธ์

ในดา้ นเทคโนโลยีการบนั ทกึ เสียง ก็ไดร้ บั การ
พฒั นาใหค้ ณุ ภาพเสียงมคี วามใกลเ้ คยั งเสยี งดนตรจี รงิ จนไม่

สามารถแยกแยะขอ้ แตกตา่ งได้ สง่ ผลใหม้ ีการทาซา้ และ

เผยแพรอ่ อกไปสูม่ วลชนไดร้ วดเร็ว เป็นการกระตนุ้ ใหน้ กั
ประพนั ธด์ นตรสี รา้ งสรรคง์ านในรูปแบบใหมๆ่ ออกมาจานวน

มาก โดยฌแพาะดนตรสี มยั นิยมทเี่ กิดข้นึ ในเชงิ พาณชิ ย์ ทาให้
ดนตรมี กี ารเปลยี่ นแปลงพฒั นารูปแบบออกไปในชว่ งเวลาที่

สน้ั ลงกวา่ ในสมยั กอ่ น โดยมกี ารเปล่ยี นแปลงประมาณทกุ
2-5 ปี อนา่ งทเี่ รามคี าศพั ทเ์ รยี กรปู แบบดนตรเี พลงทไ่ี ดร้ บั
ความนิยมในชว่ งหนึ่งเป็ นทศวรรษ เชน่ ดนตรสี มยั 60s
(Sixties) หรอื 70s (Seventies)

เม่อื เขา้ สยู่ ุคครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 นกั ประพนั ธไ์ ด้
เรมิ่ มีการใหค้ วามสนใจกบั การสรา้ งสรรคด์ นตรดี ว้ ยวธิ กี าร
ทางไฟฟ้ า ประพนั ธด์ นตรโี ดยการใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละเครอื่ ง
สงั เคราะหเ์ สียง (Synthesizer) ทาใหเ้ กดิ ดนตรี
อเิ ลคทรอนิกสข์ ้นึ 2 ชนิด คอื ชนิดแรกเป็นการนาเอาเสียง
ตา่ งๆในธรรมชาตมิ าบนั ทกึ เชน่ เสียงคนพูด เสยี งนา้ ไหล
เสยี งนกหวดี เป็นตน้ จากนนั้ นามาเปล่ยี นแปลงนา้ เสียงทาง
ไฟฟ้ าดว้ ยวธิ ีตา่ งๆ เชน่ เปลีย่ นความเรว็ ของเสน้ เทปใหเ้ รว็ ข้นึ
หรอื ชา้ ลง แลว้ จงึ นามาปะตดิ ปะตอ่ กนั

(Synthesizer)

สว่ นชนิดทส่ี อง คอื การสรา้ งดนตรที ป่ี ระกอบดว้ ย
นา้ เสียงข้นึ มาใหมจ่ ากอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เชน่
คอมพวิ เตอรห์ รอื เครอื่ งสงั เคราะหเ์ สียง ทาใหเ้ กดิ เสียงใหมๆ่
และระดบั เสยี งในขนาดระยะหา่ งทเ่ี ป็ นไมโครโทน
(Micro tone) หรอื อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสส์ รา้ งเสียง
ใหเ้ หมอื นกบั เสยี งของเครอื่ งดนตรที เ่ี กิดจากเสยี งธรรมชาติ

โลกของเทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ดนตรมี กี าร
เปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ มีการทดลองส่ิงใหมๆ่ เกดิ
ข้ึนอยูต่ ลอดเวลา และการดนตรที เี่ ก่ยี วขอ้ งเทคโนโลยกี ็พฒั นา
ตอ่ ไปอยา่ งไมม่ ีทส่ี ้นิ สุด

(Synthesizer)


Click to View FlipBook Version