The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BT_Lanna, 2022-04-02 04:17:40

การพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐาน

การพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐาน

ค่มู ือ

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการ
ท่องเท่ียวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐาน

พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. และคณะ

มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั : กนั ยายน 2564

คำนำ

จากการดาเนนิ งานวจิ ัยเร่ือง การพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวโดยชมุ ชนแบบมีส่วนรว่ มเพ่ือ
ขบั เคลื่อนและยกระดับการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐานอย่างยง่ั ยืนสาหรบั ผู้สูงอายุท่ี
อยเู่ พยี งลาพงั ในเขตทอ่ งเทย่ี วเมืองรองภาคเหนอื ตอนบน คณะผวู้ จิ ยั จึงได้จัดทาค่มู อื เพอื่ เผยแพร่องค์
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพชุมชนตน้ แบบการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวิปัสสนากรรมฐาน
ซ่ึงวัดและชุมชน รวมท้ังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสามารถนาแนวทางดังกล่าวไปพัฒนาศักยภาพแหลง่
ท่องเท่ียวของชุมชนในพ้ืนท่ีไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ทั้งน้ี ในคู่มือนี้จะมีเน้ือหาเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวโดย
ชุมชน 6 ดา้ น ดังน้ี (1) ดา้ นการบริหารจดั การการทองเทย่ี วโดยชุมชน (2) ด้านการจัดการเศรษฐกจิ
สงั คม และคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี (3) ดา้ นการอนุรกั ษ และสงเสริมมรดกทางวัฒนธรรมชุมชน (4) ด้านการ
จดั การทรัพยากรธรรมชาตหิ รอื ส่ิงแวดลอมอยา่ งเป็นระบบและยัง่ ยนื (5) ดา้ นคุณภาพการบรกิ ารการ
ทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน และ (6) ดา้ นการส่งเสริมการประชาสมั พนั ธแ์ ละการทางานร่วมกนั ระหวา่ งชมุ ชน
และผู้ประกอบ

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารคู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการ
ท่องเทย่ี วของวัดและผ้สู นใจทัว่ ไปตามสมควร ทง้ั น้ีหากทา่ นทนี่ าไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะ คณะผ้วู ิจัย
ยินดีรับฟังข้อคิดเห็นต่างๆ และขอกราบขอบคุณมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ท่ีให้ความ
อนุเคราะห์และจดั ทาคู่มือเลม่ นีจ้ นสาเร็จด้วยดี

พระมหาสกลุ มหาวีโร, ผศ.ดร. และคณะ

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. ก

สำรบัญ

คานา หน้ำ
สารบัญ ก
บทนา ข
การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการบรหิ ารจดั การการทองเท่ยี วโดยชุมชน 1
การพัฒนาศักยภาพชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการจดั การเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชวี ิตทีด่ ี 3
การพฒั นาศักยภาพชมุ ชนต้นแบบดา้ นการอนรุ กั ษ และสงเสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมชมุ ชน 8
การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อม 13
การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นคุณภาพการบริการการทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน 17
การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการสง่ เสรมิ การประชาสัมพันธ์และการทางานร่วมกนั 22
บทสรปุ 26
30

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. ข

บทนำ

การท องเที่ยวโดย ชุมชน เป น รูปแ บบ การท อง เท่ี ยวที่ส งเส ริมให ชุม ชนมีค วามเ ข ม แ ข็ ง
สามารถพึ่งพาตนเองไดและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยผ่านกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ภายใตกระบวนการมีสวนร่วมของชุมชนในการกาหนดทิศทางการพัฒนา
ยกระดบั คุณภาพชีวิตและการกระจายรายไดในทองถนิ่ เปนการดาเนินงานดา้ นการทองเท่ยี วรูปแบบ
หน่ึงท่ีสงเสริมใหชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองไดและมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยผ่าน
กระบวนการการบริหารจัดการและการมีส วนร่วมของชุมชนอยางมีมาตรฐาน กอใหเกิดความ
ภาคภูมิใจในทุนทรัพยากรทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม สูการเรียนรูอยางยั่งยืนและ
สรา้ งสรรค์ระหว่างเจ้าบ้านและผเู้ ยยี่ มเยือน ทงั้ นี้ การพฒั นาศักยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเที่ยวนั้น
ชุมชนจะต้องมีองค์กร/กลไกในการบริหารจดั การท่องเที่ยว มีระบบการบริหารจัดการท่องเที่ยวท่ี
ย่ังยืน มีการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของชุมชน มีส่วนในการดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน สร้างการเรียนรู้และจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
วฒั นธรรม ทง้ั คนในชมุ ชนและผ้มู าเยอื น และมีการบริการทีด่ ีและปลอดภยั ทง้ั ด้านทพี่ ัก ยานพาหนะ
นักสื่อความหมายท้องถิ่น เจ้าของบ้านและการประสานงานที่ดรี ะหว่างกลุ่มในชุมชนเพื่อใหบ้ ริการ

ดังนน้ั การพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเที่ยวโดยชมุ ชนนนั้ จะมอี งคป์ ระกอบ 6
ด้าน ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจดั การการทองเที่ยวโดยชุมชน (2) ด้านการจัดการเศรษฐกิจ สังคม
และคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี (3) ด้านการอนุรักษ และสงเสริมมรดกทางวฒั นธรรมชุมชน (4) ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืน (5) ด้านคุณภาพการบริการการ
ทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน และ (6) ด้านการสง่ เสรมิ การประชาสัมพันธแ์ ละการทางานรว่ มกันระหวา่ งชุมชน
และผู้ประกอบด้านการเขา้ ถึงตลาด และทางานรว่ มกบั ผ้ปู ระกอบการนาเที่ยวภายนอก ท้ังนี้ เกณฑ์
การพฒั นาการท่องเท่ียวโดยชุมชนดังกลา่ วนั้น ถือเป็นหลกั เกณฑ์ทจ่ี ะช่วยประเมินว่าชุมชนมจี ุดแข็ง
จดุ อ่อนในประเดน็ ใด เพื่อใหช้ มุ ชนและหน่วยงานพ่ีเล้ียงสามารถเติมเต็มและเสรมิ สร้างศักยภาพได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 1

เรือโดยสำรไปยงั วดั ตโิ ลกอำรำม ใหบ้ รกิ ำรคนในชมุ ชน จังหวดั พะเยำ

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 2

กำรพัฒนำศักยภำพชุมชนตน้ แบบดำ้ นกำรบริหำรจดั กำรกำรท่องเทย่ี วโดยชมุ ชน

1) สร้างการมีส่วนรว่ มทัง้ ในชมุ ชนและหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่าย สนบั สนุนความรว่ มมอื จาก
หน่วยงานภายนอกในการจัดกระบวนการเสริมสร้างองค์ความรู้ในการเพ่ิมศกั ยภาพการท่องเทย่ี ว
ให้แก่ชุมชน นอกจากนี้ ชุมชนควรมีการจัดตั้งคณะทางานด้านการท่องเท่ียวเพ่ือยกระดับและ
ขับเคลื่อนด้านการท่องเที่ยวในชุมชนให้มีศักยภาพและความพร้อมนา ไปสู่การท่องเที่ยวชุ ม ชน ท่ี
ประสบผลสาเรจ็

2) ขับเคล่ือนการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยกาหนดแผนงานและการจัดโปรแกรมการ
ทอ่ งเท่ยี วในชุมชน รวมท้ังแผนงาน การบรหิ ารจัดการท่องเท่ียวชุมชน โดยคานงึ ถึงความเหมาะสม
กับบริบทชุมชนที่มีความหลากหลายเชิงพ้ืนที่ มีความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนในด้านวิถีชีวิต
ประเพณีวัฒนธรรมล้านนา และเช่ือมโยงกับพื้นท่ีแหล่งท่องเท่ียวใกล้เคียงให้เป็นท่ีสนใจ เป็นสร้าง
มลู ค่าเพิ่มให้กบั แหล่งท่องเท่ียว และสร้างทางเลอื กท่ีหลากหลาย

3) จดั ตงั้ กลุ่มสง่ เสริมการทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชน ซ่ึงไดร้ บั การรบั รองจากหนว่ ยงานภาครัฐและ
มีโครงสร้างการทางาน แบ่งบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบของแต่ละหน้าที่ โดยมีคาส่ังหรือ
ประกาศแตง่ ต้งั ที่ชดั เจนซงึ่ ไดร้ บั การรบั รองจากหนว่ ยงานภาครัฐ เชน่ เทศบาล อบต. เปน็ ต้น

4) จัดตั้งคณะกรรมการกลุ่มสง่ เสรมิ การทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชนที่เปน็ คนในชุมชน มีบทบาท
ในการจัดทาและขับเคลื่อนแผนการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน ทั้งนี้คณะกรรมการและสมาชกิ
กลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน และมีส่วนร่วมในการ
ขับเคลื่อนและปรับปรุงโดยมีการจัดเวทีเพ่ือให้สมาชิกกลุ่มส่งเสรมิ การท่องเท่ียวโดยชุมชนร่วมกนั
กาหนดเปา้ หมายและแผนการดาเนินงานอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้

5) จดั ทาวิสัยทศั น์ เปา้ หมาย พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ และแผนการดาเนนิ งานท่ีครอบคลุมท้ัง
3 มติ ิ คือ เศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดล้อม โดยมกี ารบรู ณาการการดาเนนิ งานมิติท้งั 3 ดา้ นเขา้ ด้วยกัน
ซึ่งจะทาให้เกิดความสมดลุ ในการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในชุมชนมากข้ึนโดยดูได้จากโครงการท่ีนาไป
ปฏิบัติจริง โดยมีรูปแบบการตดิ ตามผลและการดาเนินงานดา้ นต่างๆ ตามแผนของการดาเนนิ งาน
เปน็ ประจาทกุ ปี

6) การบรหิ ารจดั การการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ควรมีขอ้ ตกลง
รว่ มกนั ในการกระจายรายได้จากการทอ่ งเที่ยวเพอ่ื ประโยชน์ของการพัฒนาชุมชน มกี ารจดั สรรรายได้
ให้กบั สมาชกิ กลุ่มอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง เชน่ เงินปันผลประจาปี รวมทั้งนาข้อตกลงร่วมกันด้าน
การกระจายรายไดท้ ่เี กดิ จากการท่องเที่ยวถูกนาไปปฏิบตั ใิ ช้อย่างเปน็ รปู ธรรม เชน่ มีกจิ กรรมทไ่ี ด้รับ
การสนับสนนุ เงินจากกองทุนดังกล่าวเปน็ ต้น

7) จัดทาข้อตกลงร่วมกันในการบริหารจัดการทรัพยากรด้านสังคม ประเพณี และ
วัฒนธรรมเพื่อการทอ่ งเทย่ี วและการอนุรักษว์ ถิ ีชีวติ ท้องถิน่ เช่น การแตง่ กายชุดพ้ืนเมอื ง การใช้ภาษา

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 3

ท้องถิ่น เป็นต้น ท้ังนี้ข้อตกลงร่วมกันด้านการบริหารจัดการทรัพยากรด้านสังคม ประเพณีและ
วัฒนธรรมนัน้ จะต้องถกู นาไปปฏบิ ตั ิใชอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรมและตอ่ เนอื่ ง

8) จดั ทาขอ้ ตกลงร่วมกันในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรดา้ นธรรมชาติหรอื สง่ิ แวดล้อมเพื่อ
การท่องเที่ยว เช่น การจัดการขยะจากกิจกรรมท่องเท่ียว เป็นต้น ให้ชุมชนรับรู้และเขา้ ใจข้อตกลง
ร่วมกนั รวมท้งั นาขอ้ ตกลงร่วมกันด้านการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดา้ นธรรมชาติหรอื สิง่ แวดลอ้ มเพื่อ
การท่องเท่ียวไปปฏิบตั ใิ ช้อย่างเปน็ รปู ธรรม

9) พัฒนาบุคลากรเพื่อส่งเสรมิ การท่องเที่ยวโดยชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยมีกิจกรรม
พัฒนาศกั ยภาพใหก้ ับสมาชกิ กลมุ่ ส่งเสรมิ การท่องเที่ยวโดยชุมชนตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างน้อยปีละ 1
คร้ัง ให้สามารถถา่ ยทอดความรู้ความเข้าใจดา้ นการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอย่างยั่งยนื ใหแ้ ก่นกั ทอ่ งเท่ียว
ได้ และให้มที กั ษะในการทางานตามหนา้ ที่รับผิดชอบทไ่ี ด้รับมอบหมาย

10) ส่งเสริมบุคลากรทางการท่องเท่ียวให้มีศักยภาพ ความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นต่อการ
พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยืน โดยใหม้ ที ักษะในการประเมินผล และแกไ้ ขปญั หาดา้ นการ
บริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง มีความรู้และความเข้าใจใน
หลักการการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอย่างย่ังยืน มีจิตอาสาเพ่อื ท้องถ่ิน รวมทั้งชุมชนควรมีบุคลากรท่มี ี
ภาวะผ้นู าทีม่ คี วามสามารถในการบรกิ ารจดั การกจิ กรรมการท่องเทย่ี ว

11) มุ่งเน้นสนับสนุนและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของของภาคีเครือข่ายต่างๆ ให้มี
ประสิทธิภาพ โดยเปดิ โอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่วนใน รับรู้ข่าวสารการท่องเท่ยี วในชุมชน มกี ารจดั ประชุม
เป็นประจาโดยมีคณะกรรมการและสมาชิกของชุมชนเข้าร่วม มีการเผยแพร่ข่าวสารด้านการ
ทอ่ งเท่ยี วและจาทาช่องทางในการเผยแพร่ขา่ วสารให้สมาชิกและคนในชมุ ชน เชน่ การประชุม การ
ประกาศจากหอกระจายข่าวสารจากผ้นู าชุมชน เปน็ ต้น

12) สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยมกี ลไก
ช่องทาง วิธี หรือกิจกรรมการทางานรว่ มกันระหว่างกลุ่มส่งเสรมิ การท่องเที่ยวโดยชุมชนกับองคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) ในพื้นท่ี

13) เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื กับภาคเี ครือขา่ ยในการจัดการทรพั ยากรการท่องเท่ียวร่วมกัน
และมีการประเมินผลการทางานรว่ มกบั ภาคเี พอ่ื วางแผนการทางานร่วมกบั ภาคีทีเ่ หมาะสมในอนาคต

14) บูรณาการการทางานร่วมกับภาคีเครือขา่ ยทางการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเทีย่ วใน
ชุมชน มีการประชุมหารือวางแผนความร่วมมือทางการตลาดร่วมกบั ภาคีเครือข่าย และจดั กิจกรรม
ความร่วมมือทางการตลาด เชน่ การออกบูธนาเสนอกิจกรรมท่องเท่ียวชุมชน เป็นตน้

15) ยกระดบั จดั การการตลาดและประชาสัมพนั ธ์การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยจัดทาส่ือประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวของชุมชน เช่น แผ่นพับ คู่มือท่องเที่ยว เว็บไซต์ เป็นต้น

16) จัดทาปฏิทินกิจกรรมท่องเทีย่ วของชุมชนตลอดทง้ั ปี มแี ผนทีห่ รือข้อมูลเส้นทางการ

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 4

เดินทางเขา้ ส่ชู ุมชนหรอื และมแี ผนท่ีการท่องเทย่ี วในชุมชนและตามแหล่งท่องเท่ยี วตา่ งๆที่เก่ียวข้อง
โดยมีการเผยแพร่ส่ือประชาสัมพันธ์ต่างๆให้นักท่องเท่ียวได้รับทราบตามช่องทางตา่ งๆ เช่น การ
ออกบูธ โรงแรมในบริเวณใกลเ้ คียง จุดบรกิ ารท่องเที่ยวตา่ งๆ เปน็ ต้น

17) มุ่งเน้นการจัดการแบบองค์รวมตั้งแต่การตลาด การจัดทาข้อมูลข่าวสาร การ
ประชาสัมพนั ธ์การวางแผนนโยบายต่าง ๆ เพื่ออานวยความสะดวกแกก่ ารจัดการท่องเท่ียว และความ
ปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สินของนักท่องเท่ียวที่เขา้ มาในแหลง่ ท่องเที่ยว เนอ่ื งจากแนวคดิ ของการ
ท่องเทย่ี วโดยชุมชนเปน็ เร่อื งของการเรยี นรูร้ ่วมกนั ของคนในชมุ ชนท้องถน่ิ และผูม้ าเยือน ในการทจี่ ะ
ดูแลรกั ษาทรพั ยากรด้านตา่ ง ๆ ของชมุ ชนที่มีอยู่แล้ว ตลอดจนเปน็ เคร่ืองมือในการพฒั นาชุมชนให้
เกิดความยัง่ ยืน อนั เกดิ จากการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นในชมุ ชนเพือ่ ประโยชน์แกช่ ุมชน

18) จัดตั้งองค์กรกลางในชุมชนเพ่ือทาหน้าท่ีในการบริหารจดั การการท่องเท่ียวชุมชน
อานวยความสะดวก และประสานงานระหว่างนักท่องเที่ยวกับกลุ่มสมาชิกทีจ่ ดั การทอ่ งเทย่ี ว บางครง้ั
อาจจะเป็นกลุ่มหรือหน่วยงานที่มีอยู่ แต่อาจจะกาหนดบทบาทและหน้าท่ีในการจัดการท่องเที่ยว
เพมิ่ เติม

19) สนบั สนุนและส่งเสรมิ สมาชิกในชุมชนเข้ามาร่วมกนั กาหนดรูปแบบการท่องเทีย่ วของ
ชุมชน โปรแกรมกิจกรรมการท่องเทย่ี ว ราคาค่าบริการ การจัดสรรผลประโยชน์ส่ชู าวบ้านและชุมชน
โดยทุกๆ ขั้นตอนต้องมีความชัดเจน โปรงใสและตรวจสอบได้ รวมถึงการออกกฎ กติกา เพ่ือเป็น
แนวทางในการปฏิบัติของสมาชิกในชุมชน และนักท่องเที่ยว ตลอดจนเป็นแนวทางส่งเสริมการ
ท่องเทยี่ ว เพื่อใหเ้ กดิ ความเรียบร้อยและบรรลุวตั ถปุ ระสงค์

20) จัดทาโครงสร้างการบริหารจัดการที่ชัดเชน เช่น การบริหารงานบุคคล การพัฒนา
บุคลากร ระบบการประชาสมั พนั ธ์ การบริหารจดั การงบประมาณ เปน็ ต้น โดยชุมชนควรมโี ครงสร้าง
การบริหารจัดการท่ีชัดเจน ในรูปของคณะกรรมการดาเนินงานและคณะกรรมการท่ีปรึกษา การ
กาหนดตาแหนง่ หนา้ ที่ มขี ้อตกลง กฎระเบียบของกลุ่มทชี่ ดั เจนการดาเนินการจัดการท่องเทย่ี วของ
กลุ่มดาเนินการผา่ นกระบวนการประชุมสมาชิกทุกครง้ั ”

กล่ำวโดยสรุป การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วให้มปี ระสิทธภิ าพ ควรมี
การจัดต้ังกลุ่มส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนซึ่งได้รับการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐและมี
โครงสรา้ งการทางาน แบง่ บทบาทหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบของแตล่ ะหน้าท่ี มีกรรมการกลมุ่ ส่งเสรมิ
การท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เป็นคนในชุมชนและมีบทบาทในการจัดทาและขับเคลื่อนแผนการ
พัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน จัดทาวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และแผนการ
ดาเนินงานท่ีครอบคลุมท้ัง 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม จัดทาข้อตกลงร่วมกันในการ
กระจายรายได้จากการท่องเท่ียวเพื่อประโยชน์ของการพัฒนาชุมชน และข้อตกลงร่วมกันในการ
บริหารจัดการทรพั ยากรด้านสังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งทรัพยากรด้านธรรมชาตหิ รือ

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 5

ส่ิงแวดล้อมเพื่อการทอ่ งเที่ยว ควรสง่ เสริมการพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความพร้อมในการบรหิ ารจัดการ
การท่องเทยี่ วในชมุ ชน ให้มศี ักยภาพ ความรู้ และทกั ษะท่จี าเป็นตอ่ การพฒั นาการท่องเท่ียว ควรเปดิ
โอกาสใหท้ ุกฝ่ายมสี ่วนในการรับรู้ขา่ วสารการท่องเที่ยวในชุมชน ดงั นน้ั จงึ สรุปการพัฒนาศักยภาพ
ชุมชนต้นแบบการทอ่ งเทยี่ วได้ ดังภาพที่ 1

กำรพัฒนำศักยภำพ จัดทาวิสยั ทศั น์ เปา้ หมาย พนั ธกจิ และยุทธศาสตร์
ชุมชนต้นแบบด้ำนกำร
จดั ทาข้อตกลงรว่ มกันในการกระจายรายได้
บรหิ ำรจัดกำรกำร
ทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน จัดต้ังกลมุ่ สง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน
แผนการดาเนนิ งาน
พฒั นาบุคลากรใหม้ ีความพร้อมในการบริหารจดั การ

เสริมสร้างภาคีเครื อข่า ยทาง กา รตลาด เพ่ื อ ส่ง เ ส ริ ม
การทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชน

ภำพท่ี 1 การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการบริหารจดั การการท่องเที่ยวโดยชุมชน

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 6

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 7

กำรพัฒนำศกั ยภำพชุมชนต้นแบบดำ้ นกำรจัดกำรเศรษฐกจิ สังคมและคุณภำพชวี ิตทด่ี ี

1) จัดสรรรายได้ทเี่ กดิ จากการท่องเทีย่ วให้กบั สมาชิกทุกระดับในชุมชนอยา่ งเป็นธรรม โดย
มหี ลกั เกณฑ์ในการจัดสรรรายได้ทีช่ ัดเจน และแจ้งใหส้ มาชิกทกุ คนได้รบั ทราบอย่างตอ่ เนื่อง รวมทงั้ มี
การจดั สรรรายได้ส่วนหนึ่งทเี่ กิดจากการทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนให้กบั กองทนุ กลางสวัสดิการเพื่อสมาชิกใน
ชมุ ชนและเพื่อสาธารณประโยชน์ในชุมชน

2) จัดสรรรายได้ที่เกิดจากการท่องเท่ียวให้กับกองทุนกลางพัฒนาชุมชนเพื่อใช้ใน
สาธารณประโยชน์ เช่น การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม การอนุรักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม
เปน็ ต้น รวมทั้งควรมกี ารนากองทุนกลางไปใช้สนับสนนุ หรือจัดกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ กิจกรรม
ชว่ ยเหลอื สงั คม และสมาชิกกลมุ่ มสี ่วนรว่ มในการดาเนินกิจกรรมเหลา่ นี้อยา่ งตอ่ เน่อื ง

3) ส่งเสรมิ และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีของประชาชนให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดย
จดั กิจกรรมการท่องเท่ยี วที่มคี วามสอดคล้องกับวิถชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อมทอ้ งถ่ิน และให้มสี ว่ นร่วมใน
กิจกรรมส่งเสริมสุขอนามยั และคณุ ภาพชีวิตท่ีดขี องคนในชุมชน สนับสนุนกิจกรรมรณรงค์ให้ลดละ
เลกิ ยาเสพตดิ และอบายมขุ รวมทัง้ มกี ารเชื่อมโยงคนในชุมชนเพ่ือสรา้ งโอกาสการมีงานทา มรี ายได้
เสรมิ จากการทอ่ งเที่ยวในชุมชนภายใตข้ ้อตกลงของกลุ่ม

4) ส่งเสริมการใชแ้ ละพฒั นาผลิตภณั ฑ์ชุมชนเพื่อการเพมิ่ รายได้ เปิดโอกาสให้คนในชมุ ชน
มาจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชมุ ชนแก่นักทอ่ งเท่ยี ว มีภาคีเครือข่ายทม่ี ีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือเพ่ิมช่อง
ทางการจัดจาหนา่ ยของสินค้าชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการคิดค้นหรือเพิ่มมลู คา่
ผลิตภณั ฑช์ ุมชนใหมๆ่

5) ส่งเสริมและสนับสนุนสนิ ค้าหรือผลิตภัณฑ์ในการท่องเท่ียวที่เป็นอัตลักษณ์ของชมุ ชน
ซ่งึ มีพนื้ ฐานมาจากภูมิปัญญาและทรัพยากรทอ้ งถิ่นของชมุ ชน ท้งั น้ี สินค้าและผลติ ภณั ฑ์ท้องถนิ่ ของ
ชุมชนมกี ารพฒั นาให้สามารถสรา้ งรายได้ให้กับชุมชน รวมทั้งสินคา้ หรอื ผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ ของชุมชน
ยังเป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม และได้รบั มาตรฐานรบั รองคณุ ภาพ

6) พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและเศรษฐกิจของชุมชน โดยการทอ่ งเที่ยวชมุ ชนต้องสร้างประโยชน์
ให้กับชุมชน ชุมชนมีรายได้จากการท่องเที่ยว รายได้จากสินคา้ ท่ีระลึกการท่องเที่ยวบ้านเรือน และ
แหล่งท่องเทีย่ วสะอาด สาธารณูปโภคขั้นพืน้ ฐาน และสิ่งอานวยความสะดวกตา่ งๆ ทีเ่ พ่ิมมากข้นึ เพื่อ
รองรับนักท่องเท่ยี ว รวมถึงสมาชกิ ในชุมชนก็ได้รบั ประโยชน์ไปดว้ ย

7) จัดโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตโดยมุ่งให้ชาวบ้านมีรายได้เสรมิ จากการทอ่ งเทย่ี ว
โดยนาฐานทรัพยากรชมุ ชนซง่ึ เปน็ สนิ ทรพั ย์ร่วมหรือสมบัติสาธารณะมาเปน็ ตน้ ทุนในการจดั การการ
ท่องเทีย่ ว มกี ารกระจายรายได้อย่างเสมอภาคและยุติธรรม และท่ีสาคัญชาวบา้ นส่วนใหญ่ในชุมชน
จะตอ้ งเห็นพอ้ งตอ้ งกันที่จะนาฐานทรพั ยากรการท่องเที่ยวทีม่ ีอยู่

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 8

8) เมื่อเกดิ รายไดจ้ ากการท่องเที่ยวขึน้ มา ควรกระจายรายไดแ้ ละจัดสรรรายไดข้ องชมุ ชน
โดยมกี ารหกั เป็นเงนิ กองกลางเขา้ หมบู่ ้าน เพ่ือจะได้นากองกลางไปจดั ซือ้ จดั ทาสิง่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์กับ
ชุมชนต่อไป ทัง้ น้ี ใหท้ กุ ครวั เรอื นสามารถนาผลผลิตมาจาหนา่ ย โดยจัดจุดจาหน่ายสินคา้ ของฝากและ
ของทรี่ ะลกึ เม่ือมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาศึกษาดงู านหรือเข้ามาท่องเทย่ี ว โดยให้ประชาชนทุกส่วนได้รับ
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจท่เี กิดจากการทอ่ งเทีย่ วอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน

9) มุ่งให้กิจกรรมการท่องเท่ียวนาไปสู่การกระจายรายได้ และผลกาไรที่เกิดจากการ
ท่องเท่ยี วเกดิ กบั ชุมชน โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนในพืน้ ท่เี ป็นปัจจัยหลักในการพฒั นา และควบคมุ การ
เจริญเติบโตของการท่องเทีย่ วในพื้นที่ ภายใตม้ ิติทไ่ี มข่ ดั แย้งกบั การรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ

10) สร้างความตระหนักและความเข้าใจกับชาวบ้านว่า การท่องเที่ยวชุมชนเป็นเพียง
ช่องทางหน่ึงในการเสริมสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน มิใช่มุ่งให้เป็นรายได้หลักของชุมชนแต่อย่างใด
เพราะอาจจะทาใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงวิถีชีวติ และชุมชนจะไมส่ ามารถอยไู่ ด้หากภาวะท่องเที่ยวใน
ชมุ ชนซบเซาลง

11) การท่องเท่ยี วโดยชมุ ชนเกดิ จากความร่วมมือกันของคนในชุมชน ดงั นน้ั ผลประโยชน์
ตา่ งๆ ท่ไี ดร้ ับจะกลบั เข้าส่ชู ุมชนโดยตรงเพอื่ พฒั นาและดูแลชมุ ชน รวมถึงทรัพยากรต่างๆ ของชมุ ชน
และส่ิงเหล่านั้นจะคืนกลับให้คนทุกคนในชุมชน จึงควรเน้นการสร้างรายได้และสร้างอาชีพใหก้ บั
ชาวบ้านไดโ้ ดยตรงจากสิ่งที่ชุมชนมี หรือถือปฏิบัติอยู่ และรายได้ดังกล่าวของชุมชนสามารถนามา
จัดสรรเพอื่ สร้างสาธารณประโยชน์ใหก้ บั ชมุ ชน

12) ขบั เคลอ่ื นการท่องเท่ยี วในระดบั ท้องถ่ินเพ่ือนามาซง่ึ การจา้ งงานและการสร้างอาชีพ
ทง้ั ในภาคการท่องเที่ยวโดยตรงและการจ้างงานในภาคอ่ืนๆที่เกี่ยวขอ้ ง ทาให้เกิดการกระจายรายไดส้ ู่
ชุมชนและท้องถิ่น ส่วนในแง่ทางสังคม ควรมุ่งเน้นพัฒนาด้านการท่องเที่ยวภายใต้แนวคิดการ
ทอ่ งเทย่ี วอย่างยงั่ ยนื จะทาใหเ้ กิดการพัฒนาสาธารณปู โภค และสงิ่ อานวยความสะดวกต่างๆ

13) สนบั สนนุ การดาเนนิ งานของชมุ ชนเพื่อใหม้ กี ารสง่ เสรมิ การยกระดบั คุณภาพชีวติ ในคน
ในชุมชนโดยการสนับสนุนดา้ นอาชีพ และนาผลติ ภัณฑช์ มุ ชนเขา้ ส่ตู ลาดมากขน้ึ และให้ความสาคัญ
มากท่สี ดุ กบั การจัดสรรรายได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพอื่ ลดความเหล่ือมลา้ ทางด้านรายได้

14) มงุ่ เนน้ บริหารจัดการท่สี มดุลระหวา่ งความต้องการของนักท่องเท่ียวกับผลประโยชน์
ของเจา้ ของแหล่งท่องเท่ียว โดยยึดหลกั ความสมดุลของเศรษฐกิจ สงั คมวฒั นธรรม และสงิ่ แวดล้อม
เพือ่ มใิ ห้เกิดความเหล่อื มล้าทางรายได้ และป้องกนั กลมุ่ ทุนนอกพื้นที่เขา้ มากอบโกยผลประโยชน์และ
ทิ้งปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มที่เสือ่ มโทรมให้กบั แหลง่ ทอ่ งเที่ยว

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 9

15) มงุ่ เน้นพัฒนาคุณภาพชวี ิตและเศรษฐกิจของชุมชน โดยการทอ่ งเทย่ี วชุมชนต้องสร้าง
ประโยชน์ให้กับชมุ ชน ไดแ้ ก่ ชุมชนมีรายได้จากการท่องเท่ยี วรายได้จากสินค้าท่ีระลึกการท่องเท่ียว
บา้ นเรือน และแหล่งทอ่ งเทีย่ วสะอาด สาธารณูปโภคข้ันพ้นื ฐานและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่
เพ่มิ มากข้นึ เพือ่ รองรับนกั ท่องเทยี่ ว รวมถึงสมาชิกในชมุ ชนก็ไดร้ ับประโยชนไ์ ปดว้ ย

16) ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานเกย่ี วกบั การจดั การเศรษฐกิจ สงั คม และคณุ ภาพชีวติ ท่ี
ดี ได้แก่ การจัดสรรรายได้มปี ระสิทธิภาพ การส่งเสริมการยก ระดับคุณภาพชีวิตที่ดเี ป็นไปอย่างมี
ประสิทธภิ าพ ผลติ ภัณฑ์ชุมชนมคี ณุ ภาพเพ่ือเสรมิ สร้างโอกาสในการเพิม่ รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว และ
สทิ ธิมนุษยชนในการทอ่ งเทย่ี วไดร้ ับการใหค้ วามสาคัญ

17) สนับสนนุ และให้ความสาคัญกับเรื่องสิทธิมนษุ ยชนของทกุ กล่มุ คนในการท่องเทยี่ วโดย
เน้นให้โอกาสเยาวชน สตรี คนชรา คนพกิ าร และคนกลุ่มนอ้ ยต่างๆ เขา้ มามสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการ
ท่องเท่ยี วอย่างเสมอภาค

18) คณุ ภาพชวี ิตของคนในพืน้ ทช่ี ุมชนในการท่องเทยี่ วมีความเสี่ยงและคณุ ภาพชีวติ มาก
ขนึ้ จาเปน็ อยา่ งยิง่ ทค่ี วรจะตอ้ งมีการจัดการควบคมุ กับปญั หาความเสยี่ งท่จี ะเกดิ ข้นึ จากการทอ่ งเทย่ี ว

19) สาคัญที่เป็นปญั หาทางด้านคณุ ภาพชีวิตจะเป็นด้านอารมณท์ ี่ส่งผลกระทบต่อความ
เป็นอยู่ของคนในพืน้ ท่ชี มุ ชนทีเ่ กิดขึ้นจากการท่องเทยี่ ว จาเปน็ อยา่ งย่งิ ที่จะได้รบั การดูแลจากทางผู้ที่
มีส่วนเกี่ยวข้องที่จะสามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงสวัสดิการจาก
ภาครัฐจะเป็นสว่ นหนงึ่ ทส่ี ามารถทาให้คุณภาพชวี ติ ความเป็นอยูข่ องคนในสังคมดีขึ้น โดยจาเปน็ ตอ้ งมี
ลาดบั ความสาคญั ในการแก้ปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ วางแผน และให้สทิ ธเิ ท่าเทยี มกบั คนในสงั คม

กล่ำวโดยสรุป การพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบดา้ นการจัดการเศรษฐกิจ สังคมและ
คุณภาพชีวิตที่ดี ควรมีการจัดสรรรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง โดยนา
กองทุนกลางไปใชส้ นับสนนุ หรือจดั กิจกรรมสาธารณประโยชน์ กจิ กรรมช่วยเหลือสังคม และสมาชิก
กลุ่มมีส่วนรว่ มในการดาเนินกจิ กรรม ส่งเสรมิ การยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ใหด้ ีย่งิ ข้นึ มคี วามสอดคล้องกับ
วิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมท้องถ่ิน ส่งเสริมการใช้และพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มรายได้
สนบั สนนุ สนิ ค้าที่เป็นอตั ลักษณ์ของชมุ ชน ซ่ึงมีพนื้ ฐานจากภูมปิ ญั ญาและทรพั ยากรทอ้ งถิ่นของชุมชน
ส่งเสริมภาคีเครือข่ายท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายของสินค้าชมุ ชน
ดงั นัน้ จงึ สรปุ การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการจดั การเศรษฐกิจ สงั คมและคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ีได้ ดังภาพท่ี 2

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 10

กำรจัดกำรเศรษฐกิจ จัดสรรรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวอย่างเป็นธรรม
สังคม และคุณภำพ และท
ชวี ิตทด่ี ี สง่ เสรมิ การใชแ้ ละพัฒนาผลติ ภัณฑ์ชุมชน

จดั ต้ังภาคีเครือขา่ ยทีม่ สี ว่ นรว่ มในการพัฒนา

ม่งุ เนน้ การยกระดบั คุณภาพชวี ิตใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ

ให้ความสาคญั กบั เรอื่ งความเสมอภาคของทกุ กลุ่มคน

ภำพที่ 2 การพฒั นาศักยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการจดั การเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 11

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 12

กำรพัฒนำศกั ยภำพชมุ ชนตน้ แบบดำ้ นกำรอนรุ กั ษ์และสง่ เสรมิ มรดกทำงวฒั นธรรมชมุ ชน

1) ดาเนินการจัดการข้อมลู ทางมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนเพ่อื การทอ่ งเทีย่ ว โดยการสบื ค้นและ
รวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับมรดกวัฒนธรรมชุมชน เชน่ บนั ทึกประวัติศาสตร์ วถิ ีชีวิต ภมู ิปญั ญา วัฒนธรรม
และประเพณี ท้องถน่ิ เปน็ ตน้ เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร จากน้นั จงึ คดั เลอื กขอ้ มลู มรดกวฒั นธรรมชมุ ชนท่ี
เหมาะสมและน่าสนใจมาใช้ในการทอ่ งเท่ียว รวมท้งั มกี ารส่อื ความหมายข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชน
ทีค่ ัดสรรมาแล้วให้นักทอ่ งเทยี่ วไดท้ ราบ

2) ส่งเสรมิ การสรา้ งความตระหนัก เหน็ คุณค่า ความรัก ความหวงแหน และภาคภมู ใิ จของ
คนในชุมชนที่มีต่อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและทรัพยากรในท้องถิ่น ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมต้นของ
การศึกษา รวบรวมข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชุมชน เช่น ข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น งานประเพณี พิธีกรรม สถาปัตยกรรม เป็นต้น แล้วนาข้อมูลเหล่าน้ันมาจดั การ
อย่างเป็นระบบ เพอ่ื ใหเ้ กิดการอนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

3) สง่ เสริมการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเท่ียวชุมชนเชงิ มรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นรปู แบบ
การทอ่ งเท่ียวทค่ี นภายนอกให้ความสนใจ และต้องการเดนิ ทางเข้ามาเพ่ือสัมผัสกับคณุ คา่ และความ
เปน็ เอกลักษณข์ องชมุ ชน ซึง่ อาณาบรเิ วณของชมุ ชน คน วัตถุสงิ่ ของหรือสิ่งกอ่ สร้างตา่ ง ๆ ในชมุ ชนท่ี
สะท้อนความเป็นตัวตนทีแ่ ทจ้ ริงถอื เปน็ สิ่งดงึ ดดู ใจทางการทอ่ งเทยี่ วไดท้ ัง้ สน้ิ

4) สร้างสรรค์รูปแบบการท่องเที่ยวใหม่ๆ เพ่ือสร้างอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเท่ียวในการ
จูงใจนักทอ่ งเทีย่ วกลมุ่ เป้าหมาย ทงั้ น้ี การทอ่ งเท่ียวเชิงมรดกวัฒนธรรมเปน็ การท่องเที่ยวรูปแบบหน่ึง
ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียวในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมุ่งเน้นให้
นกั ทอ่ งเทย่ี วได้สมั ผัสประสบการณ์ด้านวิถีชีวิตและมรดกทางวัฒนธรรมในแหลง่ ท่องเที่ยว ได้เรียนรู้
ส่งิ แวดล้อมของชุมชน ประเพณีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น

5) กระบวนการสาคัญในการพฒั นาการท่องเทย่ี วเชิงมรดกวัฒนธรรมคอื การพัฒนาการ
ตลาดเพ่อื ส่งเสรมิ แหล่งทอ่ งเที่ยวเชิงมรดกวฒั นธรรมให้มชี อ่ื เสยี งเปน็ ทร่ี จู้ กั แก่นักท่องเท่ยี ว และสรา้ ง
ภาพลกั ษณท์ ่ีดดี ้านการท่องเที่ยว สง่ ผลให้จานวนนกั ท่องเท่ียวเพ่มิ ขึน้ และก่อให้เกดิ รายได้แก่ชุมชน
และสง่ ผลดตี อ่ เศรษฐกิจชมุ ชนภายใตก้ ารอนรุ กั ษม์ รดกวฒั นธรรมในแหลง่ ทอ่ งเที่ยว

6) พัฒนาลักษณะทางกายภาพทางการท่องเท่ียวเชิงมรดกวัฒนธรรม โดยจะต้องมี
บรรยากาศของความเก่าแก่ด้ังเดิมและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น เช่นการรักษาสภาพเดิมของ
สถาปัตยกรรมท้องถิ่น การฟ้ืนฟูรักษาภูมิปัญญาและวิถีชีวิตของท้องถิ่น เป็นต้น นอกจากน้ี การ
พัฒนาลักษณะทางกายภาพยังรวมถึงสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการท่ีจัดเตรยี มไว้สาหรบั
นกั ท่องเท่ยี ว เพ่อื ให้นักทอ่ งเทีย่ วไดร้ ับความสะดวกสบายและเพลดิ เพลนิ ในการเย่ียมชม โดยต้องมี
การดูแลรกั ษาลกั ษณะทางกายภาพเหล่าน้ใี ห้อยู่ในสภาพดั้งเดิม

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 13

7) การท่องเท่ยี วเชงิ มรดกทางวัฒนธรรมของชมุ ชนเปน็ รูปแบบการท่องเที่ยวทีม่ มี รดกทาง
วฒั นธรรมเป็นส่งิ ดึงดดู ใจนกั ทอ่ งเที่ยว จึงควรมกี ารส่งเสรมิ และอนรุ กั ษ์มรดกทางวฒั นธรรมทส่ี ามารถ
ใช้ในการดึงดูดใจนักท่องเท่ียวได้ เช่น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภูมิปัญญา การประกอบอาชีพ
ขนบธรรมเนียมประเพณกี ารแต่งกาย และลักษณะบ้านเรือนส่ิงก่อสร้าง เป็นต้น ซึ่งต้องเป็นส่ิงท่มี ี
คุณคา่ และคุณภาพเพียงพอต่อการจงู ใจนักท่องเที่ยวได้

8) การจัดการแหล่งท่องเทย่ี วโดยชุมชน และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมตอ้ งดาเนินการไป
พร้อมกัน ซ่ึงการจัดการแหล่งท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน เป็นการนาชุมชนไปสู่การเติบโตทาง
เศรษฐกิจ และรายได้ในระยะยาว ในขณะที่การอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมเป็นประโยชนด์ ้านการ
รักษาองคค์ วามรู้ และคณุ ค่าสง่ิ ดึงดูดใจที่มซี ึง่ จะเอือ้ ตอ่ การสง่ เสริมการทอ่ งเทีย่ วได้เป็นอย่างดี

9) การจัดการแหล่งท่องเท่ียวชุมชนเชิงมรดกทางวัฒนธรรม เพ่ือให้เกิดความย่ังยืนที่
เหมาะสม ควรเปน็ การบริหารจัดการที่คานึงถึงการผสานผลกระโยชน์ของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียทุกภาค
ส่วนใหล้ งตวั นาพาแหลง่ ท่องเทยี่ วชุมชนเชิงมรดกทางวฒั นธรรมใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงในคณุ คา่ ของ
ตนเองน้อยที่สุด และส่งผลให้ความสมดุลในด้านผลลัพธ์ท้ังสามมิติแห่งความยั่งยืนได้แก่ มิติทาง
เศรษฐกจิ มิตทิ างสังคม และมิติทางสง่ิ แวดลอ้ ม

10) เนน้ การวางแผนและจัดการท่ีเหมาะสม เพ่ือหลกี เลย่ี งปญั หาจากการเปล่ยี นแปลงของ
วัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตของชุมชนซ่ึงรวมถึงดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ท้ังน้ีการจดั การการ
ท่องเที่ยวเชิงมรดกทางวัฒนธรรมท่ีดี ไม่ควรที่จะมองมรดกทางวัฒนธรรมหรือแหล่งท่องเท่ียวเปน็
เพียงแค่สินค้าที่จะนารายได้เข้าสู่ชุมชนเท่าน้ัน หากแต่ควรมองแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าวให้เสมือน
มรดกของชมุ ชนทค่ี วรคา่ แก่การอนรุ กั ษไ์ ว้ให้คงอยู่

11) เสรมิ สร้างความเข้าใจมรดกทางวัฒนธรรมชุมชน และการมีสว่ นร่วมในประสบการณ์
ทางวัฒนธรรมท้ังทางด้านภมู ปิ ัญญา ความงาม จิตวิทยา และความรสู้ กึ ภายใตแ้ นวคิดการพฒั นาการ
ทอ่ งเทีย่ วอย่างยง่ั ยนื มุง่ เน้นการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียวให้เป็นแหลง่ เรียนรู้และสรา้ งความประทับใจ
พร้อมกับสร้างการมสี ่วนร่วมของชุมชนเพอื่ เป็นแรงผลักดันให้ช่วยกันอนุรักษ์สบื ทอดและถ่ายทอด
มรดกทางวฒั นธรรม ซง่ึ จะเปน็ การคงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของชุมชนไว้

12) มงุ่ เน้นประสทิ ธิภาพในการวางแผนและการบรหิ ารจดั การแหล่งทอ่ งเทีย่ วทต่ี ้องมคี วาม
รอบคอบและรัดกุม โดยต้องคานึงถึงเป้าหมายหลักได้แก่ การรักษาคุณค่าและคุณภาพของแหล่ง
ท่องเทย่ี วไปพร้อมกบั การป้องกันผลกระทบท่จี ะเกดิ ข้นึ ในมติ ิทางเศรษฐกิจ มิติทางสงั คม และมติ ิทาง
สง่ิ แวดลอ้ ม เพือ่ ให้เกิดความยั่งยนื ในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วไดใ้ นระยะยาว

13) ยกระดับและขับเคล่ือนการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูวัฒนธรรมชุมชนให้มีประสิทธิภาพ โดยให้
สมาชิกในชุมชนทุกภาคส่วนเขา้ มามีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมอนรุ ักษฟ์ น้ื ฟวู ฒั นธรรมชมุ ชน และร่วมดาเนิน
กิจกรรมอนุรักษ์ฟ้ืนฟูวัฒนธรรมชุมชนกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ในพื้นที่อย่างตอ่ เนือ่ ง รวมท้ังควรตอ่

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 14

ยอดการจดั การมรดกทางวัฒนธรรมอยา่ งสร้างสรรค์ โดยอาศัยภาคีการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ ส่วน
ราชการ ชมุ ชน และทอ้ งถ่นิ เพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ด้านประวตั ศิ าสตรวัฒนธรรมประเพณีให้สมาชิกใน
สงั คมเปน็ ผู้มคี วามเข้าใจในการอนุรกั ษ์ การเฝา้ ระวงั มรดกทางวัฒนธรรมไมใ่ หเ้ กิดการสูญหายไป

14) ควรนามรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนที่ผ่านมาเลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผล
อยา่ งรอบคอบแล้ว ไปถ่ายทอดใหค้ นในสงั คมได้รับรู้ เกิดความเขา้ ใจ ตระหนกั ในคุณคา่ คุณประโยชน์
และปฎิบัติได้อยา่ งเหมาะสม โดยผา่ นสถาบนั ครอบครัว สถาบันการศกึ ษา และการจัดกจิ กรรมทาง
วัฒนธรรมต่างๆ รวมทั้งควรสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสานและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรม
ประเพณที อ้ งถ่ินของชุมชนต่างๆ เพ่อื จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินอย่างต่อเนื่อง

15) ยึดหลักการบูรณาการทางานร่วมกันอย่างจริงจัง ระหว่างชุมชนท่ีมีมรดกทาง
วัฒนธรรมท้องถิ่นและของหน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมการอา นวยการ
เส้นทางเรียนรู้และท่องเที่ยวใน โดยมีตัวแทนจากภาคประชาชนและภาคประชาสังคมในพ้ืนท่ีท่ี
เก่ียวข้องร่วมเป็นคณะกรรมการ มีการประชุมจัดทาแผนจัดการมรดกทางวัฒนธรรมให้เป็นแหล่ง
เรียนร้แู ละแหล่งท่องเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม และแตง่ ตง้ั คณะทางานจัดทาองค์ความรขู้ องแหล่งมรดกทาง
วัฒนธรรมตามเสน้ ทางเรียนรู้

16) ส่งเสริมและสนับสนนุ กระบวนการเรียนรู้ของชุมชนในการสบื คน้ มรดกทางวัฒนธรรม
โดยให้ความสาคัญกับการลงพ้ืนท่ีรับฟัง และสารวจเพิ่มเติมเพ่ือนาไปกาหนดเป็นแนวทางใน
การอนรุ ักษ์ โดยใหช้ ุมชนมีส่วนร่วมกับการทาแผนในการจดั การมรดกทางวัฒนธรรมอยา่ งสร้างสรรค์

17) เสริมสรา้ งการบริหารจดั การในด้านคณุ คา่ ของแหล่งท่องเที่ยวเชงิ มรดกทางวัฒนธรรม
และสร้างความตระหนกั ถึงคุณคา่ ที่ทวนกระแสรปู แบบการทอ่ งเท่ียวทมี่ ุ่งตอบสนองปจั จยั เชิงธุรกจิ
การคา้ และบรกิ ารเปน็ หลัก รวมท้งั ส่งเสรมิ การอนุรักษ์และฟ้ืนฟมู รดกทางวฒั นธรรมของชุมชนเพ่ือให้
เกดิ ความย่งั ยืนของแหล่งท่องเที่ยวมิให้ลม่ สลายไปตามกระแสการเปล่ียนแปลง

18) เผยแพรม่ รดกวฒั นธรรมชุมชนผา่ นการท่องเท่ยี วชุมชน โดยใช้ช่องทางการเผยแพรส่ ่ือ
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการท่องเท่ียว เช่น เว็บไซต์ วิทยุชุมชน เป็นต้น รวมทั้งมีการจัดทาสื่อ
ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมการทอ่ งเท่ยี วทมี่ ีองค์ประกอบเชิงวัฒนธรรมหรือวถิ ีชีวิตชมุ ชน เช่น แผน่ พับ
หนังสอื คู่มือทอ่ งเทีย่ ว เป็นตน้ ซงึ่ จะทาใหน้ ักท่องเท่ียวไดเ้ รยี นรแู้ ละสัมผัสวัฒนธรรมท้องถิ่นวิถีชีวิต
ชุมชนผา่ นประสบการณ์จริง

19) จัดอบรมให้ความร้ทู างด้านประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมของท้องถ่นิ
ให้แก่คนในชุมชน เพ่ือให้สามารถถ่ายทอดความรู้แก่คนรุ่นหลังและนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเขา้ มา
ศกึ ษาในการท่องเท่ยี วชุมชนไดอ้ ย่างมีระบบและเพอ่ื การพัฒนาให้มีมัคคุเทศก์หรือผู้นาชมของท้องถ่ิน
เพมิ่ มากขึ้น

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 15

20) สง่ เสริมการประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวและกจิ กรรมการท่องเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรมจาก
ภาครัฐหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องของชุมชนให้มีความหลากหลายและต่อเนื่อง เพ่ือดึงดูดให้
นกั ท่องเท่ียวที่สนใจเข้ามาเยือนไดใ้ นวงกวา้ ง

กลำ่ วโดยสรุป การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการอนุรักษ์และส่งเสรมิ มรดกทาง
วฒั นธรรมชุมชน ควรมีการจัดการข้อมลู ทางมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนเพอ่ื การท่องเท่ยี ว โดยการสบื ค้น
และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับมรดกวัฒนธรรมชุมชนเป็นลายลักษณ์อักษร จากน้ันจึงคัดเลือกข้อมลู
มรดกวฒั นธรรมชุมชนท่ีเหมาะสมและนา่ สนใจมาใชใ้ นการท่องเท่ียว และดาเนินการเผยแพร่มรดก
วฒั นธรรมชุมชนผ่านการทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชน ในชอ่ งทางการเผยแพร่ส่ือประชาสัมพันธ์กิจกรรมการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชนที่ใช้มรดกวัฒนธรรมชุมชนเป็นพ้ืนฐาน เช่น เว็บไซต์ วิทยุชุมชน เป็นต้น จัด
กิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้เรียนร้แู ละสัมผัสวัฒนธรรมท้องถ่ินวิถีชีวิตชุมชนผ่านประสบการณจ์ รงิ
สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนมีการอนรุ ักษฟ์ น้ื ฟูวัฒนธรรมชมุ ชนร่วมกับภาคตี ่างๆ และจดั กจิ กรรม
อนุรักษ์วัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตท้องถิ่นให้แก่คนรุ่นหลัง ดังน้ัน จึงสรุปการพัฒนาศักยภาพชุมชน
ต้นแบบด้านการอนุรกั ษ์และสง่ เสรมิ มรดกทางวัฒนธรรมชมุ ชนได้ ดังภาพที่ 3

จดั การขอ้ มลู ทางมรดกวฒั นธรรมชุมชน

กำรพัฒนำศักยภำพ เผยแพร่มรดกวัฒนธรรมชมุ ชนผา่ นการทอ่ งเทีย่ ว
ชมุ ชนตน้ แบบ
อนรุ กั ษ์ฟน้ื ฟูวัฒนธรรมชุมชนรว่ มกับภาคีต่างๆ
ด้ำนกำรอนุรักษ์และ
สง่ เสริมมรดกทำง ส่งเสรมิ ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และสมั ผัสวัฒนธรรม
วัฒนธรรมชุมชน ทอ้ งถ่นิ วิถชี วี ิตชุมชนผ่านประสบการณจ์ ริง

ส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตท้องถ่ิน
ให้แก่คนรุน่ หลงั

ภำพที่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบด้านการอนรุ กั ษ์และสง่ เสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมชุมชน

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 16

กำรพัฒนำศักยภำพชมุ ชนต้นแบบด้ำนกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติหรือสง่ิ แวดล้อมอย่ำงเป็น
ระบบและย่งั ยนื

1) ส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วชุมชน โดยให้ชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการกาหนดพ้ืนท่ีเพื่อการ
ท่องเที่ยว มีการรว่ มประชุมกับภาคีตา่ ง ๆ เพ่อื วางแผนการใช้พืน้ ที่สาหรับการท่องเทีย่ ว จดั ทาภาพ
การแบ่งเขตการใชพ้ ้ืนที่สาหรบั การท่องเทยี่ วในชุมชนใหส้ มาชกิ ชุมชนและนักท่องเท่ียวทราบ รวมท้งั
จดั ทาเส้นทางทอ่ งเท่ยี วท่ีสอดคลอ้ งกบั การแบ่งเขตการใช้พืน้ ท่สี าหรบั การท่องเท่ียวชุมชน เช่น แผนท่ี
เส้นทางท่องเท่ียว เปน็ ต้น

2) กาหนดขีดความสามารถในการรองรับนกั ท่องเที่ยวในพ้ืนที่ท่องเที่ยว เพ่ือจะไม่ทาให้
ทรัพยากรทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมเสียหายอย่างชัดเจน เช่น เป็นมติการ
ประชมุ ของคณะกรรมการชุมชน หรอื มีลายลักษณอ์ ักษร เปน็ ตน้ โดยประชาชนและภาคีเครือข่าย
ชุมชนในพ้ืนท่ีมีส่วนร่วมในการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียว และแผนการ
กระจายจานวนนกั ท่องเทย่ี วตามจุดทอ่ งเทย่ี วต่างๆ

3) เลอื กใช้วธิ ีการจากดั ขอบเขตของการใช้ประโยชน์ หรอื การกระจายการท่องเที่ยวไปท่ัว
บริเวณจะข้ึนอยกู่ ับประเภทของการใช้ ในกรณีที่มนี กั ทอ่ งเทีย่ วจานวนนอ้ ย การปลอ่ ยให้นักท่องเท่ียว
เทยี่ วไปตามใจชอบ อาจจะส่งผลกระทบต่อธรรมชาตนิ ้อย ทัง้ นีเ้ นอื่ งจากธรรมชาตจิ ะสามารถฟื้นตัว
ได้ถา้ ความเสียหายไมม่ าก อยา่ งไรก็ตาม เม่ือมนี ักทอ่ งเทย่ี วจานวนมาก การปล่อยใหน้ ักทอ่ งเทย่ี วเดิน
ไปตามใจชอบ ยอ่ มส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มมากข้นึ

4) กาหนดขอบเขตการใช้ประโยชน์ โดยการกาหนดเส้นทางให้นักท่องเที่ยวเดินชม
ธรรมชาติ โดยยอมใหม้ ีเกดิ ผลกระทบเฉพาะพื้นทท่ี ่ที าเปน็ เส้นทาง เพื่อปอ้ งกันพ้นื ท่ที บี่ อบบางตอ่ การ
ถูกทาลาย ยอ่ มส่งผลดกี วา่ การปล่อยใหน้ ักทอ่ งเท่ยี วเดนิ เหยยี บยา่ ไปทว่ั บรเิ วณ ซ่ึงจะส่งผลกระทบใน
บริเวณกวา้ ง การกาหนดพืน้ ท่ีบางบริเวณเป็นบริเวณท่ใี ช้ประโยชน์ ก็จะเกดิ ผลกระทบทางสง่ิ แวดล้อม
เฉพาะในบริเวณที่มีการใชป้ ระโยชน์ ในขณะท่บี างบรเิ วณมีการปกป้องไว้ยงั คงสภาพธรรมชาติไว้ได้

5) ควรมีแผนการลดผลกระทบทางลบต่อวัฒนธรรม/สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรม
ท่องเที่ยวเช่น ขยะและส่ิงปฏิกูลน้าเสีย การส่งเสียงดัง การเก็บสิ่งของไปเป็นสมบัติส่วนตวั เป็นต้น
โดยให้มีการปฏิบัติตามข้อกาหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียว และมีการแจ้งขีด
ความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ยี วให้นกั ทอ่ งเที่ยวทราบลว่ งหน้า

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 17

6) การจดั การผลกระทบจากนักท่องเที่ยว เพื่อปอ้ งกันความเสื่อมโทรมของธรรมชาติควร
จะเรม่ิ จากดทู ีเ่ ปา้ หมายของการจัดการพืน้ ท่ีก่อนว่า เป็นพ้นื ทท่ี ่ตี อ้ งการใชป้ ระโยชน์อยา่ งไรบ้าง เช่น
เพื่อการเก็บรักษา การขยายพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์หรือเพื่อใช้ประโยชน์ในการท่องเที่ยว การเข้าใจถึง
วตั ถปุ ระสงคข์ องการใชป้ ระโยชน์ในแต่ละพ้นื ท่ี เป็นส่งิ จาเป็นสาหรบั การกาหนดมาตรการท่ีเหมาะสม
สาหรับแต่ละพน้ื ท่ี ซึ่งมคี วามแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ และประเภทของการใช้

7) พัฒนาปรับปรงุ ภูมิทัศนบ์ ริเวณชุมชนให้มีความร่มรนื่ เป็นระเบียบสวยงามตามความ
เหมาะสม เช่น การปรับแตง่ ภูมทิ ัศน์ การตัดแตง่ ตน้ ไม้ เป็นต้น ทง้ั น้ี สถานทท่ี อ่ งเที่ยวในชมุ ชนจะตอ้ ง
ได้รบั การปรบั ปรุงภูมิทศั น์ใหม้ คี วามเหมาะสมและกลมกลืนกบั สภาพท้องถิน่ รวมท้ังควรจดั กจิ กรรม
ทานุบารุงภมู ทิ ศั นเ์ พอื่ การท่องเที่ยวในชุมชนอย่างตอ่ เนือ่ ง

8) พฒั นาการจัดการส่งิ แวดล้อมบรเิ วณชุมชนให้สอดคล้องกบั ความเป็นท้องถิน่ โดยเนน้
ให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการสรา้ งและดูแลสภาพแวดล้อมทอี่ ยู่อาศัยของตนอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้การ
พัฒนาภูมิทัศน์ของแหล่งท่องเทยี่ วชุมชน นอกจากจะมีผลต่อการสร้างเสริมอัตลกั ษณ์ให้กับชุมชน
และส่งเสริมการรักษาคุณค่าทางสังคมวัฒนธรรมท้องถิ่นแล้ว ยังนับเป็นสื่อสร้างความรว่ มมือของ
ชุมชนได้อยา่ งประสบความสาเร็จอีกดว้ ย

9) จัดทาข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมในชุมชน โดยมีการสืบค้นและ
รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมในชุมชน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติใน
ทอ้ งถิน่ พืชทอ้ งถิ่น ส่งิ ปลูกสร้างต่างๆ เปน็ ต้น ใหเ้ ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรอยา่ งชดั เจน

10) คัดเลือกข้อมูลทรัพยากรธรรมชาตหิ รือสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เหมาะสมและน่าสนใจ
เพ่ือนามาใช้ในการท่องเที่ยวของชุมชน โดยจัดทาสื่อความหมายข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติหรือ
สิ่งแวดล้อมในชุมชนให้นักท่องเที่ยวได้ทราบ รวมท้ังพิจารณาทบทวนข้อมูลเก่ียวกับทรัพยากร
ธรรมชาตหิ รือสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชนใหม้ คี วามถูกต้องสมบูรณ์เปน็ ประจาทุกปีอยา่ งตอ่ เนื่อง

11) เรง่ อนุรักษ์ฟนื้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาตหิ รือส่ิงแวดล้อมในชุมชน โดยใหช้ าวบ้านในพื้นที่
รับรู้และเข้าใจถงึ ความสาคัญของการอนุรกั ษ์ฟื้นฟู โดยให้มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม รวมท้ัง
รว่ มกบั ภาคตี า่ งๆทเ่ี ก่ียวขอ้ งดาเนนิ กิจกรรมอนรุ ักษฟ์ น้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาตหิ รือสง่ิ แวดล้อมในชุมชน

12) สรา้ งความตระหนักรูถ้ งึ ความสาคัญของการรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม
ผ่านการท่องเท่ียว ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยว โดยขับเคล่ือน
กิจกรรมการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวรับรู้ถึงความสาคัญในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือ
ส่งิ แวดลอ้ ม

13) สรา้ งความตระหนกั รู้ถึงความสาคญั ของการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
ผ่านการท่องเที่ยวอย่างมีประสทิ ธิ โดยมกี จิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ การอนรุ ักษฟ์ ื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และ
เผยแพรผ่ า่ นการท่องเที่ยวให้ผมู้ าเยอื นและคนในทอ้ งถ่ินปฏิบตั ิโดยทวั่ กัน

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 18

14) การพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชนควรคานึงถึงคุณคา่ ของส่ิงแวดล้อมในแหล่งท่องเทย่ี ว
นัน่ วา่ จะถูกกระทบหรอื ถูกทาลายหรือไม่ โดยแหลง่ ทอ่ งเท่ียวควรระบคุ วามเสยี่ งทางด้านสงิ่ แวดล้อม
และมีระบบในการจัดการความเสี่ยง ซ่ึงจะเป็นแนวทางพิจารณาในการดูแลรักษาคุณค่าของ
ส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ โดยคานึงถึงสงิ่ ปลูกสร้างในแหล่งท่องเที่ยวน้ัน ๆ ว่า มีความกลมกลืนกับ
สภาพแวดลอ้ มของชมุ ชนหรือไม่

15) ควรมีการบริหารจัดการผลกระทบทางลบจากการท่องเท่ียวต่อทรัพยากรธรรมชาติ
ของชุมชน โดยการบริหารจัดการขยะมูลฝอยจากการท่องเท่ียว จากัดหรือลดปัญหาน้า เสียจาก
กิจกรรมการท่องเท่ียวป้องกันมลภาวะต่างๆ จากกิจกรรมการท่องเที่ยว เช่น มลภาวะทางเสียง
มลภาวะทางอากาศหรอื มลภาวะทางแสง เป็นตน้ รวมทงั้ รว่ มมอื กบั ภาคสว่ นตา่ งๆ เช่น กลุ่มท่องเทย่ี ว
คนในชมุ ชน นักท่องเท่ยี ว ในการป้องกนั ผลกระทบทางลบจากการท่องเที่ยวต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มของชุมชน

16) ควรมีการค้นหาแนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนด้วย
กระบวนการมสี ่วนร่วม ซึ่งเปน็ กระบวนการคน้ หารปู แบบภูมิทศั น์ทเี่ หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมและ
ตรงตามความ ต้องการของชุมชนและนักท่องเท่ียว สามารถนามาเป็นแนวทางในการวางแผนการ
พัฒนาและปรบั ปรงุ พ้ืนทใ่ี ห้ใชง้ านได้จรงิ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

17) แหล่งท่องเท่ียวควรมีระบบเครือ่ งมือท่ีจะบ่งชี้ถึงอุปสรรคและโอกาสที่เกี่ยวกับเรอ่ื ง
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ระบบเคร่ืองมือดังกล่าวน้ีจะสนบั สนุนความสามารถในการ
ปรับตัวได้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเพ่ือท่ีจะสามารถพัฒนา จัดต้ัง ออกแบบ และ
จัดการสิ่งอานวยความสะดวกในการท่องเที่ยวให้ถูกต้อง อีกท้ังระบบน้ีจะตอ้ งมีส่วนที่จะก่อใหเ้ กดิ
ความยงั่ ยนื และการฟื้นฟขู องแหล่งทอ่ งเทย่ี วได้

18) ผู้รับผิดชอบการพัฒนาเกี่ยวกับการท่องเท่ียว ควรมีวิธีการบริหารจัดการการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมท่ีมีอยู่ให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพอย่างที่สุด อีกท้ังยังต้อง
คานงึ ถงึ คณุ ค่าของทรัพยากรธรรมชาติหรอื สงิ่ แวดล้อมเหล่าน้นั ท่มี ีปัจจัยสาคญั ประกอบอยู่ ทั้งน้ีการ
พัฒนาน้ันยังต้องคงความเป็นเอกลักษณ์เดิมไว้ให้มากที่สุดและเกิดผลกระทบน้อยท่ีสุด โดยใช้ภูมิ
ปญั ญาพนื้ บา้ นประยุกต์กบั เทคโนโลยีใหม่ ๆ

19) ควรมีการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนให้เป็นเครอื่ งมือในการส่งเสรมิ การจัดการ
ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน โดยสร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชนในการเผยแพร่ภูมิปัญญาในการจัดการ
ทรัพยากร สรา้ งสรรคก์ จิ กรรมการท่องเท่ยี วให้ผมู้ าเยือนมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์สร้างความร่วมมือ
ของหน่วยงานในการ ทา งานเ ป็นพั นธ มิตรร่ ว มกั บชุ มช นใน การ อนุรั กษ์ ทรัพยา ก รธ รรม ชา ติ แ ล ะ
สงิ่ แวดล้อม

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 19

กลำ่ วโดยสรปุ การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบด้านการจดั การทรัพยากรธรรมชาตหิ รือ
สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยง่ั ยนื ควรส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการกาหนด
พ้ืนที่เพื่อการท่องเที่ยว และมีส่วนร่วมในการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเทยี่ ว
พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณชุมชนให้มีความร่มร่ืน เป็นระเบียบ สวยงามตามความเหมาะสม
พัฒนาการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาตหิ รือส่ิงแวดล้อมในชุมชน เผยแพร่ ภูมิปัญญาด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมผ่านการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
หรือส่ิงแวดล้อมในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการผลกระทบทางลบจากการท่องเท่ียวตอ่
ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน และสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของการรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อมผ่านการท่องเท่ียวมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน จึงสรุปการพัฒนา
ศักยภาพชุมชนตน้ แบบดา้ นการจัดการทรัพยากรธรรมชาตหิ รอื ส่ิงแวดล้อมอย่างเปน็ ระบบและยั่งยืน
ได้ ดงั ภาพท่ี 4

กำรพฒั นำศักยภำพ กาหนดพ้นื ทแี่ ละขีดความสามารถรองรับนักท่องเทยี่ ว
ชมุ ชนตน้ แบบ
ดำ้ นกำรจัดกำร พัฒนาปรบั ปรุงภมู ทิ ัศน์บรเิ วณแหล่งทอ่ งเท่ยี วชุมชน

ทรัพยำกรธรรมชำติ จดั ทาขอ้ มูลดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชมุ ชน
หรือสง่ิ แวดล้อมอย่ำง
เป็นระบบและยั่งยนื เ ผ ย แ พ ร่ ภู มิ ปั ญ ญ า ด้ า น ท รั พ ย า กร ธร ร ม ช า ติ ห รื อ
ส่งิ แวดล้อมผา่ นการท่องเที่ยวโดยชุมชน

อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน

ภำพท่ี 4 การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาตหิ รือ
ส่งิ แวดล้อมอยา่ งเปน็ ระบบและยัง่ ยืน

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 20

ปำ้ ยบอกทำงไปวดั ดอยพระฌำน จงั หวดั ลำปำง

รถมำ้ บริกำรนักทอ่ งเที่ยวหนำ้ วดั พระธำตลุ ำปำงหลวง จงั หวดั ลำปำง

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 21

กำรพัฒนำศักยภำพชุมชนตน้ แบบด้ำนคุณภำพกำรบริกำรกำรทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชน
1) การพฒั นาควรเรมิ่ ต้นจากการวัดระดบั ความพึงพอใจในการใหบ้ รกิ ารดา้ นการท่องเที่ยว

ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยมีเครื่องมือในการประเมินความพงึ พอใจของนักท่องเท่ียว เช่น แบบ
ประเมิน สมุดเย่ียม แบบสอบถาม เป็นต้น จากนั้นจึงนาผลการประเมินความพึงพอใจของ
นักท่องเที่ยวมาวิเคราะห์ปรับปรงุ การให้บรกิ ารและกิจกรรมการท่องเท่ียวตามอัตลักษณ์ของชมุ ชน

2) จัดทาป้ายสื่อความหมายต่างๆที่ชัดเจน เพ่ือติดตั้งในจุดที่เหมาะสม โดยให้มีป้ายสอ่ื
ความหมายในจุดท่องเที่ยว มีข้อมูลท่ีถูกต้องชัดเจนกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม พัฒนาเสริมสร้าง
ศักยภาพของนักสื่อความหมายท้องถ่ินที่สามารถถ่ายทอดหรือนาเสนอข้อมูลด้านสังคม วิถีชีวิต
วัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน จัดกิจกรรมถา่ ยทอดทกั ษะ การส่ือความหมายใหร้ นุ่ ต่อไป

3) สนบั สนุนใหม้ ีนักส่ือความหมายท้องถ่นิ และพัฒนาเปน็ นักส่ือความหมายที่สามารถนา
เทย่ี วและถา่ ยทอดเรื่องราวทนี่ า่ สนใจแก่นักท่องเท่ียว เพือ่ ให้นักทอ่ งเที่ยวได้รับความเพลิดเพลิน เกิด
การเรียนรู้ ได้รับประสบการณ์ตรงในชุมชน และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนกับ
นักท่องเทยี่ ว ในขณะเดียวกนั คนในชุมชนก็เกิดความภาคภูมิใจ หวงแหนในทรัพยากรทางธรรมชาติ
และวฒั นธรรมของชุมชน รว่ มรักษาและสบื สานประเพณแี ละวิถดี ้งั เดมิ

4) การพัฒนานกั สอ่ื ความหมายท้องถนิ่ เพ่ือการท่องเท่ียวน้นั สมาชิกในชุมชนควรร่วมกัน
กาหนดเงือ่ นไขการคัดเลอื กผู้ท่ีจะเข้ารบั การพัฒนาเปน็ นักสื่อความหมายดงั กลา่ ว ทั้งด้านอายุ ระดับ
การศึกษา สถานภาพทางสงั คมในชุมชน ระยะเวลาการอยู่อาศยั ในชุมชน บทบาทดา้ นการท่องเท่ียว
ของชุมชน ความรคู้ วามเข้าใจต่อชุมชนและการท่องเทีย่ ว การสื่อสารภาษาไทย และความเตม็ ใจใน
การเข้ารว่ มกจิ กรรม

5) ควรมกี ารจัดอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการพฒั นานักสอ่ื ความหมายการท่องเทย่ี วชมุ ชน โดย
เชญิ มคั คเุ ทศกม์ ืออาชีพมาพัฒนาความรู้ทกั ษะ โดยการบรรยาย การสาธิต เกีย่ วกับคณุ สมบัติของการ
เป็นมัคคุเทศก์ที่ดีเช่น จรรยาบรรณของการเป็นมัคคุเทศก์ การปรับตัวตามสถานการณ์ที่พบใน
ระหวา่ งการนาเทย่ี ว และการสร้างแรงบันดาลใจและปรับเปลี่ยน ทัศนคติเพอ่ื ให้เกิดความกล้าสื่อสาร
กบั นักท่องเที่ยว

6) มุ่งเน้นพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกให้กับนักท่องเท่ียวกลุ่มเฉพาะ เช่น คนพิการ
ผ้สู งู อายุ เพ่อื ให้สามารถเขา้ ถึงจุดท่องเที่ยวต่างๆ ได้ มกี ารจดั อบรมการให้บริการและกิจกรรมการ
ท่องเท่ียวแก่นักท่องเท่ียวกลุ่มเฉพาะ เช่น คนพิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น รวมท้ังควรมีการประสาน
ความรว่ มมอื จากภาคีต่างๆในการจัดหาส่งิ อานวยความสะดวกให้กบั นักทอ่ งเท่ียวกลุ่มเฉพาะดังกล่าว

7) ผสู้ ูงอายมุ กั มีข้อจากดั ในการเดินทาง การเตรยี มความพร้อมในการรองรับตลาดกลุ่มน้ี
จึงควรมีการเตรียมการ โดยเร่งปรับปรุงแ ละติดต้ังราวกันตกในจุดท่ี เสี่ยงต่ อการเดิ นอั นตร า ย แ ก่

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 22

นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ รวมถึงติดต้ังป้ายและสัญลักษณ์ เพ่ือให้ข้อมูลแก่นักท่องเท่ียวผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะในประเดน็ ของปา้ ยเตือนจดุ อันตราย ซ่ึงต้องอยใู่ นตาแหน่งทีม่ องเหน็ ได้ชัดเจนท้งั กลางวัน
และกลางคืน

8) ส่งเสริมการจัดการบริการดา้ นการดูแลผสู้ งู อายุ เป็นกจิ กรรมทีม่ คี วามเก่ยี วข้องกบั การ
ดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ของผสู้ งู อายุ โดยควรมเี จา้ หน้าท่ีคอยดูแลชว่ ยเหลอื อย่างใกล้ชดิ เชน่ การบรกิ าร
จัดส่งอาหาร การบริการทาความสะอาดท่ีพัก การบริการรับส่งตามสถานที่ต่าง ๆ เป็นต้น ท้ังนี้
สาหรับนกั ท่องเท่ียวผู้สูงอายุควรมีการบริการที่อานวยความสะดวกสบายและเสริมสร้างความสุขใน
ชวี ติ ประจาวนั เช่น การบริการสง่ เสริมและรักษาฟ้ืนฟูสขุ ภาพสาหรับกลุ่มผู้สูงอายุทีม่ ีโรคประจาตัว
และผู้ที่ต้องการดูแลรักษาสุขภาพ การบริการท่องเที่ยวและกิจกรรมนันทนาการตามสมรรถนะ
รา่ งกายของผู้สูงอายใุ นแตล่ ะชว่ ง

9) ควรมีการจัดจุดบริการด้านอาหารและเครื่องด่ืมที่ถูกสุขลักษณะและเพียงพอต่อ
นักท่องเท่ียวในชุมชน โดยให้มีบริเวณประกอบและจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มที่สะอาดถูก
สขุ ลักษณะ อุปกรณ์ในการประกอบอาหารและเคร่ืองดื่มสะอาดถูกสุขลักษณะเชน่ อปุ กรณค์ รวั และ
ชดุ ในการประกอบอาหาร เป็นตน้ รวมทง้ั มกี ารจัดเตรยี มอาหารและเครื่องด่มื ไว้บรกิ ารให้เพยี งพอต่อ
จานวนนักทอ่ งเทย่ี ว

10) ควรให้การบริการข้อมูลท่องเท่ียวท่ีมีคุณภาพ ถูกต้อง เข้าถึงง่าย ท้ังนี้ การบริการ
ขอ้ มูลขา่ วสารใหแ้ กน่ ักท่องเที่ยวมีความสาคัญเป็นอย่างมากทีจ่ ะสามารถสร้างความประทับใจให้กับ
นักท่องเทีย่ วได้ เพราะเปรยี บเสมือนการช่วยเหลือ การตอบสนองตอ่ ความต้องการของนกั ทอ่ งเท่ียวที่
รับบรกิ ารใหบ้ รรลคุ วามตอ้ งการได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ การสร้างความประทบั ใจในการบรกิ ารข้อมูล
ข่าวสารการท่องเทยี่ วทด่ี ี ทาใหเ้ กดิ ความไวว้ างใจ ในการใชบ้ ริการในอนาคต รวมไปถึงเดินทางกลับมา
ทอ่ งเทย่ี วในพ้ืนท่ซี า้ อกี

11) จัดสรรจดุ จาหน่ายสนิ คา้ และของที่ระลึกของชมุ ชน มีปา้ ยบอกสถานทีจ่ าหน่ายสินค้า
และของท่ีระลึกในชุมชนท่ีชัดเจน และสังเกตได้ง่าย สินค้าที่จัดจาหน่ายเป็นสินค้าของชุมชนท่ี
สะท้อนอัตลักษณ์ และมีป้ายบอกขอ้ มูลสนิ ค้าและราคาชดั เจน

12) พัฒนาระบบการประสานงานด้านการบริการการท่องเที่ยวของชุมชน โดยมีวิธีหรือ
ขั้นตอนการจองบริการการท่องเที่ยว จัดหาช่องทางและอุปกรณ์ส่ือสารเพ่ือการจองบริการการ
ท่องเทย่ี วทใ่ี ชง้ านไดจ้ ริง และชอ่ งทางการสอ่ื สารภายในกลมุ่ สมาชิกเพอ่ื ประสานงานด้านการบริการ
ให้เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ รวมทั้งมบี ุคลากรท่มี ที กั ษะในการสื่อสารกับนกั ท่องเท่ียวทเี่ พียงพอ

13) เตรียมความพร้อมเร่ืองความปลอดภัยและส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชนโดยมี
เส้นทางและกิจกรรมท่องเที่ยวที่มีความปลอดภัย มีการประเมินความปลอดภัยของเส้นทางและ
กิจกรรมท่องเทย่ี วอย่างสมา่ เสมอ มีการให้ข้อมลู ด้านความปลอดภัยในการใช้เส้นทางท่องเทย่ี วและ

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 23

การเข้าร่วมกจิ กรรมท่องเท่ียว เช่น ปา้ ยบอกทางและปา้ ยเตือนภัยตา่ งๆ ตามเสน้ ทางทอ่ งเท่ียวท่ีเห็น
ได้ชดั เจน และติดตง้ั ในจุดทีเ่ หมาะสม มอี ุปกรณด์ ้านความปลอดภยั ท่จี าเปน็ และสอดคลอ้ งกับสภาพ
เส้นทางและกิจกรรมทอ่ งเท่ียวเพียงพอตอ่ จานวนนักทอ่ งเท่ียวทก่ี าหนดไว้

14) เตรียมความพร้อมแผนรองรับกรณีฉกุ เฉินทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยการประเมินความเสย่ี ง
จากการท่องเท่ียว เช่น อุบัติเหตุจากการใช้ยานพาหนะและการเข้าร่วมกิจกรรมท่องเท่ียว การ
เจ็บป่วยกะทันหันภัยธรรมชาติ เป็นต้น จัดทาแผนรองรบั กรณกี ารจดั การฉุกเฉิน เช่น ข้ันตอนการ
แก้ไขกรณีฉุกเฉิน เบอร์ติดต่อกรณีฉุกเฉิน เป็นต้น ซักซ้อมแผนฉุกเฉินที่เก่ียวข้องกับความเส่ยี งจาก
การท่องเทีย่ วอยา่ งต่อเนื่อง และจดั กจิ กรรมฝึกอบรมให้ความรูแ้ ละทักษะบุคลากรที่รบั ผดิ ชอบด้าน
การรองรบั กรณฉี กุ เฉนิ

15) พัฒนาระบบความปลอดภัยและสุขอนามัยในแหล่งท่องเที่ยว โดยการสนับสนุน
เครื่องมือและอุปกรณ์ เพ่ือป้องกันและช่วยเหลือนักท่องเที่ยว ได้แก่ กล้องวงจรปิด การติดตง้ั ไฟใน
สถานท่ีท่องเที่ยว อุปกรณ์ช่วยเหลือนักท่องเท่ียวเบื้องต้น จัดต้ังศูนย์ช่วยเหลือนักท่องเที่ยวให้
ครอบคลมุ ทกุ พ้ืนทีท่ ่องเทย่ี ว

16) เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ผู้ประสานงานในกรณีฉุกเฉินซึ่งเป็น
บุคลากรท่พี ร้อมให้บริการให้กรณีฉุกเฉิน มีเบอรต์ ิดต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในกรณฉี ุกเฉิน จัดระบบ
การส่งต่อผู้ประสบภัย/ผู้ป่วย ไปยังภาคเี ครอื ข่ายหรือหน่วยงานท่ีมคี วามเชี่ยวชาญหรือมืออาชีพใน
การแก้ไขปญั หาอันเกิดจากกรณฉี กุ เฉนิ เชน่ หนว่ ยกู้ภัย โรงพยาบาล คลนิ กิ เปน็ ต้น

17) ยกระดับคณุ ภาพการบริการโฮมสเตย์ โดยพัฒนาเจา้ บ้านเพอื่ เสริมสรา้ งความรู้ความ
เข้าใจในการประเมนิ ความสามารถรองรับนักท่องเทีย่ วตามศกั ยภาพ และเทคนคิ การให้บริการท่ีสรา้ ง
ความประทบั ใจแก่ผใู้ ช้บริการ การสร้างความสมั พนั ธแ์ กน่ กั ท่องเทยี่ ว การสรา้ งความประทบั ใจในวิถี
ชุมชนแก่นักท่องเท่ียว การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานงานบริการเพ่ือพัฒนาเจา้ บ้าน และ
บคุ ลากรผูใ้ ห้ บรกิ ารให้มีความรูค้ วามสามารถ รวมทั้งทกั ษะงานบริการ

18) จัดใหม้ รี ะบบและมีมาตรฐานท่ีสามารถควบคุมการปฏิบตั ิงานของผู้ประกอบการชุมชน
ซ่งึ จะช่วยให้สามารถควบคุมการปฏบิ ตั งิ านและปอ้ งกนั ข้อผิดพลาดท่อี าจจะเกิดขน้ึ ได้ โดยสามารถนา
หลกั การนไ้ี ปปรับใช้กบั การบริการในทุกรูปแบบของชุมชน ทงั้ นี้ควรทาความเข้าใจกบั ความต้องการ
ของลูกค้าหรือนักท่องเท่ียวว่า มีความคาดหวังหรือมีความตอ้ งการท่จี ะได้รับการบริการอะไร แล้ว
นามาปรบั กระบวนการในการใหบ้ รกิ ารใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการนั้น

19) พัฒนาการบริการให้เป็นรูปธรรมโดยเน้นลักษณะทางกายภาพท่ีปรากฏใหเ้ ห็น เชน่
สถานที่ เครอื่ งมือและอุปกรณต์ า่ งๆ วัสดุ บคุ ลากร สัญลกั ษณแ์ ละเอกสารท่ใี ช้ในการติดต่อ สอ่ื สาร
รวมท้ังสภาพแวดล้อมทผ่ี ูใ้ ห้บรกิ ารตง้ั ใจนาเสนอออกมาเปน็ รูปธรรม เพือ่ ให้ผรู้ บั บรกิ ารรับรถู้ ึงบรกิ าร
น้ันไดช้ ัดเจนขึ้น รวมทัง้ การใหค้ วามเชื่อมัน่ ต่อลูกคา้ ท้งั นี้ความสามารถในการสรา้ ง ความเชื่อม่ันให้

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 24

เกิดกับผู้รับบริการผู้ให้บริการ จะต้องแสดงถึงทักษะความรู้ความสามารถในการให้บริการและ
ตอบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ ารดว้ ยความสภุ าพ นมุ่ นวล มกี ิริยามารยาททดี่ ี

20) พัฒนากระบวนการบริการของผู้ให้บริการในชุมชน โดยต้องมีความสุขุมละเอียด
รอบคอบในการทางาน มีความรับผิดชอบต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย มีความเต็มใจในการใหบ้ รกิ าร
ลูกคา้ ทกุ คนอย่างเท่าเทียมกัน มีความซือ่ สัตยส์ ุจริต มีทัศนคติท่ีดใี นการทางาน และสามารถบริหาร
จัดการปริมาณงานทม่ี ากได้ทันเวลาและมปี ระสิทธภิ าพ

กล่ำวโดยสรุป การพัฒนาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบดา้ นคุณภาพการบริการการท่องเท่ยี ว
โดยชุมชน ควรพัฒนานักสือ่ ความหมายมปี ระสิทธิภาพสามารถถา่ ยทอดหรือนาเสนอข้อมูลต่างๆใน
ชมุ ชนได้ พัฒนาสง่ิ อานวยความสะดวกให้กับนักทอ่ งเท่ียวกล่มุ เฉพาะ เชน่ คนพกิ าร ผู้สงู อายุ เพ่ือให้
สามารถเขา้ ถึงจดุ ทอ่ งเท่ียวต่างๆได้ พฒั นาบรกิ ารห้องนา้ ทสี่ ะอาดและเพียงพอต่อนกั ท่องเที่ยว จดั ต้งั
จุดบริการด้านอาหารและเครื่องดื่มท่ีถูกสุขลักษณะและเพียงพอต่อนักท่องเท่ียว บริการข้อมูล
ท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพ ถูกต้อง เข้าถึงง่าย จัดสรรจดุ จาหน่ายสินคา้ และของที่ระลึกของชุมชน ติดตั้ง
ป้ายสื่อความหมายทีช่ ัดเจนในจุดท่ีเหมาะสม ตดิ ต่อประสานงานด้านบริการมีประสิทธภิ าพ พัฒนา
เสน้ ทางและกจิ กรรมท่องเทยี่ วมคี วามปลอดภยั ทาให้ชมุ ชนมเี สน้ ทางการเดินทางทอ่ งเที่ยวในชุมชนที่
ปลอดภัย และพัฒนาการบริหารจัดการกรณฉี กุ เฉินมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ จงึ สรุปการพัฒนาศกั ยภาพ
ชมุ ชนตน้ แบบด้านคุณภาพการบรกิ ารการทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชนได้ ดังภาพที่ 5

พฒั นาสง่ิ อานวยความสะดวกนักทอ่ งเทย่ี วกล่มุ เฉพาะ

กำรพฒั นำศักยภำพ บรกิ ารขอ้ มูลท่องเที่ยวชุมชนที่ถูกต้อง เข้าถึงง่าย
ชมุ ชนต้นแบบด้ำน กลไกตดิ ต่อประสานงานด้านบรกิ ารมีประสทิ ธิภาพ
คุณภำพกำรบริกำรกำร พัฒนาเสน้ ทางและกิจกรรมทอ่ งเทยี่ วมีความปลอดภัย
ทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน

พัฒนาระบบการบริหารจัดการกรณีฉุกเฉินให้
มีประสทิ ธภิ าพ

ภำพที่ 5 การพัฒนาศักยภาพชุมชนตน้ แบบด้านคณุ ภาพการบริการการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 25

กำรพัฒนำศกั ยภำพชุมชนต้นแบบด้ำนกำรส่งเสรมิ กำรประชำสัมพนั ธ์และกำรทำงำนรว่ มกัน
1) การทางานรว่ มกันระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการ ควรมีการจัดทาข้อตกลงร่วมกัน

ระหว่างชุมชนกับผู้ประกอบการนาเท่ียว ร่วมมือกันสนับสนุนชุมชนในการพัฒนาขีดความสามารถ
ด้านการบรกิ ารการท่องเทยี่ วโดยชุมชน และขับเคลือ่ นการดาเนนิ งานของผู้ประกอบการกบั ชมุ ชนเพ่ือ
การอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟูทรพั ยากรท้องถ่นิ ใหค้ วามรดู้ ้านการบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมและลดผลกระทบท่ี
อาจเกดิ ขนึ้ ในชมุ ชน

2) ผปู้ ระกอบการควรสง่ เสริมการใช้และการซ้ือผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารในท้องถิน่ โดยจัดทา
ข้อตกลงรว่ มกบั ชุมชนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน และให้ขอ้ เสนอแนะกบั ชมุ ชนในการ
บริการเพื่อใหช้ ุมชนมรี ายได้เพิม่ มากขึน้ รวมทงั้ ควรจดั ทาการตกลงกบั ชมุ ชนเรื่องขดี ความสามารถใน
การรองรับของพ้ืนที่ และการปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณการใหบ้ ริการการท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน

3) ยกระดบั การประชาสมั พันธก์ ารทอ่ งเท่ยี วทมี่ ีประสิทธิภาพ โดยเปน็ การประชาสัมพันธ์
ผ่าน เว็บไซต์ ทั้งนี้เว็บไซต์ท่ีได้รับความนิยมในปัจจุบัน คือ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม ซึ่งสามารถใช้
คน้ หาเพื่อนในอดีต ตดิ ตามเพอื่ นในปัจจุบนั สรา้ งมติ รภาพกบั เพอื่ นในชีวิตจริงผ่านกลุ่มคนทีม่ ีความ
สนใจรว่ มกนั สมาชกิ ในเครือขา่ ยสงั คมยังสามารถแลกเปลี่ยนความคดิ สร้างกลมุ่ และเวทแี สดงความ
คิดเห็น ตัวอย่างเว็บไซต์เครอื ข่ายทางสังคม เช่น Facebook Twitter YouTube และ Wikipedia
เปน็ ตน้ 4) จัดทาสื่อต้นแบบชุดส่ือมัลติมีเดียประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ภายใต้แนวคิดการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชน ประกอบด้วยส่ือแผ่นพับแผนที่อินโฟกราฟิก และสื่อวีดีโอประชาสัมพันธ์การ
ท่องเที่ยว โดยมีองค์ประกอบสาคัญ คือ แผนที่อินโฟกราฟิก กราฟิก ภาพถ่าย ไอคอน โลโก้
ตวั หนงั สอื วดี โี อ เสียง และเชื่อมต่อกนั โดยใชค้ ิวอาร์โค้ดผ่านสื่อแผ่นพับแผนท่อี นิ โฟกราฟิก

5) สร้างความร่วมมือกับภาคเี ครือขา่ ยการทอ่ งเที่ยว ในการพัฒนารปู แบบการส่ือสารเพื่อ
ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนให้ดีย่ิงข้ึน โดยผลิตรูปแบบส่ือประชาสัมพันธ์
สง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วให้กบั ชุมชนไดต้ รงกับกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เน้นสอื่ วดี ิทศั น์เผยแพร่
เร่อื งราววถิ ีชวี ติ ของชมุ ชน เพอ่ื เผยแพร่ในส่อื สงั คมออนไลน์ และส่อื สิ่งพมิ พ์ ในลักษณะแผน่ พบั เพื่อ
ประชาสัมพันธเ์ ส้นทางการทอ่ งเทีย่ วทีน่ ่าสนใจของชมุ ชนในพ้ืนท่ี

6) เพ่ิมส่ือและข้อมูลของแหล่งท่องเท่ียวแต่ละแห่งให้มากขึ้นและทันสมัย จัดทาป้าย
ประชาสมั พนั ธท์ ี่นาเสนอเอกลกั ษณ์ทเี่ ปน็ สัญลักษณ์ของแหล่งท่องเท่ียวชมุ ชน เนน้ ส่อื ประชาสมั พันธ์
ในรูปแบบเว็บไซต์ โดยมีบุคลากรที่มคี วามชานาญและมคี วามสามารถในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นผู้ดูแลและดาเนนิ การ อีกท้ัง ควรสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิถีชีวิตของคนในชมุ ชนใหส้ ามารถเป็นส่ือ
ทางวฒั นธรรมที่ช่วยประชาสัมพันธก์ ารทอ่ งเท่ยี วได้

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 26

7) ผู้ประกอบการนาเท่ียวและชุมชน ควรทางานร่วมกันในการนาเสนอรูปแบบการ
ทอ่ งเที่ยวที่เน้นให้นักเดินทางมีส่วนร่วมกบั ชุมชนมากขึ้น เพราะผู้คนเร่ิมมองหาประสบการณ์อันน่า
ประทับใจจากการเดนิ ทางมากกว่าเดมิ ไม่ใชเ่ พยี งคน้ หาจุดหมายปลายทางใหม่ ๆ เท่านั้น แตเ่ ปน็ การ
ออกเดนิ ทางเพอื่ คน้ หาอตั ลกั ษณ์ของทอ้ งถน่ิ

8) ควรมีการขับเคล่ือน Local Love ซ่ึงเป็นเทรนด์การทาธุรกิจทผ่ี ู้ประกอบการท้องถ่นิ
จะต้องมาให้ความสาคญั กับการทางานร่วมกับชุมชนมากขึ้น เพื่อโปรโมทอัตลักษณ์ของชุมชนให้มี
ความนา่ สนใจและเป็นท่ีรู้จักของคนภายนอก เชน่ กจิ กรรมประเพณที ่ีสบื ทอดกนั มารุ่นส่รู ุ่น ผลิตภณั ฑ์
ท่ไี ดจ้ ากวัตถดุ ิบและแรงงานฝีมือในท้องถิน่ รวมไปถงึ การสนับสนุนธุรกจิ ขนาดเล็กในชุมชนให้เติบโต
ซึง่ ถอื เป็นกุญแจสาคัญทจี่ ะช่วยฟน้ื ฟูเศรษฐกิจการทอ่ งเทย่ี วภายใตส้ ถานการณ์โควิด-19

9) ผปู้ ระกอบการกับชุมชนควรร่วมกนั จดั แคมเปญ “Support Local” เพื่อสนบั สนุนให้
ผ้คู น “แสดงความรกั ต่อคนในท้องถ่นิ ” รวมไปถงึ ปลูกฝังความภาคภูมิใจในสถานทีข่ องคนในชุมชน
ดว้ ยการสร้างสรรคว์ ธิ กี ารเชอื่ มตอ่ กับธุรกิจขนาดเลก็ แบบไมเ่ หมือนใคร และทาใหส้ ถานทีท่ อ่ งเทย่ี วใน
ชุมชนมีความพิเศษขน้ึ โดยแคมเปญน้ไี ม่เพยี งแตน่ าเสนอโลกใบใหมใ่ ห้กับนักท่องเที่ยวที่อยนู่ อกพ้ืนท่ี
ได้เขา้ มาสมั ผสั เทา่ นัน้ แต่ยงั ชว่ ยกระตุ้นเศรษฐกิจท้องถน่ิ

10) ผู้ประกอบการทอ่ งเทยี่ วกับชมุ ชนควรสนบั สนนุ การให้บริการแกน่ กั ทอ่ งเท่ยี ว โดยเป็น
ผู้ให้ข้อมูลและอานวยความสะดวกโดยตรงแก่นักท่องเที่ยว เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รับความรคู้ วาม
เข้าใจ ได้รบั ความสะดวกสบายในการท่องเที่ยว โดยผปู้ ระกอบการท่องเทย่ี วชมุ ชนควรทาหนา้ ท่ีเสนอ
การผลติ ภัณฑ์และบริการท่ดี ีของชมุ ชน และตอบสนองความต้องการของนักท่องเทีย่ วใหไ้ ด้รับความ
พึงพอใจสงู สดุ จนนาไปสู่การแนะนาบอกต่อผูอ้ นื่ และเข้ามาท่องเท่ียวซา้ ในอนาคต

11) พัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการท่องเที่ยวชุมชน ท้ังด้านความรู้เก่ียวกับการ
ท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมของชุมชน ความรู้ทางด้านภาษาสาหรับการส่ือสารกับนักท่องเที่ยว ด้าน
ทกั ษะ ด้านทศั นคติ ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ และด้านจริยธรรม เนอื่ งจากศกั ยภาพของผู้ประกอบการชุมชน
เป็นความพร้อมเบ้ืองต้นในการดาเนินงานด้านการท่องเที่ยวชุมชน หากชุมชนมีความพร้อมใน
ศักยภาพในระดับดี ย่อมทาให้การดาเนินงานด้านการท่องเท่ียวชุมชนเป็นไปไดอ้ ย่างราบร่ืนและ
นาไปสู่ความสาเร็จได้

12) พัฒนาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้ประกอบการด้านการท่องเท่ยี วและผู้ประกอบการภาค
ส่วนอ่ืน โดยร่วมมือร่วมใจผ่านแนวคิดของ “วัด–บ้าน–ชุมชน และผู้ประกอบการ” ที่มีวัดเป็น
ศนู ยก์ ลางใน การรวมตวั ของเครอื ขา่ ยผู้ประกอบการในชมุ ชน และพฒั นาความสมั พันธ์ของเครือข่าย
ผู้ประกอบการในชุมชน เช่น การจัดชมรม สมาคม หรือการพบปะในกลุ่มผู้ประกอบการแต่ละ
ประเภท หรือการจดั ทาชอ่ งทางสาหรบั โซเชียลมเี ดยี ในกลมุ่ ผู้ประกอบการ

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 27

13) มงุ่ ชวู ถิ ชี ีวติ ความเปน็ อยู่ของชุมชน ประเพณีวัฒนธรรมไทยทเ่ี ปน็ อัตลกั ษณแ์ ละเปน็ จุด
แขง็ ของทรพั ยากรการท่องเท่ียวของชุมชน ใหเ้ ป็นผลติ ภณั ฑ์ทางตลาดท่ีสร้างรายได้มผี ลตอบแทนทาง
เศรษฐกิจ ขณะเดียวกันการดาเนินการต่างๆต้องไม่ขัดแย้งกับวิถีชุมชนด้ังเดิม ชาวบ้านหรือ
ผู้ประกอบการในชมุ ชนควรอยรู่ ่วมกันอยา่ งสงบสขุ ไม่สรา้ งความเดอื ดรอ้ นซง่ึ กนั และกัน

14) ชุมชนควรทางานร่วมกับผู้ประกอบการนาเทย่ี วภายนอก โดยสร้างชุมชนเป็นแหลง่
ท่องเที่ยวและการค้าขายสินค้าในชุมชน โดยใช้เสน่ห์ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคดิ
สร้างสรรค์เพ่ือแปลงเป็นรายได้กลับเข้าสู่ชุมชน รวมถึงเช่ือมโยงเส้นทางท่องเที่ยวระดับชุมชนทีม่ ี
เสน่ห์ เพิ่มคุณค่าท่ีสามารถดงึ ดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเย่ียมเยือนและใชจ้ า่ ยเงินในทุกกิจกรรมของ
ชมุ ชน รวมถึงการสนบั สนุนผู้ประกอบการท่องเท่ียวชุมชนรนุ่ ใหม่ ให้สามารถพฒั นาความสามารถใน
ดา้ นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการท่องเท่ียวของชุมชนบนแพลตฟอรม์ ออนไลน์

15) ชมุ ชนและผ้ปู ระกอบการท่องเที่ยว ควรเตรยี มความพรอ้ มรบั มอื กับการบรหิ ารจดั การ
แหล่งท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม
ตลอดจนการใหช้ มุ ชนทอ้ งถน่ิ เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั การทอ่ งเท่ียว และการกระจายรายไดจ้ ากการ
ท่องเท่ยี วไปสชู่ ุมชน โดยมีการยกระดบั มาตรฐานคณุ ภาพการใหบ้ ริการ และเตรยี มความพร้อมใหก้ ับ
ผปู้ ระกอบการด้านการท่องเท่ียว เพือ่ พัฒนาและสร้างขีดความสามารถทางการท่องเที่ยวของชุมชน

17) ผ้ปู ระกอบการและชมุ ชนต้องมีการปรับตวั ให้เขา้ กบั ระบบเศรษฐกิจหมนุ เวียน เร่มิ จาก
การคิดออกแบบหมุนเวียนอย่างครบวงจรสาหรับภาคการท่องเท่ียวและบริการ ต้ังแต่ระบบการ
เดินทาง กิจกรรม อาหาร ที่พกั ของชาร่วย หรอื สนิ คา้ สาหรับจาหน่ายใหก้ ับนักท่องเท่ยี ว ตอ้ งคานงึ ถงึ
การออกแบบบนพ้ืนฐานอัตลกั ษณ์ชุมชนของแต่ละพืน้ ท่ี นาของเหลอื มาใชห้ มุนเวยี นเพ่ิมมลู คา่ ใหเ้ ป็น
สินคา้ ใหม่ ช่วยใหเ้ กดิ การสร้างงาน สรา้ งอาชีพในชมุ ชน ซ่ึงกลไกเหล่าน้ตี อ้ งอาศยั ความร่วมมอื จากทกุ
ฝ่าย เพ่ือยกระดับการท่องเท่ยี วของชุมชนสรู่ ะบบเศรษฐกิจหมนุ เวยี น

18) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมโดยมุ่งเน้นการท่องเท่ียวที่สร้างการเติบโตในทุกมิติท่ีคนใน
สงั คมมีสว่ นร่วมและไดป้ ระโยชนร์ ่วมกนั เชน่ การทาให้คนในพน้ื ทไ่ี ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการท่องเที่ยว
ท้ังทางตรงและทางอ้อม การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน และการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ
ท่องเทย่ี วใช้วตั ถุดิบจากในพ้นื ที่ใกลเ้ คยี งกระตุ้นเศรษฐกจิ ในพ้นื ทแ่ี ละสรา้ งการจ้างงาน เป็นต้น

19) พฒั นาส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว โดยเน้นการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนเพ่ือสร้างการท่องเท่ียว
ชุมชนอย่างยั่งยืน และควรขยายความร่วมมือโดยตรงกับพันธมิตรภาคการท่องเที่ยวและชุมชนใน
จังหวัด เพื่อต่อยอดสร้างการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมท้องถ่ินวิถีใหม่ เพื่อกระตุ้นการท่องเท่ียวใน
ประเทศ ซ่ึงเป็นทางรอดสาหรับสู้วิกฤติโควิด หวังสร้างโอกาสและรายได้ไปพร้อมกับชุมชนและ
ชาวบา้ นผ่าน 3 โมเดลทต่ี ้องอาศยั ทงั้ ความร่วมมอื การผสมผสาน และการเก้ือกลู กันและกนั

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการท่องเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 28

20) ควรวางแนวทางให้เจา้ ของชมุ ชนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและนาเท่ียวโดยชุมชน
ซึ่งเป็นการส่งเสริมการสร้างรายได้ร่วมกันภายใต้กรอบธุรกิจเพ่ือสังคม โดยการนาเสนอแพคเกจ
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนในการเปิดพื้นที่ทอ่ งเทยี่ วใหม่ๆ สนบั สนนุ และถา่ ยทอดองค์ความรู้
กับคนในชุมชนในการรับมือกับนักท่องเท่ียว และให้คาแนะนาในการวางระบบการทางานเพื่อ
ยกระดับการบรกิ ารให้ไดม้ าตรฐาน

กล่ำวโดยสรุป การพฒั นาศักยภาพชุมชนต้นแบบด้านการสง่ เสริมการประชาสัมพันธ์และ
การทางานร่วมกัน ควรจัดทาข้อตกลงร่วมกันสาหรับการท่องเท่ียวโดยชุมชน เพ่ือเปิดโอกาสให้
นกั ท่องเทีย่ วมีประสบการณต์ รงกับชมุ ชนและสนับสนุนชุมชนในการพฒั นาขีดความสามารถดา้ นการ
บริการการท่องเท่ียว ส่งเสริมการดาเนินงานของผู้ประกอบการเพ่ือการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูทรัพยากร
ท้องถ่ิน ส่งเสริมการใช้และการซื้อผลิตภัณฑ์และบริการในท้องถิน่ ให้ข้อเสนอแนะกับชุมชนในการ
บริการเพอื่ ใหช้ มุ ชนมรี ายไดเ้ พิ่มมากขึ้น ส่งเสรมิ การบริการของผปู้ ระกอบการนาเที่ยวตอ่ ชุมชน โดย
ส่งมอบประสบการณ์ท่ีดีแก่นักท่องเที่ยวและชุมชน ส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการเพ่ือ
ประชาสมั พนั ธ์การท่องเท่ียวโดยชุมชน โดยการมอบประสบการณ์นาเทยี่ วทด่ี ีใหแ้ ก่นกั ทอ่ งเทีย่ ว และ
การสอื่ ความหมายทางวัฒนธรรมประเพณีและทรัพยากรท้องถ่นิ ของพนักงานบริษัทนาเท่ียว ดงั นัน้
จึงสรุปการพัฒนาศักยภาพชุมชนตน้ แบบด้านการส่งเสรมิ การประชาสมั พันธแ์ ละการทางานร่วมกัน
ได้ ดงั ภาพที่ 6

จัดทาข้อตกลงร่วมกันสาหรับการทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชน

กำรพฒั นำศักยภำพชุมชน สง่ เสรมิ การใช้ การซอื้ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารในท้องถิน่
ตน้ แบบด้ำนกำรส่งเสรมิ
กำรประชำสัมพนั ธ์และ สง่ เสรมิ การขายของผู้ประกอบการเพอื่ ประชาสมั พันธ์

กำรทำงำนรว่ มกัน ส นั บ ส นุ น ชุ ม ช น ใ น ก า ร พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ดา้ นการบรกิ ารท่องเทย่ี ว

ส่งเสริมการบริการของผู้ประกอบการนาเท่ียวต่อ
ชุมชน

ภำพที่ 6 การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนต้นแบบดา้ นการส่งเสริมการประชาสัมพันธแ์ ละทางานร่วมกนั

การพฒั นาศกั ยภาพชุมชนตน้ แบบการท่องเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 29

บทสรปุ

ศักยภาพของชุมชนมีความสาคัญต่อการจัดการและการพัฒนาเพือ่ ยกระดับการจัดการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ซึ่งเกณฑ์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของ
ประเทศไทย ถอื เป็นเครือ่ งมอื ที่สาคญั ทีช่ มุ ชนสามารถใช้ตรวจสอบเพอ่ื ตดิ ตาม หรอื ตรวจประเมนิ การ
ทางานของตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง ทั้งน้ี แม้วา่ จะเปน็ ชุมชนทีม่ คี วามพร้อมแล้ว สามารถบริหารจัดการ
หรือรองรับนักท่องเที่ยวได้แล้ว ก็จาเป็นท่ีจะต้องมีกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ไม่มีที่สิ้นสดุ
เพื่อให้เกิดความย่ังยืน โดยสามารถพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้สอดคล้องตามกระบวนการ
พฒั นาการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน

การพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวน้ัน จึงควรเน้นพัฒนาให้เป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวชุมชนที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีท้องถ่ินท่ีโดดเด่น มีความพร้อมในการ
พัฒนา ชุมชนสามารถรวมกลมุ่ กนั ได้อย่างเข้มแขง็ โดยการนาของผู้นาชุมชนและผู้มีส่วนเกย่ี วข้องใน
พื้นท่ี มีสถานที่ท่องเท่ียวและกิจกรรมการท่องเท่ียวภายในชมุ ชนที่มคี วามพร้อมสาหรับการตอ้ นรับ
นักท่องเที่ยว รวมทง้ั คนในชมุ ชนมีพน้ื ฐานองค์ความรูใ้ นวฒั นธรรมประเพณีของชมุ ชนเปน็ อย่างดี และ
สามารถถ่ายทอดให้นักท่องเท่ียวรับรู้ได้ นอกจากน้ีกลุ่มสมาชิกและผู้ประกอบการท่องเท่ียวควร
ดาเนินการขับเคล่ือนกจิ กรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการบริหารการจดั การ เนน้ การมีสว่ นร่วมของ
ชาวบ้าน อาศัยการรว่ มแรงร่วมใจของคนในชมุ ชน รว่ มกนั สง่ เสริมอนุรักษ์ รวมถึงการสรา้ งจิตสานึก
และความรบั ผดิ ชอบต่อทรัพยากรวัฒนธรรม ประเพณี วถิ ชี วี ติ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เพอ่ื ใหน้ กั ท่องเที่ยว
เกิดกระบวนการเรียนรู้ และได้ตระหนักรับรู้ เข้าใจต่อวิถีชีวิตภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอันเป็น
เอกลักษณ์เฉพาะชุมชนท้องถ่ิน อีกทั้งคนในชุมชนยังเกิดความภาคภูมิใจในถิ่นฐาน สามารถพง่ึ พา
ตนเอง และเช่ือม่ันในศักยภาพของตน จนเกิดเป็นการท่องเท่ียวโดยชุมชน สามารถพัฒนาใหเ้ ป็น
แหลง่ ท่องเทยี่ วชมุ ชนเชิงสร้างสรรค์ได้อยา่ งยง่ั ยืน เป็นต้นแบบชมุ ชนเชิงสร้างสรรค์ให้กบั ชุมชนการ
ทอ่ งเท่ยี วอื่น ๆ ดังนัน้ ศักยภาพของ CBT จะตอ้ งต้ังอยูบ่ นพน้ื ฐานนิเวศวฒั นธรรมท้องถิ่น ทาให้เกดิ
การแลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกนั มีการบริหารจัดการในรูปแบบท่ีเหมาะสมกบั บริบทและสถานการณ์ใน
ปจั จบุ นั โดยมีองคป์ ระกอบท่สี าคัญคือ ศกั ยภาพของคน ศกั ยภาพของพื้นท่ี การจดั การและการมสี ว่ น
ร่วม ส่ิงดึงดูดใจและการบริการ กิจกรรมการท่องเที่ยว ส่ิงอานวยความสะดวก องค์กรชุมชนและ
เจ้าของภูมิปัญญา การสร้างการเรียนรู้ คุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของชุมชน การตลาดและการ
ประชาสมั พันธ์ รวมทงั้ เครือข่ายและกลไกการประสานงาน ดังภาพที่ 7

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกลุ มหาวโี ร, ผศ.ดร. 30

ภำพที่ 7 การพฒั นาการจดั การทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชนเพอ่ื ขบั เคล่อื นและยกระดับการท่องเที่ยว

การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนต้นแบบการทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศาสนาและวปิ ัสสนากรรมฐาน : พระมหาสกุล มหาวโี ร, ผศ.ดร. 31


Click to View FlipBook Version