เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 1
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พิษณโุ ลก
2 เอกสารประกอบการเรยี น ชดุ อารยธรรมโบราณ
คำ� น�ำ
เอกสารประกอบการเรยี น “ชดุ อารยธรรมโบราณ” รายวชิ า อารยธรรมโลก ส ๓๐๑๐๕ สาระประวตั ศิ าสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ส�ำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เล่มนี้
จดั ทำ� ขน้ึ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และหลกั สตู รโรงเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ภูมิภาค ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศักราช ๒๕๕๔ (ฉบบั ปรบั ปรุงพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗) โดยมี
เปา้ หมายใหค้ รแู ละนกั เรยี นใชเ้ ปน็ สอื่ ในการจดั การเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นานกั เรยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสำ� คญั ตามอุดมการณแ์ ละเป้าหมายในการพฒั นานักเรียนตามจดุ เน้นของหลักสตู รโรงเรียน
วทิ ยาศาสตรภ์ ูมภิ าคซ่งึ เปน็ พนั ธกจิ ทีส่ ำ� คัญ
ดังน้ัน เอกสารประกอบการเรียนชุดน้ีใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียนการสอนที่เน้นการ
บรู ณาการด้วยรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามวัฏจักรการเรียนรู้ 4MAT เปน็ การเสนอเนื้อหาที่
มุ่งเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำ� คัญโดยค�ำนงึ ถงึ ศักยภาพของนกั เรยี น เนน้ การเรยี นรทู้ ่เี ปน็ องคร์ วมบนพื้นฐานของ
การบูรณาการแนวคิดการเรยี นรอู้ ยา่ งหลากหลาย ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ใช้สมองทุกสว่ นทั้งซกี ซ้ายและขวาในการ
สรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง และมงุ่ พัฒนาการคิด พฒั นาการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั พัฒนาการทางสมอง
ของผเู้ รยี นทม่ี ีลกั ษณะการเรียนรู้แตกต่างกนั ท้ัง ๔ แบบ เพื่อให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพของตนเอง
อย่างเตม็ ท่ี เอกสารประกอบการเรยี นชุดอารยธรรมโบราณ มีท้งั หมด ๖ เลม่ ดังนี้
เลม่ ท่ี ๑ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
เล่มที่ ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์
เล่มที่ ๓ อารยธรรมกรกี
เล่มท่ี ๔ อารยธรรมโรมนั
เล่มท่ี ๕ อารยธรรมอนิ เดยี
เล่มท่ี ๖ อารยธรรมจีน
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลัย พษิ ณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 3
เอกสารประกอบการเรยี น “ชดุ อารยธรรมโบราณ” รายวชิ า อารยธรรมโลก ส ๓๐๑๐๕ สาระประวตั ศิ าสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สำ� หรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เลม่ นเี้ ปน็ เลม่ ท่ี ๒
อารยธรรมอยี ปิ ต์ การจดั ทำ� เอกสารประกอบการเรยี นชดุ นจี้ ดั ทำ� ขนึ้ โดยการประมวลความรจู้ ากหนงั สอื ตา่ งๆ
ท่ีหลากหลายแล้วนำ� มาพัฒนาให้อยู่ในรูปแบบทีเ่ ป็นระบบ เพ่อื ให้ครูผูส้ อนไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการจัด
ประสบการณแ์ ละทกั ษะการเรยี นรแู้ กน่ กั เรยี นใหส้ อดคลอ้ งตามตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู ร มกี จิ กรรมและคำ� ถาม
ทีเ่ น้นให้ผ้เู รยี นสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเอง เนน้ ให้ผู้เรยี นพัฒนาพฤตกิ รรมด้านความรู้ เจตคติ คณุ ธรรม
ค่านิยมและทักษะกระบวนการ เพื่อพัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และได้เรียนรู้ด้วยการ
ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยตนเองตามความสามารถของแตล่ ะบคุ คล และมกี ารวดั ผลประเมนิ ผลดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย
อนั จะสง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมของนกั เรยี น
ใหส้ ูงขน้ึ
ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน
และจะช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรอู้ ย่างสมบูรณ์ พฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมาก
ยิ่งขน้ึ และเพือ่ เปน็ พื้นฐานในการศกึ ษาเรือ่ งอนื่ ๆต่อไปในอนาคต
ษรุ พฐี ์ บญุ คง
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พษิ ณโุ ลก
4 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ ๖
๘
สารบญั ๙
๑๐
คำ� ช้ีแจงเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเรยี น ๑๐
ค�ำชีแ้ จงครู ๑๐
คำ� ช้ีแจงสำ� หรบั นกั เรียน ๑๐
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ัด ๑๑
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑๒
สมรรถนะส�ำคญั ของผเู้ รยี น ๑๔
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ์ ๑๕
ขนั้ ตอนการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ๑๖
แบบทดสอบก่อนเรยี น ๑๗
กระดาษคำ� ตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น ๒๒
เนือ้ หาและกิจกรรม ๒๔
สภาพทีต่ ้ังทางภูมศิ าสตร์ ๓๗
ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การสร้างสรรคอ์ ารยธรรมอยี ิปต์ ๓๘
พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ ๓๙
ความเจรญิ ดา้ นวิทยาการและมรดกส�ำคญั ทางอารยธรรมอียปิ ต ์ ๔๐
กจิ กรรมท่ี ๑ ๔๑
แบบบันทกึ กิจกรรมที่ ๑ ๔๓
แบบบันทึกกิจกรรมท่ี ๒ ๔๔
ใบงานที่ ๑ ๔๕
แบบทดสอบหลงั เรยี น ๔๖
กระดาษคำ� ตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ๔๗
บรรณานกุ รม ๔๘
ภาคผนวก ๔๙
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
เฉลยแบบบันทึกกจิ กรรมท่ี ๑
เฉลยแบบบนั ทกึ กิจกรรมที่ ๒
เฉลยใบงานท่ี ๑
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 5
สารบัญภาพ ๑๖
๑๗
ภาพท่ี ๑๘
๑ แผนทอ่ี ารยธรรมอยี ปิ ต ์ ๑๙
๒ รมิ ฝง่ั แมน่ ้ำ� ไนล์ ๒๐
๓ อารยธรรมอียปิ ต ์ ๒๑
๔ มมั ม ่ี ๒๓
๕ ภาพวาดเกยี่ วกบั ฟาโรห์ในพีระมดิ ๒๓
๖ ดวงตาของเทพฮฮรสั ๒๔
๗ ฟาโรห์ตุตนั คาเมน ๒๕
๘ โครงสร้างทางสงั คมของอียิปต์ ๒๖
๙ ความรดู้ า้ นคณติ ศาสตรข์ องชาวอียปิ ต ์ ๒๖
๑๐ มัมมฟ่ี าโรห์ตตุ ันคาเมน ๒๗
๑๑ การท�ำมมั มร่ี กั ษาสภาพศพไม่ใหเ้ น่าเปอ่ื ย ๒๗
๑๒ โลงศพตตุ ันคาเมน ๒๘
๑๓ อักษรภาพเฮียโรกลฟิ กิ ๒๙
๑๔ อกั ษรภาพเฮียโรกลิฟกิ ๓๐
๑๕ คัมภีร์มรณะ Book of the Dead ๓๐
๑๖ พรี ะมดิ ข้ันบันไดเมืองซกั คาร่า ๓๑
๑๗ พีระมดิ และสฟิงค ์ ๓๒
๑๘ ภายในพีระมดิ ตุตันคาเมน ๓๒
๑๙ วหิ ารอาบซู ิมเบล ๓๓
๒๐ งานประติมากรรมของชาวอียปิ ต ์ ๓๔
๒๑ รูปปั้นสฟงิ ค ์ ๓๔
๒๒ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในสุสาน ๓๕
๒๓ การประกอบอาชพี ของชาวอียิปต ์ ๓๖
๒๔ เมอื งลกั ซอร์และเสาหินโอเบลสิ ก์ (Obelisk)
๒๕ มมั มีแ่ ละรปู ปนั้ ฟาโรห์แหง่ อยี ปิ ต์ท่ีขดุ คน้ พบ
๒๖ มหาพรี ะมิดคูฟูแหง่ เมืองกีซ่า
ษรุ พีฐ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั พิษณุโลก
6 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
ค�ำช้ีแจง
เกี่ยวกับเอกสาร
ประกอบการเรียน
ษรุ พีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั พษิ ณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอียิปต์ 7
เอกสารประกอบการเรียน “ชดุ อารยธรรมโบราณ” รายวชิ า อารยธรรมโลก ส ๓๐๑๐๕ สาระประวตั ศิ าสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ส�ำหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เลม่ น้ีเป็นเลม่ ท่ี ๒
อารยธรรมอียิปต์ ใชเ้ วลาในการศกึ ษาและปฏบิ ัติกิจกรรม ๒ ชั่วโมง มรี ายละเอียดขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการ
เรียนรู้ ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ ๑ ข้ันกอ่ นเรียน ก่อนการศกึ ษาและทำ� กิจกรรมตามแผนการจดั การเรียนรู้ โดยใชเ้ อกสารประกอบ
การเรียนรู้ ที่ไดก้ �ำหนดไวด้ งั นี้
๑.๑ นักเรยี นอ่านหรือฟงั คำ� ช้แี จงการใชแ้ บบฝึกทกั ษะใหเ้ ข้าใจ
๑.๒ นักเรียนศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้
๑.๓ นักเรยี นท�ำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพ่อื ตรวจสอบความร้พู ้ืนฐาน
ข้ันตอนท่ี ๒ ขัน้ ศกึ ษาเนอ้ื หา นักเรียนศกึ ษาเนอื้ หาสาระโดยละเอียดทลี่ ะเร่อื งเรียงตามล�ำดบั
ขนั้ ตอนที่ ๓ ขนั้ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยมวี ธิ ปี ฏบิ ตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบคุ คลและเปน็ กลมุ่ ตามคำ� ชแ้ี จงในใบกจิ กรรม
ที่กำ� หนดไว้ ดังนี้
๓.๑ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เปน็ รายบุคคลและรายกลมุ่ โดยให้นกั เรยี นปฏิบัตกิ จิ กรรมดว้ ยตนเองและชว่ ยกัน
ศึกษาค้นหาความรู้ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเองดว้ ยวธิ กี ารเรียนเปน็ กลุ่ม นักเรียนมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการ
เรยี นรู้ มีการให้ความช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั ในการปฏบิ ัติ กิจกรรมและสรปุ องคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง ชว่ ยสง่ เสรมิ การ
เรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักเรยี น ทำ� ให้นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ซงึ่ กันและกัน ฝกึ การเปน็ ผนู้ �ำและผตู้ ามทด่ี ี
ตลอดจนส่งเสริมการทำ� งานร่วมกันเปน็ กล่มุ รวมทงั้ คำ� นึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
๓.๒ บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในใบงานและใบกิจกรรม
ข้นั ตอนที่ ๔ ทดสอบความรหู้ ลงั เรียน เพื่อทดสอบพัฒนาการความรู้ เปน็ รายบุคคลหลงั การศึกษาใบความรู้
และท�ำกจิ กรรมตามแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นรทู้ ไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้
เอกสารประกอบการเรียน “ชุดอารยธรรมโบราณ” รายวชิ า อารยธรรมโลก ส ๓๐๑๐๕ สาระประวตั ิศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สำ� หรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เล่มนเี้ ปน็ เล่มที่ ๒
อารยธรรมอยี ิปต์ กำ� หนดเกณฑ์การผา่ นการประเมนิ ดงั นี้
๑. นกั เรยี นต้องได้คะแนนประเมนิ หลังเรียนไมต่ �ำ่ กวา่ ร้อยละ ๘๐
๒. ถา้ ได้คะแนนไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ให้กลับไปศกึ ษาและทบทวนความรู้เพม่ิ เติม
ในเอกสารประกอบการเรยี นอกี ครั้งจนกว่าจะไดค้ ะแนนหลังเรยี นไม่ตำ่� กว่า
ร้อยละ ๘๐
๓. นักเรียนต้องไดค้ ะแนนประเมนิ กจิ กรรมและผลงานไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พิษณโุ ลก
8 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
คำ� ชีแ้ จงครู
๑. ศึกษาและท�ำความเขา้ ใจในเนอื้ หา ความรู้ และลำ� ดบั ข้ันตอนในเอกสารประกอบการเรียนให้เขา้ ใจและชัดเจน
๒. ศกึ ษาแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่องอารยธรรมอียปิ ต์
๓. เตรยี มส่อื การสอนทีร่ ะบุไว้ในแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่ืองอารยธรรมอยี ปิ ต์
๔. ก่อนลงมอื สอนหรือปฏิบัติกิจกรรม ครูควรอธิบายให้นักเรยี นทราบถึงจดุ ประสงค์ในการเรียนแต่ละครง้ั เพื่อให้
นกั เรยี นเหน็ ประโยชนแ์ ละคณุ ค่า
๕. ดำ� เนินการสอนตามข้นั ตอนในแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่องอารยธรรมอียปิ ต์
๕. พิจารณา ให้คำ� ปรึกษา แนะนำ� ตามความเหมาะสม แตล่ ะกจิ รรมทมี่ ีเนอื้ หาความยากง่ายแตกต่างกัน
๖. สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองใหม้ ากทส่ี ดุ ใหก้ ำ� ลงั ใจในการฝกึ ความรแู้ ละทกั ษะตา่ งๆ ในการทำ� ใบงาน
การทำ� กิจกรรม การทำ� แบบทดสอบ และเรยี นรทู้ กั ษะที่เก่ียวข้องอย่างสอดคล้องกัน
๗. วดั ผลและประเมนิ ผลตามสภาพจริงตามแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื งอารยธรรมอียปิ ต์
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พิษณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 9
คำ� ช้ีแจง
สำ� หรับนกั เรียน
เอกสารประกอบการเรยี น “ชดุ อารยธรรมโบราณ” รายวชิ า อารยธรรมโลก ส ๓๐๑๐๕ สาระประวตั ศิ าสตร์ กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สำ� หรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ มี
รายละเอยี ดและขน้ั ตอนในการใชเ้ อกสารประกอบการเรยี น ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด สาระส�ำคญั และจดุ ประสงค์การเรียนรูใ้ หเ้ ขา้ ใจ
๒. ทำ� แบบทดสอบก่อนเรียน จำ� นวน ๑๐ ข้อใชเ้ วลา ๑๐ นาที
๓. ใหศ้ กึ ษาเนอ้ื หาของเอกสารประกอบการเรยี น เรยี งตามลำ� ดบั ไมค่ วรศกึ ษาขา้ มเนอื้ หา เพราะมกี ารกำ� หนดบทเรยี น
ไว้เรยี งตามล�ำดับเน้อื หาและความยากงา่ ยไว้
๔. เมอ่ื ศกึ ษาจบในแตล่ ะเนอ้ื หาใหน้ กั เรยี นเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและตอบคำ� ถามในใบงานตามคำ� ชแี้ จงทกี่ ำ� หนดไว้
๕. นกั เรยี นสามารถตรวจคำ� ตอบในหนา้ ถดั ไป หากคำ� ตอบของนกั เรยี นไมต่ รงกบั เฉลย ใหน้ กั เรยี นกลบั ไปศกึ ษาเนอ้ื หา
ในเอกสารประกอบการเรยี นอกี ครง้ั จนเขา้ ใจเนอ้ื หาและตอบคำ� ถามไดถ้ กู ตอ้ งจนครบทกุ กจิ กรรมและตอบคำ� ถาม
ทกุ ค�ำถาม
๖. ท�ำแบบทดสอบหลังเรยี นเอกสารประกอบการเรียน จ�ำนวน ๑๐ ข้อ ใชเ้ วลา ๑๐ นาที และสรปุ ผลคะแนนเพื่อ
ประเมนิ ความก้าวหน้าและการพัฒนาการเรียนรู้กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นของตนเอง
๗. นำ� ใบงานและใบกิจกรรมทุกชน้ิ ส่งครูหลงั จบกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นทุกครงั้
๘. นักเรยี นใช้เวลาในการศึกษาค้นควา้ หาความรแู้ ละปฏบิ ัตกิ จิ กรรมใหเ้ หมาะสม โดยรับฟังความคดิ เหน็ ของเพ่อื น
ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ยอมรบั ผลการตดั สนิ ใจของกลมุ่ และมวี นิ ยั ในทำ� งานของตนเองดว้ ย
ความรบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา และซ่ือสตั ยส์ ุจริต
ษรุ พีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั พษิ ณุโลก
10 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
สาระประวตั ิศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้
ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดตี จนถึงปจั จบุ ัน ในด้านความสัมพันธแ์ ละการ
เปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั และสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ
ตัวชว้ี ดั
ส ๔.๒ ม. ๔-๖/๑ วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณ และการตดิ ตอ่ ระหวา่ งโลกตะวนั ออก
กบั โลกตะวันตกท่มี ีผลตอ่ พัฒนาการและการเปลย่ี นแปลงของโลก
สาระสำ� คัญ
อารยธรรมอยี ปิ ต์เป็นแหล่งอารยธรรมลมุ่ แมน่ ้�ำไนล์ ปจั จัยทางภมู ิศาสตรแ์ ละความเชอื่ เรือ่ ง
ชีวติ หลงั ความตายมผี ลตอ่ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของชาวอยี ิปต์อยา่ งมาก ทำ� ใหอ้ ารยธรรมอยี ปิ ต์มี
พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรม์ าอย่างยาวนานและมเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะทีไ่ ม่เหมอื นอารยธรรมอน่ื จนทำ� ให้
ดินแดนต่างๆโดยเฉพาะชาวยุโรป นำ� ความรแู้ ละวทิ ยาการต่างๆของชาวอียปิ ตไ์ ปใช้และพัฒนาสืบตอ่ มา
ถงึ ปัจจบุ นั จงึ ถอื วา่ อารยธรรมอยี ปิ ต์และอารยธรรมเมโสโปเตเมยี เป็นออู่ ารยธรรมทีเ่ ปน็ รากฐานสำ� คัญ
ให้แกอ่ ารยธรรมตะวนั ตกอยา่ งแทจ้ รงิ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๑. ด้านความรู้ (K)
๑.๑. อธบิ ายลกั ษณะสำ� คญั ของอารยธรรมอยี ปิ ต์และปัจจัยทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรค์
อารยธรรมอยี ปิ ตไ์ ด้ (K)
๑.๒. บอกคุณคา่ และความส�ำคัญของมรดกทางอารยธรรมอียปิ ต์ได้ (K,A)
๑.๓. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ความเจรญิ และอทิ ธพิ ลของอารยธรรม
อยี ปิ ต์ท่มี ตี ่อมนุษยชาตไิ ด้ (K,P)
๒. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
๒.๑. ทกั ษะการส่อื สาร
๒.๒. ทักษะการคิด/กระบวนการคิดวิเคราะห์/กระบวนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
๒.๓. ทักษะการแก้ปญั หา/กระบวนการแก้ปญั หา
๒.๔. ทกั ษะชีวติ
๒.๕. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลย/ี กระบวนการสบื คน้
๒.๖. กระบวนการท�ำงานกลมุ่
๓. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม (A)
๓.๑. มีวนิ ัยและมคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจริต
๓.๒. ใฝ่เรยี น ใฝ่รู้ รักการอา่ น และการคน้ ควา้ หาความรูด้ ว้ ยตนเอง
๓.๓. มจี ติ ใจเปิดกว้าง เช่ือในเหตผุ ล เปลี่ยนแปลงความคิดเหน็ ของตนเองไดต้ ามขอ้ มลู และ
หลักฐานใหม่ทไ่ี ดร้ ับ
ษรุ พีฐ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก
เลม่ ที่ ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 11
ข้ันตอนการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน
อา่ นคำ� แนะนำ�
ทดสอบก่อนเรียน น�ำเขา้ สู้บทเรียน/
ศกึ ษาบทเรียน
ปฏิบัตกิ จิ กรรม
ระหว่างเรียน
สรปุ บทเรียน ทดสอบหลังเรยี น
ผา่ นการทดสอบ ประเมนิ ผล ไมผ่ า่ นการทดสอบ
สน้ิ สุดกระบวนการ
เรยี นรู้
ศึกษาเร่อื งใหม่
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พิษณุโลก
12 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ ? QUIZ ?
TIME!
แบบทดสอบกอ่ นเรียน ??
เรือ่ ง อารยธรรมอยี ปิ ต์
ค�ำชีแ้ จง
๑. แบบทดสอบปรนยั แบบเลอื กตอบ ๔ ตวั เลอื ก จำ� นวน ๑๐ ขอ้ ขอ้ ละ ๑ คะแนน ใชเ้ วลาในการทดสอบ
๑๐ นาที
๒. เลือกค�ำตอบทถี่ กู ทสี่ ุดเพยี งข้อเดียวโดยทำ� เครอื่ งหมาย X ลงในกระดาษค�ำตอบ
๑. ลกั ษณะภมู ศิ าสตรท์ กุ ขอ้ ตอ่ ไปนมี้ สี ว่ นในการสรา้ งสรรคอ์ ยี ปิ เปน็ แหลง่ อารยธรรมโบราณยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. ตดิ ทะเลเหมาะกับการค้าขาย
ข. มีทรี่ าบเดลตา้ ปากน�้ำทีอ่ ุดมสมบรู ณ์
ค. มที ีร่ าบหุบเขาสลบั เขาสงู เหมาะกับการต้งั ถนิ่ ฐาน
ง. มีทะเลทรายกวา้ งขวางเป็นดา่ นป้องกนั ตวั จากศัตรู
๒. การท�ำมมั มี่แสดงถงึ ความเจริญของความรู้และวทิ ยาการดา้ นใดของอยี ิปต์
ก. ความเชื่อ ข. การแพทย์
ค. ประติมากรรม ง. วิทยาการความรู้
๓. ขอ้ ใดเกยี่ วข้องกับความเช่ือเรื่องชวี ติ หลงั ความตายนอ้ ยทส่ี ดุ
ก. หนังสือ“บนั ทกึ ผ้วู ายชนม์” ข. เสาโอเบลสิ ก์
ค. พรี ะมิด ง. มมั ม่ี
๔. ข้อใดคอื สาเหตสุ ำ� คญั ที่ทำ� ใหอ้ ารยธรรมอียิปต์มีความเป็นเอกภาพ
ก. มีการนบั ถอื เทพเจ้าองคเ์ ดยี ว
ข. เชื้อชาติเดยี วกันท้ังหมดในอาณาจักร
ค. ยดึ ถอื อารยธรรมเดิมตามคตคิ วามเชอ่ื บรรพบรุ ษุ
ง. มสี ภาพภมู ศิ าสตรท์ ป่ี ้องกนั การรกุ รานจากภายนอก
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พิษณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอียิปต์ 13
๕. ตวั อกั ษรที่ชาวอยี ปิ ตพ์ ัฒนาขึ้นมามชี อื่ เรียกว่าอะไร
ก. อกั ษรละติน ข. อกั ษรคนู ฟิ อร์ม
ค. อักษรอลั ฟาเบต ง. อกั ษรเฮยี โรกลฟิ กิ
๖. ข้อใดตอ่ ไปน้ีท่ีไม่ใช่ผลงานของชาวอียิปต์
ก. กระดาษปาปิรสุ ข. วิหารอาบซู มิ เบล
ค. การคน้ พบแร่ทองค�ำ ง. พบสูตรค�ำนวณหาพน้ื ทีว่ งกลม
๗. การสร้างพรี ะมดิ สะท้อนความเช่อื ทไี่ ด้รบั อทิ ธพิ ลจากวรรณกรรมเรอ่ื งใด
ก. คัมภรี ม์ รณะ ข. คมั ภรี พ์ ันธสญั ญาเดมิ
ค. คัมภีรพ์ ระเวท ง. มหากาพย์กิลกาเมซ
๘. ข้อใดแสดงความสมั พันธ์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
ก. รา = สุริยเทพ
ข. สฟิงค์ = คนเฝา้ สุสาน
ค. ฟาโรห์ = เทพเจ้าสูงสดุ
ง. โอซริ ิส = ผนู้ �ำโลกวญิ ญาณ
๙. ศิลปะวทิ ยาการและอารยธรรมอียปิ ตเ์ กดิ ข้ึนจากปจั จยั ใดเปน็ สำ� คญั
ก. ความเชอ่ื เรือ่ งศาสนา
ข. ความเชือ่ เรอ่ื งเทพเจา้
ค. ความเช่ือเรอ่ื งการฟื้นคืนชีพ
ง. ความเชือ่ และความศรัทธาตอ่ ฟาโรห์
๑๐. ขอ้ ใดคือความเจรญิ สงู สดุ ของอารยธรรมอยี ปิ ต์
ก. การทำ� มมั ม่ ี
ข. การสรา้ งพีระมดิ
ค. อกั ษรภาพเฮยี โรกลิฟฟิก
ง. การสร้างเมืองอเลก็ ซานเดรยี
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พิษณโุ ลก
14 เอกสารประกอบการเรยี น ชดุ อารยธรรมโบราณ
กระดาษคำ� ตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เร่อื ง อารยธรรมอียิปต์
รายวิชา ส ๓๐๑๐๕ อารยธรรมโลก ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชือ่ – นามสกลุ ................................................................................................ ชั้น ...........….... เลขที่ ....................
ค�ำชี้แจง
๑. อ่านข้อคำ� ถามและคำ� ตอบให้ละเอยี ดเลอื กค�ำตอบท่ีถกู ที่สดุ เพียงค�ำตอบเดยี วแลว้ นำ� ไปตอบลงใน
กระดาษคำ� ตอบโดยท�ำเครอ่ื งหมาย X ลงในตัวเลอื กท่ีตอ้ งการ
๒. ใชเ้ วลาในการทดสอบ ๑๐ นาที
ขอ้ ที่ ก ข คง
๑ สรุปคะแนน คะแนนท่ีได้
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
คะแนนเต็ม
รวม ๑๐ คะแนน
ษรุ พฐี ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พิษณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 15
เน้ือหาและกจิ กรรม
เรื่องที่ ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณุโลก
16 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
อารยธรรมอยี ิปต์
๑. สภาพท่ีต้งั ทางภูมิศาสตร์
อารยธรรมลมุ่ แมน่ ำ้� ไนล์ หรอื อารยธรรมอยี ปิ ตโ์ บราณ มจี ดุ กำ� เนดิ อยทู่ างตอนเหนอื ของทวปี แอฟรกิ า บรเิ วณ
สองฝงั่ แม่น�้ำไนลท์ ่มี ีลกั ษณะเป็นแนวยาว ต้ังแตป่ ากแม่นำ้� ไนลซ์ ง่ึ เป็นตอนปลายสุดของแม่น�ำ้ ไปจนถงึ ตอนเหนือของ
ประเทศซดู านในปัจจุบนั ท�ำให้แบ่งลักษณะภมู ิประเทศของลุ่มนำ�้ ไนล์แบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ บรเิ วณ คอื
อยี ปิ ตล์ า่ ง (Lower Egypt) ตงั้ อยู่
ทรี่ าบบรเิ วณปากแมน่ ำ�้ ไนล์ มลี กั ษณะ
เปน็ รปู พดั หรอื เดลตา ซง่ึ อารยธรรม
โบราณของอยี ปิ ตเ์ จรญิ ขน้ึ บรเิ วณน้ี
อยี ปิ ตบ์ น (Upper Egypt) อยใู่ น
บรเิ วณทแี่ มน่ ำ้� ไนลไ์ หลผา่ นหบุ เขาไป
จนถงึ ตน้ แมน่ ำ�้ ตอนในทวปี ลกั ษณะ
เปน็ ทรี่ าบแคบๆ ขนาบดว้ ยหนา้ ผา
และทะเลทราย
ภาพที่ ๑ แผนท่อี ารยธรรมอียิปต์
แหลง่ ท่มี า : https://baugchamp.wordpress.com/category
ลักษณะเช่นน้ีท�ำให้ดินแดนลุ่มน�้ำไนล์ได้รับความอุดมสมบูรณ์อยู่เสมอและถูกล้อมรอบด้วยทะเลทรายท�ำให้
มีปราการทางธรรมชาติปอ้ งกันศัตรจู ากภายนอก ดว้ ยสภาพภูมิประเทศทเี่ ปน็ ทะเลทรายและปอ้ งกันการรุกรานจาก
ชาติอน่ื ๆ โดยธรรมชาติ ชาวอยี ิปต์จงึ อยู่อยา่ งสันโดษ สามารถพัฒนาอารยธรรมให้มคี วามตอ่ เน่อื งและมัน่ คงได้เป็น
ระยะเวลาอนั ยาวนาน มอี ทิ ธิพลต่อความเจริญก้าวหนา้ ทางศิลปวทิ ยาการของโลกตะวนั ตกในสมยั ต่อมา กลายเปน็ อู่
อารยธรรมของโลกตะวนั ตกค่กู ับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ดงั น้นั จึงมคี �ำกล่าวที่ว่า “Egypt is the gift of the Nile
= อยี ปิ ตเ์ ปน็ ของขวญั จากแม่น�ำ้ ไนล”์
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พิษณุโลก
เลม่ ที่ ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 17
๒. ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการสร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอยี ิปตไ์ ดช้ อ่ื วา่ เป็นของขวญั จากแมน่ �้ำไนล์ เน่อื งจากลกั ษณะที่ตัง้ ของอยี ิปต์และสภาพภมู ศิ าสตร์
มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การดำ� รงชวี ติ การประกอบอาชพี และการสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมอยี ปิ ต์ นอกจากนแ้ี ลว้ ระบอบการปกครอง
ตลอดจนภมู ิปญั ญาของชาวอียปิ ตก์ ็เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทส่ี ่งเสริมการสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของอียิปต์
ภาพที่ ๒ รมิ ฝ่ังแมน่ ำ้� ไนล์
แหล่งทม่ี า : http://www.pantown.com/board/php?id=๓๖๙๕๓&area=๓&name=board๕&topic=๕๕&action=view
๒.๑ สภาพภูมศิ าสตรท์ ่ตี งั้ ของอารยธรรมอยี ิปต์
สภาพภมู ิศาสตรข์ องอียิปตโ์ ดยท่วั ไปมลี กั ษณะร้อนและแห้งแล้ง พื้นท่สี ่วนใหญเ่ ป็นเขตทะเลทรายซ่งึ ไม่เอื้อ
ตอ่ การเพาะปลกู ยกเวน้ บรเิ วณ ๒ ฝง่ั แมน่ ำ้� ไนลท์ ม่ี กั มนี ำ�้ ทว่ มขงั เปน็ ประจำ� ในชว่ งฤดฝู น นำ้� ฝนและหมิ ะทล่ี ะลายจาก
ยอดเขาในเขตท่ีราบสูงเอธิโอเปียจะไหลจากต้นแม่น�้ำไนล์ และท่วมล้นสองฝั่งแม่น�้ำต้ังแต่เดือนกันยายนของทุกปี
ตะกอนและโคลนท่ีน�้ำพัดพามาทับถมกลายเป็นปุ๋ยที่ดีส�ำหรับการเพาะปลูกบริเวณท่ีลุ่มริมฝั่งแม่น�้ำ อียิปต์จึงได้รับ
ความอดุ มสมบรู ณอ์ ยเู่ สมอเพราะดนิ ตะกอนทบั ถมกลายเปน็ พน้ื ทที่ ม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณต์ ลอดสองฝง่ั แตล่ กั ษณะธรรมชาติ
ดงั กล่าวน้ีช่วยให้ชาวอยี ปิ ต์เพาะปลูกไดเ้ พยี งปีละครง้ั เทา่ นนั้ จงึ ต้องใชภ้ มู ิปญั ญาแกไ้ ขขอ้ จ�ำกัดของสภาพภมู ิศาสตร์
ด้วยการขดุ คลองขนาดสัน้ ๆ เพ่ือสง่ น้�ำเข้าไปในเขตทะเลทรายทแี่ หง้ แล้งจนสามารถขยายพืน้ ทที่ ำ� การเกษตรและทำ�
การเพาะปลูกไดป้ ลี ะ ๒-๓ ครงั้ นอกจากนีผ้ นู้ ำ� ชาวอียิปตโ์ บราณยังใช้วิธคี ำ� นวณจัดแบ่งที่ดินทีส่ ามารถเพาะปลูกได้
ใหก้ บั ประชาชนอย่างท่ัวถงึ กล่าวไดว้ า่ การท�ำชลประทานและระบบจัดสรรทดี่ นิ ช่วยใหช้ าวอยี ิปต์ตง้ั ถิ่นฐาน อยู่ใน
ดนิ แดนทแี่ หง้ แลง้ ไดต้ อ่ เนอ่ื งนานถงึ ๖๐๐๐ ปี โดยไมต่ อ้ งอพยพยา้ ยถน่ิ ฐานไปแสวงหาทที่ ำ� กนิ ใหมเ่ หมอื นชนชาตอิ นื่
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณุโลก
18 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ
ความไดเ้ ปรยี บทางธรรมชาติ เนอื่ งจากประเทศอยี ปิ ตเ์ ปน็ ดนิ แดนทลี่ อ้ มรอบดว้ ยทะเลทรายกวา้ งใหญซ่ ง่ึ เปน็
สว่ นหนง่ึ ท่ีเช่ือมตอ่ กับทะเลทรายซาฮารา่ ทางด้านตะวนั ตก ทำ� ใหม้ ีปราการธรรมชาตใิ นการป้องกันศัตรูจากภายนอก
ประกอบกบั แมน่ ำ้� ไนลม์ คี วามยาวมากทส่ี ดุ ในโลกและใชเ้ ปน็ เสน้ ทางเดนิ ทพั ทสี่ ำ� คญั จงึ ยากตอ่ การรกุ รานและโจมตจี าก
ข้าศกึ ภายนอก ซึง่ ชาวอยี ิปตส์ ามารถหลบหนจี ากการรุกรานและยา้ ยไปเตรยี มการรบั มือข้าศกึ ทางพน้ื ทีต่ อนในได้
นอกจากนีแ้ มน่ ำ้� ไนลย์ งั เปน็ เขตอุดมสมบรู ณ์ทจ่ี �ำกัดอยตู่ ามบริเวณสองฝากฝงั่ ทำ� ให้คนอาศัยอยู่เฉพาะบรเิ วณนเี้ ออ้ื
ใหก้ ารปกครองทำ� ไดโ้ ดยงา่ ย โดยอาศยั การควบคมุ การเดนิ เรอื ในแมน่ ำ้� ไนล์ ผปู้ กครองสามารถคมุ การเคลอ่ื นไหวของคน
และการคา้ เจรญิ และการทป่ี ากแมน่ ำ�้ ไนลไ์ หลออกทางทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นทำ� ใหก้ ารขนสง่ สนิ คา้ ทำ� ไดส้ ะดวก ทำ� ให้
เมอื งอเลก็ ซานเดรยี เปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ และเมอื งทา่ ทส่ี ำ� คญั ของอยี ปิ ต์
ดงั นนั้ จากลกั ษณะทตี่ งั้ ของอยี ปิ ตท์ ถี่ กู ปดิ ลอ้ มดว้ ยพรมแดนธรรมชาตทิ ส่ี ำ� คญั คอื ทะเลเมดเิ ตอรเ์ นยี น แมน่ ำ้� ไนล์
และทะเลทรายจงึ ชว่ ยปอ้ งกนั การรกุ รานจากภายนอก กลายเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทร่ี วมดนิ แดนใหเ้ ปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั
สง่ ผลใหก้ ารคา้ เจรญิ เกดิ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและวทิ ยาการตา่ งๆ ทำ� ใหช้ าวอยี ปิ ตส์ ามารถพฒั นาและหลอ่ หลอม
อารยธรรมไดต้ อ่ เนอื่ งยาวนานและมเี อกลกั ษณโ์ ดดเดน่ เปน็ ของตนเอง
ภาพที่ ๓ อารยธรรมอยี ิปต์
แหลง่ ท่มี า : http://alizah.co/map-of-ancient-egypt/
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 19
๒.๒ ทรพั ยากรธรรมชาติ
แมว้ า่ พนื้ ทส่ี ว่ นใหญข่ องอยี ปิ ตจ์ ะเปน็ ทะเลทรายทแี่ หง้ แลง้ แตบ่ รเิ วณสองฝง่ั แมน่ ำ�้ ไนลก์ ป็ ระกอบดว้ ยหนิ แกรนติ
และหนิ ทราย ซงึ่ เปน็ วสั ดสุ ำ� คญั ทชี่ าวอยี ปิ ตใ์ ชใ้ นการกอ่ สรา้ งและพฒั นาความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางดา้ นสถาปตั ยกรรม วสั ดุ
เหลา่ นมี้ คี วามคงทนแขง็ แรงและชว่ ยรกั ษามรดกทางดา้ นอารยธรรมของอยี ปิ ตใ์ หป้ รากฏแกช่ าวโลกมาจนกระทง่ั ทกุ วนั น้ี
นอกจากน้ี ตน้ ออ้ โดยเฉพาะปาปริ สุ ซง่ึ ขน้ึ ชกุ ชมุ บรเิ วณสองฝง่ั แมน่ ำ้� ไนลก์ ก็ ลายเปน็ วสั ดธุ รรมชาตสิ ำ� คญั ทชี่ าวอยี ปิ ตใ์ ช้
ทำ� กระดาษ เรยี กวา่ กระดาษปาปริ สุ ทำ� ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ ในการบนั ทกึ และสรา้ งผลงานดา้ นวรรณกรรม
๒.๓ ภมู ปิ ญั ญาของชาวอยี ปิ ต์
ชาวอยี ิปต์เป็นชนชาติทม่ี ีความสามารถในการคดิ คน้ เทคโนโลยแี ละวทิ ยาการความเจริญดา้ นตา่ งๆ เพอื่ แก้
ปญั หาการดำ� รงชีวติ ความเช่ือทางศาสนาและการสร้างความเจริญร่งุ เรืองให้แกจ่ กั รวรรดิอียปิ ต์ เชน่ ความร้ทู าง
คณติ ศาสตร์ เรขาคณติ และฟสิ กิ ส์ ไดส้ ง่ เสรมิ ความเจรญิ ในดา้ นการกอ่ สรา้ งและสถาปตั ยกรรม ความรดู้ า้ นดาราศาสตร์
ชว่ ยใหช้ าวอยี ปิ ตป์ ระดษิ ฐป์ ฏทิ นิ รนุ่ แรกๆของโลก ความสามารถในการประดษิ ฐอ์ กั ษรภาพทเี่ รยี กวา่ “อกั ษรเฮยี โรกลฟิ กิ ”
(Hieroglyphic) ท�ำให้เกิดการบนั ทึกเรื่องราวทเ่ี กย่ี วกับศาสนาและฟาโรห์ และความเจริญทางการแพทย์กท็ ำ� ใหช้ าว
อยี ปิ ตส์ ามารถคดิ คน้ วธิ ผี า่ ตดั เพอ่ื รกั ษาผปู้ ว่ ย ตลอดจนใชน้ ำ�้ ยารกั ษาศพไมใ่ หเ้ นา่ เปอ่ื ยในการทำ� มมั ม่ี ความเจรญิ ทาง
วทิ ยาการและภูมปิ ญั ญาเหล่านท้ี �ำใหส้ งั คมอยี ิปตเ์ จรญิ รงุ่ เรืองต่อเน่ืองหลายพันปี สามารถหลอ่ หลอมอารยธรรมของ
ตนใหก้ า้ วหน้าและเป็นรากฐานของอารยธรรมตะวนั ตกในเวลาตอ่ มา
ภาพท่ี ๔ มัมมี่
แหล่งทีม่ า : https://www.baanjomyut.com/library_๒/origin_of_civilization/๐๒.html
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พิษณุโลก
20 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
๒.๔ ระบบการปกครอง
จักรวรรดอิ ยี ปิ ต์มรี ะบอบการปกครองทมี่ นั่ คง ชาวอียิปตย์ อมรับอ�ำนาจและเคารพนบั ถือฟาโรห์หรอื กษตั รยิ ์
ของตนประดจุ เทพเจา้ องคห์ น่ึง ดงั นน้ั ฟาโรหจ์ ึงมอี �ำนาจเดจ็ ขาดในการปกครองและบริหารประเทศ ทั้งด้านการเมือง
และศาสนา โดยมขี นุ นางเปน็ ผชู้ ว่ ยในดา้ นการปกครอง และมพี ระเปน็ ผชู้ ว่ ยดา้ นศาสนา การทฟ่ี าโรหม์ อี ำ� นาจเดจ็ ขาด
สงู สุดทำ� ใหอ้ ยี ิปต์พัฒนาอารยธรรมของตนได้ต่อเนอื่ ง เพราะฟาโรห์สามารถสร้างสรรค์และพัฒนาความเจรญิ ตาม
แนวนโยบายของตนไดเ้ ตม็ ท่ี เชน่ การพฒั นาพน้ื ทกี่ ารเกษตรในเขตทะเลทรายทแี่ หง้ แลง้ ดว้ ยการคดิ คน้ ระบบชลประทาน
การสร้างพีระมิดหรือสุสานขนาดใหญ่ไว้เพื่อเก็บรักษาพระศพของฟาโรห์ตามความเชื่อทางศานาของชาวอียิปต์เรื่อง
โลกหลังความตายและการมวี ิญญาณเป็นอมตะ และการคดิ คน้ ปฏิทินเพอ่ื กำ� หนดฤดูกาลสำ� หรับการเกบ็ เก่ียว
ภาพท่ี ๕ ภาพวาดเกี่ยวกบั ฟาโรห์ในพีระมิด
แหล่งท่มี า : http://www.metricsyst.wordpress.com/๒๐๑๓/๐๑/๓๑/อารยธรรมอียิปต์-๒/
๒.๕ ศาสนา
ศาสนามอี ิทธิพลสำ� คัญต่อการด�ำเนนิ ชีวิตและการสร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต์ ความเช่ือทางศาสนาของชาว
อียิปตผ์ กู พนั กบั ธรรมชาตแิ ละสภาพภมู ศิ าสตร์ จะเห็นได้ว่าชาวอียิปตน์ ับถือเทพเจา้ หลายองค์ทง้ั ท่ีเป็นสรรพสิ่งตาม
ธรรมชาตแิ ละวิญญาณของอดีตฟาโรห์ โดยบชู าสัตว์ต่างๆ เช่น แมว สนุ ขั หมาใน ววั เหยย่ี ว แกะ ฯลฯ เพราะเชือ่ ว่า
สัตวเ์ หล่าน้นั เป็นท่ีสิงสถติ ของเทพซึง่ พิทกั ษ์มนษุ ย์ แตเ่ ทพเจ้าที่เชอ่ื ว่ามีอำ� นาจปกครองจักรวาลคอื เร หรอื รา (Re
or Ra) ซึ่งเป็นเทพแห่งดวงอาทิตย์และเป็นหัวหนา้ แหง่ เทพเจ้าทัง้ ปวง เทพโอซริ สิ (Osiris) ซง่ึ เป็นเทพแห่งแมน่ ำ้� ไนล์
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั พิษณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 21
ผบู้ ันดาลความอดุ มสมบรู ณใ์ หแ้ ก่อยี ปิ ตแ์ ละเปน็ ผูพ้ ทิ ักษด์ วงวญิ ญาณหลงั ความตาย และไอซสิ ซึ่งเปน็ เทวีผูส้ ร้าง
และชบุ ชวี ิตคนตายและยังเปน็ ชายาของเทพโอริซิสอีกดว้ ย ชาวอยี ปิ ต์นบั ถอื ฟาโรห์ของตนเสมอื นเทพเจ้าองคห์ นึ่ง
และเชอ่ื ว่าวญิ ญาณเปน็ อมตะ จงึ สร้างสุสานขนาดใหญ่หรือพีระมดิ สำ� หรบั เก็บรักษารา่ งกายทท่ี �ำใหไ้ มเ่ น่าเปอ่ื ยด้วย
วธิ ีการมมั ม่ี เพอ่ื รอวนั ท่ีวญิ ญาณจะกลับมาเขา้ รา่ งและฟ้นื คืนชีพอกี ครงั้
ความเชอื่ ทางศาสนายังทำ� ใหเ้ กดิ กาารบันทึกเรอื่ งราวเกย่ี วกบั ความเชื่อ และพธิ กี รรมตามสถานท่ีตา่ งๆ ที่
ส�ำคัญไดแ้ ก่ คมั ภีร์ของผูต้ ายหรือคัมภีร์มรณะ (Book of The Dead) ซึ่งอธิบายผลงานและคณุ ความดีในอดตี ของ
ดวงวิญญาณท่ีรอรับการตัดสินของเทพโอริซิส บันทึกเหล่าน้ีช่วยให้เข้าใจถึงวิถีชีวิตชาวอียิปต์และพัฒนาการของ
อารยธรรมดา้ นต่างๆ ความเจรญิ ดา้ นวทิ ยาการท่ีชาวอยี ิปตส์ ่งั สมความเจรญิ ให้แก่ชาวโลกหลายแขนง ทสี่ ำ� คัญได้แก่
ความเจิญด้านดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ และอักษรศาสตร์
ภาพท่ี ๖ ดวงตาของเทพฮอรัส
แหลง่ ทมี า : http://www.ancient-egypt.co.uk/luxor_museum/pages/thutmose%๒๐iii%๒๐(menkheperra)%๒๐๓.htm
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณุโลก
22 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
๓. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
อารยธรรมอยี ปิ ตเ์ รมิ่ ขน้ึ เมอ่ื ประมาณ ๓๕๐๐ ปกี อ่ นครสิ ตศ์ กั ราช หรอื ๕๕๐๐ ปมี าแลว้ ในบรเิ วณลมุ่ แมน่ ำ้� ไนล์
ทางตอนเหนอื ของทวปี แอฟรกิ า เปน็ อารยธรรมทมี่ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งในดา้ นตา่ งๆอยา่ งมากและมพี ฒั นาการสบื เนอ่ื ง
ตอ่ มาอกี หลายพนั ปี
๓.๑ อียปิ ตก์ อ่ นประวตั ศิ าสตร์
ลกั ษณะชมุ ชนดงั้ เดมิ เปน็ พวกเรร่ อ่ น ตอ่ มาไดพ้ ฒั นาขนึ้ ตามลำ� ดบั จนเกดิ ชนชนั้ ปกครองสงั คม ขยายตวั เปน็
รฐั เลก็ ๆ เรยี กวา่ “โมนสิ ” มสี ญั ลกั ษณ์ เชน่ สนุ ขั เหยย่ี ว แมงปอ่ ง ฯลฯ ราชวงศแ์ รกทส่ี ามารถรวมอยี ปิ ตเ์ ปน็ อาณาจกั ร
คอื กษัตริยเ์ มนสิ (Menes ๓๐๐๐ B.C.) ถอื เปน็ ฟาโรหอ์ งค์แรก มศี ูนยก์ ลางที่เมมฟสิ
๓.๒ อียิปต์สมัยประวัตศิ าสตร์
ชาวอยี ปิ ตส์ ามารถประดษิ ฐอ์ กั ษรภาพเรยี กวา่ “เฮยี โรกลฟิ กิ ” (hieroglyphic) โดยแกะสลกั ตามฝาผนงั และ
สสุ านฟาโรห์ ตอ่ มาจงึ พฒั นาการเขยี นลงในกระดาษ “ปาปริ สุ ” เรยี กวา่ สมยั อาณาจกั รอยี ปิ ต์ ซง่ึ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็
๓ ช่วง ได้แก่
๓.๒.๑ มคี วามเจริญในช่วงประมาณปี ๒,๗๐๐ – ๒,๒๐๐ ก่อนคริสตศ์ ักราช เปน็ สมยั ทีอ่ ียปิ ต์มี
สมยั อาณาจักร ความเจริญกา้ วหนา้ ในด้านวิทยาศาสตร์และศลิ ปกรรม มกี ารก่อสรา้ งพีระมดิ ซึ่งถอื ว่า
เป็นเอกลกั ษณโ์ ดดเดน่ ของอารยธรรมอยี ิปต์
เกา่
๓.๒.๒ ฟาโรห์มอี �ำนาจปกครองอยใู่ นชว่ งราวปี ๒๐๕๐ – ๑๖๕๒ ก่อนคริสตศ์ ักราช ในสมัยน้ี
สมยั อาณาจกั ร อยี ปิ ต์มีความเจริญกา้ วหนา้ ทางด้านทางวิทยาการและภูมปิ ัญญามากโดยเฉพาะด้านการ
ชลประทาน จงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ยคุ ทองของอยี ปิ ต์ อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ งปลายสมยั
กลาง เกดิ ความวนุ่ วายภายในประเทศ จนตา่ งชาตเิ ขา้ มารกุ รานและปกครองอยี ปิ ต์ เพราะสมยั
๓.๒.๓ ปลายราชวงศ์ไดม้ ีการพยายามเปลี่ยนความเชอ่ื จากการบชู าเทพเจ้าหลายพระองค์ ให้
สมัยอาณาจักร เหลือเพียงพระองค์เดยี ว ไดแ้ ก่ สุริยเทพ Aton หรอื อะตัน ซ่งึ ฟาโรห์เทา่ นนั้ จะมสี ิทธ์ิ
ส่วนประชาชนท่ัวไปให้บชู าฟาโรหแ์ ทน นี่เปน็ เหตหุ นงึ่ ทท่ี �ำใหช้ นชาตขิ าดความเข้มแขง็
ใหม่ ชาวอียิปต์สามารถขับไล่ชาวต่างชาติ และกลับมาปกครองดินแดนของตนอีกครั้งหนึ่ง
ในช่วงประมาณปี ๑๕๖๗ – ๑๐๘๕ กอ่ นครสิ ต์ศักราช สมยั น้ีฟาโรหม์ อี �ำนาจเดด็ ขาดใน
การปกครองและขยายอาณาเขตเหนอื ดนิ แดนใกลเ้ คยี งจนเปน็ จกั รวรรดิ จากนนั้ จกั รวรรดิ
อยี ปิ ตเ์ รมิ่ เสอ่ื มอำ� นาจตงั้ แตป่ ระมาณปี ๑,๑๐๐ กอ่ นครสิ ตศ์ กั ราช ในสมยั นชี้ าวตา่ งชาติ เชน่
พวกอสั ซเี รยี นและพวกเปอรเ์ ซยี จากเอเชยี รวมทง้ั ชนชาตใิ นแอฟรกิ าไดเ้ ขา้ มายดึ ครองราชวงศ์
ปโตเลมเี ปน็ ราชวงศส์ ดุ ทา้ ยทป่ี กครองอยี ปิ ต์ ฟาโรหอ์ งคส์ ดุ ทา้ ยคอื พระนางคลโี อพตั รา
หลงั จากนน้ั อยี ปิ ตต์ กอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของจกั รวรรดโิ รมนั จนกระทง่ั เสอ่ื มสลายในทส่ี ดุ
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั พษิ ณุโลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 23
ภายหลงั อยี ปิ ตเ์ ปลย่ี นไปนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม ดงั นนั้ อยี ปิ ตใ์ นสมยั หลงั จงึ ไมอ่ าจรวมอยใู่ นกลมุ่ ของโลกตะวนั ตก
ไดอ้ กี ตอ่ ไป เพราะความสมั พนั ธท์ างศาสนา การเมอื ง ศลิ ปวฒั นธรรม และเศรษฐกจิ ของอยี ปิ ตม์ คี วามใกลช้ ดิ กบั กลมุ่
ประเทศอสิ ลามทางตะวนั ออกมากกวา่
ภาพท่ี ๗ ฟาโรห์ตตุ ันคาเมน
แหลง่ ท่มี า : https://theunredacted.com/tutankhamun-curse-of-the-mummy/
ภาพท่ี ๘ โครงสร้างทางสงั คมของอียปิ ต์
แหลง่ ทมี า : http://karnnoonngam.blogspot.com/๒๐๑๗/๐๕/blog-post.html
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั พษิ ณุโลก
24 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
๔. ความเจริญดา้ นวทิ ยาการและมรดกสำ� คญั ทางอารยธรรมอียปิ ต์
๔.๑ ด้านดาราศาสตร์
เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ท่นี ้�ำในแมน่ ้ำ� ไนลห์ ลากทว่ มลน้ ตล่ิง เม่อื น�้ำลดแล้วพ้ืนดินกม็ ีความเหมาะสม
ทจ่ี ะเพาะปลกู หลงั จากชาวนาเกบ็ เกย่ี วพชื ผลแลว้ นำ�้ ในแมน่ ำ�้ ไนลก์ ก็ ลบั มาทว่ มอกี หมนุ เวยี นเชน่ นตี้ ลอดไป ชาวอยี ปิ ต์
ไดน้ ำ� ความรจู้ ากประสบการณด์ งั กลา่ วไปคำ� นวณปฏทิ นิ นบั รวมเปน็ ๑ ปี มี ๑๒ เดอื น ในรอบ ๑ ปยี งั แบง่ เปน็ ๓ ฤดู
ท่ีก�ำหนดตามวถิ กี ารประกอบอาชีพ คือ ฤดูน�้ำทว่ ม ฤดูไถหว่าน และฤดเู กบ็ เกย่ี ว
๔.๒ ด้านคณติ ศาสตร์
อียิปต์เป็นชาตแิ รกทรี่ ูจ้ กั ใชค้ วามรู้ทางเรขาคณิตในการวัดทดี่ ินและพบสตู รค�ำนวณหาพน้ื ท่วี งกลม (Pi, R)
และก�ำหนดคา่ ของ Pi = ๓.๑๔ โดยเฉพาะการค�ำนวณข้นั พ้นื ฐาน ได้แก่ การบวก ลบ และหาร และการค�ำนวณพ้นื ที่
วงกลม สเี่ หลย่ี ม และสามเหลย่ี ม ความรู้ ดงั กลา่ วเปน็ ฐานของวชิ าฟสิ กิ ส์ ซง่ึ ชาวอยี ปิ ตใ์ ชค้ ำ� นวณในการกอ่ สรา้ งพรี ะมดิ
วหิ าร เสาหินขนาดใหญ่ ฯลฯ
ภาพท่ี ๙ ความรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์ของชาวอียปิ ต์
แหลง่ ทม่ี า : https://baugchamp.wordpress.com/category/
ษุรพฐี ์ บญุ คง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณโุ ลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอียิปต์ 25
๔.๓ ด้านการแพทย์
การแพทย์มคี วามกา้ วหน้ามาก เอกสารทบ่ี นั ทกึ เม่ือ ๑๗๐๐ ปกี อ่ นคริสต์ศักราช ระบุว่าอียปิ ตม์ ีผู้เชี่ยวชาญ
ดา้ นการแพทยห์ ลายสาขา เชน่ ทนั ตแพทย์ ศลั ยแพทย์ และแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญเกยี่ วกบั กระเพาะอาหาร ในสมยั นแ้ี พทย์
อียปิ ตส์ ามารถผ่าตัดคนไขแ้ บบง่ายๆ ได้แลว้ นอกจากนีย้ งั คดิ ค้นวธิ ปี รุงยารักษาโรคไดเ้ ปน็ จ�ำนวนมาก โดยรวบรวม
เปน็ ตำ� ราซึง่ ตอ่ มาถูกน�ำไปใช้กันอยา่ งแพร่หลายในทวปี ยุโรป
ชาวอยี ปิ ตโ์ บราณมคี วามรใู้ นวิชาการแพทย์ ดงั ตอ่ ไปนี้
- การท�ำมัมม่ี พบวิธีรักษารา่ งกายไมใ่ หเ้ น่าเปื่อยโดยทำ� เป็นมมั ม่ี
- ศัลยกรรม แพทยอ์ ียิปตโ์ บราณชำ� นาญการผ่าตดั กระดูก ร้จู ักใชน้ �้ำเกลือล้างแผลป้องกนั การอกั เสบ
และใช้น้�ำด่างรกั ษาแผลใหห้ ายเรว็
- ทนั ตกรรม ทนั ตแพทย์อยี ปิ ต์โบราณรู้จักใชฟ้ นั ปลอมทำ� ดว้ ยทองและสามารถอุดฟนั ผไุ ด้
- ระบบหมนุ เวยี นของโลหิต แพทย์อียปิ ต์โบราณค้นพบว่าหวั ใจเป็นศูนย์กลางของระบบหมุนเวยี น
โลหติ ในรา่ งกาย
ภาพท่ี ๑๐ มมั มี่ฟาโรหต์ ตุ นั คาเมน
แหลง่ ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/EdHistory/๒๐๑๓/๑๐/๑๘/entry-๕
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณโุ ลก
26 เอกสารประกอบการเรยี น ชดุ อารยธรรมโบราณ
ภาพท่ี ๑๑ การทำ� มัมมร่ี ักษาสภาพศพไม่ใหเ้ น่าเป่ือย
แหลง่ ทมี่ า : http://epicegypt.blogspot.com/p/blog-page.html
ภาพที่ ๑๒ โลงศพตตุ นั คาเมน
แหลง่ ท่ีมา : http://www.thaigoodview.com/node/๑๓๐๘๗๑?page=๐,๐
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
เล่มที่ ๒ อารยธรรมอียิปต์ 27
๔.๔ ดา้ นอกั ษรศาสตร์
อกั ษรภาพเฮยี โรกลฟิ กิ เปน็ อกั ษรรุ่นแรกทอี่ ยี ิปตป์ ระดิษฐ์ขนึ้ เมื่อประมาณปี ๓๑๐๐ ปกี อ่ นคริสต์ศกั ราช
เปน็ อักษรภาพแสดงลกั ษณ์ตา่ งๆ ตอ่ มามกี ารพฒั นาตัวอกั ษรเป็นแบบพยัญชนะเฮยี โรกริฟฟิคแปลวา่ “อักษรหรือ
หรือรอยสลักอันศักด์ิสิทธิ์” ที่เรียกเช่นน้ีเพราะพระเป็นผู้เริ่มใช้อักษรเหล่านี้และใช้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา
ในระยะแรกชาวอยี ปิ ตจ์ ารกึ เรอื่ งราวดว้ ยการแกะสลกั อกั ษรไวต้ ามกำ� แพงและผนงั ของสงิ่ กอ่ สรา้ ง เชน่ วหิ ารและพรี ะมดิ
ตอ่ มาคน้ พบวธิ ที ำ� กระดาษจากตน้ ปาปริ สุ อยี ปิ ตเ์ ปน็ ชาตแิ รกทค่ี ดิ ทำ� กระดาษขน้ึ ใช้ กระดาษดงั กลา่ วทำ� จากตน้ ปาปริ สุ
ซึ่งมมี ากมายตามรมิ ฝั่งแม่น้ำ� ไนล์ คำ� วา่ paper ในภาษาอังกฤษปัจจุบนั มรี ากฐานมาจากคำ� Papyrus เครื่องเขียน
ใช้ก้านออ้ ส่วนหมึกใชย้ างไมผ้ สมเขม่า โดยจะบนั ทึกเรอ่ื งราวของฟาโรห์ ศาสนา และความรู้ทางการแพทยแ์ ละ
ดาราศาสตร์ เปน็ ตน้ ทำ� ใหม้ กี ารบนั ทกึ แพรห่ ลายมากขน้ึ ความกา้ วหนา้ ทางอกั ษรศาสตรจ์ งึ เปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์
ทที่ �ำใหม้ นุษยชาตทิ ราบถึงความเจริญและความตอ่ เนือ่ งของอารยธรรมอยี ปิ ต์
ภาพที่ ๑๓ อักษรภาพเฮียโรกลฟิ กิ
แหลง่ ที่มา : http://jingkajokbangbon.wixsite.com/jingjok/contact
ภาพท่ี ๑๔ อักษรภาพเฮียโรกลิฟกิ
แหลง่ ทม่ี า : http://www.ancient-egypt.co.uk/luxor_museum/pages/thutmose%๒๐iii%๒๐(menkheperra)%๒๐๓.htm
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พิษณโุ ลก
28 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
๔.๕ ดา้ นวรรณกรรม
งานวรรณกรรมเป็นร้อยแก้วเป็นส่วนใหญ่ วรรณกรรมที่ส�ำคัญของอียิปต์โบราณส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรม
ทางศาสนา มกั เป็นเร่อื งราวเกี่ยวกบั เทพเจา้ นิทานพื้นเมอื ง ภาษติ และพงศาวดาร ผลงานดา้ นศาสนาที่ส�ำคญั ที่สุด
คือ คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) สาระส�ำคญั เกี่ยวกับหลักฐานแสดงคณุ งามความดี และความประพฤติถกู
ท�ำนองคลองธรรมของผ้ตู ายระหว่างมีชวี ิตอยู่
ภาพท่ี ๑๕ Book of the Dead
แหล่งท่มี า : http://www.ancient-egypt.co.uk/index.htm
๔.๖ ดา้ นสถาปัตยกรรม
ผลงานสร้างสรรคท์ างศิลปวัฒนธรรมของชาวอยี ิปตโ์ บราณ สะทอ้ นถงึ ความผกู พนั และความเช่ือทางศาสนา
ในขณะทก่ี ารแสดงความคดิ เหน็ ทางดา้ นปรชั ญากลบั ไมไ่ ดร้ บั ความสนใจมากนกั และประการสำ� คญั คอื เปน็ การสรา้ งสรรค์
ศลิ ปะเพ่ือชนชนั้ สงู โดยใช้แรงงานของชนชนั้ ต่�ำในสงั คม
ชาวอียปิ ตโ์ บราณไดร้ ับการยกยอ่ งเปน็ สถาปนิกช้ันยอดของโลก สง่ิ กอ่ สรา้ งท่ีมีชอ่ื เสยี งยง่ิ ของอยี ปิ ต์ ไดแ้ ก่
พรี ะมิด สงิ่ มหัศจรรยข์ องโลกยคุ โบราณ นอกจากนยี้ ังสถาปัตยกรรมทม่ี ชี ่ือเสียงของอียิปต์ ไดแ้ ก่ วิหารคารน์ คั วหิ าร
ลกั ซอร์ วหิ ารอาบูซมิ เบล และหุบผากษตั รยิ ์ เปน็ ตน้
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
เลม่ ที่ ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 29
พรี ะมิด ชาวอียิปตโ์ บราณมีความสามารถอยา่ งสงู ในการสรา้ งพีระมดิ สุสานทีร่ กั ษาร่างของฟาโรห์ทส่ี น้ิ ชีวติ
ไปแลว้ พรี ะมิดทใ่ี หญ่ทสี่ ุดคือพรี ะมิดของพระเจ้าคีออปต์ (Cheops) ทเี่ มืองกซิ า่ (Gizeh) แสดงถึงความก้าวหน้าใน
เทคนคิ การก่อสร้างความรทู้ างเรขาคณิต เทคนิคการใชเ้ ลื่อยสำ� ริดตัดหนิ เป็นก้อนใหญๆ่ และการเคลือ่ นยา้ ยหนิ หนกั
มาเรยี งตอ่ กันอยา่ งสนทิ พรี ะมิดสรา้ งขน้ึ ด้วยจดุ ประสงคท์ างศาสนาและอำ� นาจทางการปกครอง ด้วยความเชือ่ ทาง
ศาสนา ฟาโรหข์ องอียิปต์จึงสร้างพีระมดิ ส�ำหรับหรบั ตนเอง สนั นษิ ฐานวา่ พรี ะมิดรนุ่ แรกๆ สรา้ งขน้ึ ราวปี ๒๗๗๐
ก่อนคริสต์ศักราช พรี ะมดิ ข้นั บันไดแห่งซกั คาราเปน็ พรี ะมิดแหง่ แรกของอยี ิปต์สรา้ งเปน็ ขั้นบันได กอ่ นจะพฒั นามา
เปน็ พรี ะมดิ แบบสามเหลย่ี มดา้ นเทา่ ความยงิ่ ใหญข่ องพรี ะมดิ สะทอ้ นถงึ อำ� นาจของฟาโรห์ ความสามารถในการออกแบบ
และกอ่ สร้างของชาวอยี ิปต์
ภาพที่ ๑๖ พรี ะมิดขน้ั บนั ไดเมอื งซักคาร่า
แหล่งทม่ี า : http://www.oceansmile.com/Egypt/Sakkara.htm
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก
30 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ
ภาพที่ ๑๗ พรี ะมิดและสฟิงค์
แหลง่ ที่มา : https://www.baanjomyut.com/library_๒/origin_of_civilization/๐๒.html
ภาพที่ ๑๘ ภายในพรี ะมิดตตุ ันคาเมน
แหลง่ ทม่ี า : http://karnnoonngam.blogspot.com/๒๐๑๗/๐๕/blog-post.html
ษรุ พีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พิษณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 31
วิหารอาบซู ิมเบล อียิปต์ยงั สร้างวหิ ารจำ� นวนมาก เพอ่ื บูชาเทพเจา้ แตล่ ะองคแ์ ละเทพประจ�ำท้องถ่นิ ภายใน
วิหารมกั จะประดับดว้ ยเสาหินขนาดใหญซ่ ่ึงแกะสลกั ลวดลายอยา่ งงดงาม วิหารที่สำ� คัญและยิ่งใหญข่ องอียปิ ต์ เช่น
วิหารแหง่ เมืองคารน์ ัก (Karnak) และวหิ ารแห่งเมอื งลกั ซอร์ (Luxor) และมหาวหิ ารอาบูซมิ เบล (ABU SIMBEL)
ประกอบดว้ ยวหิ ารของฟาโรหร์ ามเซสที่ ๒ และวหิ ารของพระนางเนเฟอรต์ ารี ซงึ่ เปน็ มเหสขี องพระองค์ วหิ ารอาบซู มิ เบล
นง้ี ดงามและยง่ิ ใหญแ่ ละมชี อ่ื เสยี งกอ้ งโลกแมว้ หิ ารมขี นาดใหญ่ แตก่ ถ็ กู ทรายจากทะเลทรายพดั มากลบทลี ะเลก็ ละนอ้ ย
ตลอดระยะเวลาพนั ๆ ปจี นมดิ จนกระทงั่ ฝรงั่ นกั ทอ่ งเทยี่ วชาวสวสิ มาคน้ พบเขา้ เมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๘๑๓ เมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๙๖๔
อยี ปิ ตส์ รา้ งเขอื่ นกนั้ นำ�้ อสั วานทำ� ใหน้ ำ้� ในทะเลสาบนสั เซอรส์ งู ขนึ้ จะทำ� ใหว้ หิ าร ๑๗ แหง่ จมลงอยใู่ ตน้ ำ้� องคก์ ารยเู นสโก
ตอ้ งมาชว่ ยยกยา้ ยใหพ้ น้ นำ้� วหิ ารอาบซู มิ เบลแหง่ นจี้ งึ ถกู ยกสงู จากพนื้ ดนิ ๖๕ เมตร ใชเ้ วลาทงั้ สนิ้ ๔ ปี เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย
ท้งั สนิ้ ๔๐ ล้านเหรียญสหรัฐ โดยจา้ งคณะวศิ วกรและคนงานออกแบบตัดวหิ ารออกเปน็ ๑,๐๕๐ สว่ น แลว้ ยกขึ้นไป
ประกอบกันใหมส่ ูงจากระดับเดิมถงึ ๒๑๕ ฟตุ โดยสรา้ งภเู ขาเทยี มรูปโดมด้วยคอนกรตี เสรมิ ใยเหลก็ ใหเ้ หมอื นเดิม
ทกุ ประการ แลว้ เอาชิน้ สว่ นที่ตดั มาประกอบเข้าทง้ั ภายนอกและภายใน
ภาพท่ี ๑๙ วหิ ารอาบูซมิ เบล
แหลง่ ที่มา : http://www.oceansmile.com/Egypt/Abusimbel.htm
๔.๗ ด้านประติมากรรม
ชาวอียิปต์สร้างผลงานประติมากรรมไว้จ�ำนวนมาก ทั้งที่เป็นรูปปั้นและภาพสลัก ส่วนใหญ่ประดับอยู่ใน
พรี ะมดิ และวหิ ารทพ่ี บในพรี ะมดิ มกั เปน็ รปู ปน้ั ของฟาโรหแ์ ละมเหสี ภาพสลกั ทแ่ี สดงถงึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ และวถิ ชี วี ติ ของ
ชาวอยี ปิ ต์ สว่ นในวหิ ารมกั เปน็ รปู ปน้ั สญั ลกั ษณข์ องเทพและสตั วศ์ กั ดส์ิ ทิ ธทิ์ น่ี บั ถอื และภาพสลกั ทแ่ี สดงเรอื่ งราวและ
เหตุการณ์ มลี กั ษณะเรยี บงา่ ย ใหญ่โต แขง็ แรงถาวร และสงา่ งาม
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณโุ ลก
32 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ
ภาพที่ ๒๐ งานประติมากรรมของชาวอียิปต์
แหลง่ ทีม่ า : http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/blog-page_๘.html
งานประตมิ ากรรมเป็นงานแกะสลักหินรปู เทพพระเจา้ และฟาโรห์ มลี กั ษณะกิริยาท่าทางและใบหน้าท่ีแสดง
ความรสู้ ึกเหมือนมนษุ ยจ์ ริงๆ และรปู ประติมากรรมท่มี ชี ่อื เสยี งมากทีส่ ุดคือ สฟิงค์ หน้าเปน็ มนษุ ย์ ตวั เป็นสงิ โตหมอบ
หน้าพีระมิด เพอื่ ท�ำหนา้ ที่ในการเฝ้าสสุ าน หรือ พรี ะมิดของฟาโรห์ ประติมากรรมทม่ี ีชื่อเสยี งดา้ นความงามได้แก่
ภาพหินสลักหวั สฟิงคฟ์ าโรห์คาฟราและพระเศียรของพระนางเนเฟอรต์ ติ ิ
ภาพท่ี ๒๑ รปู ป้นั สฟิงค์
แหล่งทีม่ า : https://egpviagens.com.br/tour/?attachment_id=๓๐๗๙
ษรุ พฐี ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พษิ ณโุ ลก
เล่มที่ ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 33
๔.๘ ด้านจติ รกรรม
ชาวอยี ปิ ตม์ ผี ลงานด้านจติ รกรรมจ�ำนวนมาก มกั พบในพีระมิดและสสุ านต่างๆ ตามผนงั ดา้ นในของพรี ะมดิ
ท่พี ื้นห้องและบนเพดาน เต็มไปด้วยภาพเขียนระบายสีสวยงามเปน็ เรอ่ื งราวเก่ียวกบั ผู้ตายสมยั ที่ยังมีชวี ติ อยู่ ภาพวาด
ของชาวอยี ิปตส์ ่วนใหญม่ สี ีสันสดใส มที ั้งภาพสัญลักษณ์ของเทพเจา้ ท่ีชาวอยี ปิ ต์นับถือ พระราชกรณยี กิจของฟาโรห์
และสมาชิกในราชวงศ์ ภาพบคุ คลทั่วไปและภาพทส่ี ะท้อนวิถชี ีวติ ของชาวอียปิ ต์ เชน่ การเกษตรกรรม ภาพเหล่านี้
นอกจากแสดงให้เห็นถึงความสามารถในด้านจิตรกรรมและยังเป็นหลักฐานส�ำคัญและมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์
อกี ดว้ ย นอกจากนย้ี งั ปรากฏบนเครอ่ื งใช้ หรอื วาดบนแผน่ กระดาษปาปริ สุ เปน็ ภาพเขยี นตวั แบนสองมติ ิ ไมม่ สี ว่ นลกึ
ระยะใกล้ ระยะไกล แตอ่ ย่างใด สะทอ้ นถงึ ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องชาวอียปิ ต์โบราณ ความเชอ่ื ทางศาสนาและภารกจิ
ของฟาโรห์
ภาพที่ ๒๒ ภาพจติ รกรรมฝาผนังในสสุ าน
แหลง่ ท่มี า : http://www.teachinghistory๑๐๐.org/objects/ancient_egyptian_funeral_procession
๔.๙ ด้านเศรษฐกจิ
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางเศรษฐกจิ ท�ำให้จักรวรรดิอยี ปิ ตม์ น่ั คงกา้ วหน้าต่อเนือ่ งเป็นเวลาหลายพันปี และเป็น
พน้ื ฐานของระบบเศรษฐกจิ อยี ปิ ตป์ จั จบุ นั ความรงุ่ เรอื งทางเศรษฐกจิ ของอยี ปิ ตป์ ระกอบดว้ ยเกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม
และอตุ สาหกรรม
ด้านเกษตรกรรม เปน็ รากฐานทางเศรษฐกิจของจักรวรรดอิ ียิปต์ ประชากรส่วนใหญเ่ ปน็ เกษตรกรทอ่ี าศัย
นำ�้ จากแมน่ �ำ้ ไนล์ในการเพาะปลกู ทำ� ให้มกี ารคดิ ค้นระบบชลประทาน ทำ� คลองส่งน�้ำจากแมน่ ้ำ� ไนล์ เขา้ ไปยังพ้ืนที่
ทหี่ า่ งจากฝง่ั ระบบชลประทานจงึ เปน็ เทคโนโลยสี ำ� คญั ทชี่ ว่ ยใหเ้ กษตรกรอยี ปิ ตด์ ำ� เนนิ การเพาะปลกู พชื สำ� หรบั บรโิ ภค
ภายในจกั รวรรดิและพืชเศรษฐกจิ อืน่ ๆได้ตอ่ เนอ่ื ง ไม่ต้องละทิง้ ถนิ่ ฐานไปแสวงหาดินแดนที่อดุ มสมบูรณม์ ากกวา่
ผลิตผลทางเกษตรท่ีส�ำคัญของชาวอียิปต์ ได้แก่ ขา้ วสาลี ขา้ วบาร์เลย์ ขา้ วฟา่ ง ผกั ผลไม้ ปอ และฝ้าย
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลัย พษิ ณโุ ลก
34 เอกสารประกอบการเรยี น ชุด อารยธรรมโบราณ
ดา้ นพาณิชยกรรม จักรวรรดิอียิปต์ติดตอ่ ค้าขายกับดนิ แดนอื่นๆ ตง้ั แต่ประมาณ ๒๐๐๐ ปีก่อนคริสต์ศกั ราช
ดนิ แดนท่ตี ิดตอ่ ค้าขายเปน็ ประจำ� ได้แก่ เกาะครตี (Crete) และดินแดนเมโสโปเตเมยี โดยเฉพาะฟนี เิ ชยี ปาเลสไตน์
และซีเรีย สนิ คา้ ส่งออกท่ีส�ำคญั ของอียปิ ต์คือ ทองคำ� ข้าวสาลี และผา้ ลนิ นิ สว่ นสนิ ค้าทนี่ �ำเขา้ ทส่ี �ำคญั ได้แก่ แร่เงิน
งาชา้ ง และไมซ้ ุง
ดา้ นอตุ สาหกรรม อยี ิปต์เริม่ พัฒนาอุตสาหกรรมต้ังแตป่ ระมาณ ๓๐๐๐ ปีกอ่ นคริสต์ศกั ราช ปัจจัยส�ำคญั ท่ี
ท�ำใหอ้ ตุ สาหกรมมของอียปิ ตเ์ ตบิ โตคือ การมีชา่ งฝีมอื และแรงงานจ�ำนวนมาก มีเทคโนโลยีและวทิ ยาการที่ก้าวหน้า
มีวัตถุดิบ และมกี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ดนิ แดนอน่ื ๆ อย่างกวา้ งขวาง ดังนนั้ อยี ปิ ต์จึงสามารถพัฒนาระบบอตุ สาหกรรม
ทผี่ ลิตสินคา้ ไดจ้ �ำนวนมาก อุตสาหกรรมท่ีส�ำคัญ ไดแ้ ก่ การทำ� เหมืองแร่ การตอ่ เรือ การทำ� เครือ่ งปั้นดินเผา การทำ�
เครื่องแก้ว และการทอผา้ ลินนิ
ภาพท่ี ๒๓ การประกอบอาชีพของชาวอยี ิปต์
แหล่งทีม่ า : http://jingkajokbangbon.wixsite.com/jingjok/contact
ภาพท่ี ๒๔ เมอื งลักซอร์และเสาหินโอเบลิสก์ (Obelisk)
แหลง่ ที่มา : http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/blog-page_๘.html
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอียิปต์ 35
๔.๑๐ ด้านการปกครองและศาสนา
กษัตริย์เป็นผู้ปกครองเรียกว่า ฟาโรห์ ชาวอียิปต์ถือ ฟาโรห์เป็นเทพเจ้าพระองค์หนึ่ง ซ่ึงได้แสดงออกโดย
การสร้างสถาปัตยกรรมต่างๆ ถวายแก่ฟาโรห์ และนับถือเทพเจ้าหลายองค์โดยมีเทพเจ้าสูงสุดคือ สุริยเทพ (Re/Ra)
ชาวอียิปต์โบราณมีความเชื่อเร่ืองภพหน้า เร่ืองชีวิตหลังการตายและวิญญาณเป็นอมตะ ท�ำให้เก็บรักษาซากศพไม่
ให้เน่าเปื่อยด้วยการท�ำมัมม่ี (Mummy) เพ่ือรอคอยการกลับฟื้นคืนชีพและคืนชีวิตใหม่อีกคร้ัง
ภาพท่ี ๒๕ มมั ม่แี ละรูปปน้ั ฟาโรห์แหง่ อียิปตท์ ่ีขุดคน้ พบ
แหลง่ ทมี่ า : http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/๐๐๐/๐๖๒/๖๗๑/original_cartouche-Cleopatra.jpg?๑๓๕๒๕๒๓๓๙๓
ความเจริญรุ่งเรืองด้านความรู้ศิลปะวิทยาการต่างๆ ท�ำให้จักรวรรดิอียิปต์สามารถสั่งสมและหล่อหลอม
อารยธรรมของตนให้เจริญก้าวหน้าต่อเน่ืองมายาวนาน ดินแดนอียิปต์จึงเป็นท่ีหมายปองของอาณาจักรอื่นๆ ท่ี
พยายามขยายอิทธิพลเข้าครอบครองดินแดนแห่งน้ี แม้จักรวรรดิอียิปต์เส่ือมสลายไปใน ช่วงก่อนคริสต์ศักราชแต่
อารยธรรมอียิปต์มิได้เสื่อมสลายไปด้วย หากกลายเป็นมรดกตกทอดท่ีชนรุ่นหลังน�ำมาพัฒนาเป็นอารยธรรมของ
มนุษยชาติในปัจจุบัน เพราะอียิปต์เป็นต้นก�ำเนิดของอารยธรรมตะวันตกควบคู่กับอารยธรรมของเมโสโปเตเมีย ซ่ึง
ถ่ายทอดต่อไปให้แก่ กรีกและโรมัน ซ่ึงถือว่าเป็นต้นก�ำเนิดของศิลปวัฒนธรรมของโลกตะวันตกอย่างแท้จริง
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พิษณุโลก
36 เอกสารประกอบการเรยี น ชดุ อารยธรรมโบราณ
ภาพท่ี ๒๖ มหาพรี ะมิดคูฟูแห่งเมืองกซี า่
แหลง่ ทม่ี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/EdHistory/๒๐๑๓/๑๐/๑๘/entry-๕
ษรุ พีฐ์ บญุ คง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 37
กิจกรรมที่ ๑ อารยธรรมอียิปต์
ตวั ชว้ี ัด
ส ๔.๒ ม. ๔-๖/๑ วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณ และการตดิ ตอ่ ระหวา่ งโลกตะวนั ออก
กบั โลกตะวนั ตกทมี่ ผี ลตอ่ พฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงของโลก
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. อธบิ ายลกั ษณะสำ� คญั ของอารยธรรมอยี ปิ ตแ์ ละปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรม
อยี ปิ ตไ์ ด้ (K)
๒. บอกคณุ คา่ และความสำ� คญั ของมรดกทางอารยธรรมอยี ปิ ตไ์ ด้ (K,A)
๓. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ความเจรญิ และอทิ ธพิ ลของอารยธรรม
อยี ปิ ตท์ ม่ี ตี อ่ มนษุ ยชาตไิ ด้ (K,P)
คำ� ชี้แจงข้ันตอนในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
๑. นกั เรยี นดสู ารคดเี กยี่ วกบั การสรา้ งพรี ะมดิ และศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นเรอื่ งอารยธรรม
อยี ปิ ตเ์ พอื่ หาคำ� ตอบในประเดน็ คำ� ถามทคี่ รตู ง้ั ไวล้ งในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมที่ ๑ โดยมปี ระเดน็ คำ� ถามดงั นี้
๑) พรี ะมดิ สรา้ งขนึ้ เพอ่ื จดุ ประสงคใ์ ด
๒) การสรา้ งพรี ะมดิ มแี นวคดิ ความเชอ่ื และวทิ ยาการอยา่ งไร
๓) สถาปตั ยกรรม โบราณวตั ถุ และงานศลิ ปะทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ งพรี ะมดิ มอี ะไรบา้ ง
๔) การสรา้ งพรี ะมดิ มผี ลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งและความเสอ่ื มของอยี ปิ ตห์ รอื ไมอ่ ยา่ งไร
๒. แบง่ นกั เรยี นเปน็ ๖ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๔ คน จากนน้ั สมาชกิ ทกุ คนในแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั อภปิ ราย
คำ� ตอบของแตล่ ะคนทไ่ี ดจ้ ากศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ จากการวเิ คราะหห์ าคำ� ตอบ
รว่ มกนั โดยนกั เรยี นสามารถสบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากแหลง่ การเรยี นรทู้ ค่ี รแู นะนำ� ได้ และบนั ทกึ คำ� ตอบท่ี
ไดจ้ ากการอภปิ รายลงในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี ๒
๓. แตล่ ะกลมุ่ สรปุ คำ� ตอบเปน็ ผงั ความคดิ รวบยอด (Mind map) ในกระดาษฟลปิ ชารท์ ทคี่ รแู จก
ใหเ้ วลาในการทำ� ๑๐ นาที ในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปนี้
- จดุ ประสงคก์ ารสรา้ งพรี ะมดิ
- แนวคดิ ความเชอื่ ในการสรา้ งพรี ะมดิ
- สถาปตั ยกรรมการสรา้ งพรี ะมดิ
- วเิ คราะหก์ ารสรา้ งพรี ะมดิ มผี ลตอ่ อยี ปิ ตอ์ ยา่ งไร
๔. ทกุ กลมุ่ นำ� เสนอผลงานผงั ความคดิ (Mind map) ของแตล่ ะกลมุ่ โดยใชว้ ธิ พี รมลอยได้ (Flying
carpet) เวยี นกระดาษฟลปิ ชารท์ สรปุ ผงั ความคดิ ไปทางขวาของกลมุ่ ตนเองจนครบทงั้ ๖ กลมุ่
๕. อภปิ รายสรปุ แสดงความคดิ เหน็ และขอ้ แนะนำ� ในประเดน็ ตา่ งๆรว่ มกนั
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พิษณโุ ลก
38 เอกสารประกอบการเรียน ชดุ อารยธรรมโบราณ
แบบบนั ทึกกจิ กรรมที่ ๑ อารยธรรมอยี ิปต์
ช่อื –นามสกลุ ................................................................................. ชัน้ ........................... เลขที่ .................................................
๑. พรี ะมิดสร้างขนึ้ เพอ่ื จดุ ประสงค์ใด?
๒. การสร้างพรี ะมิดมแี นวคิด ความเชือ่ และวทิ ยาการอยา่ งไร?
๓. สถาปตั ยกรรม โบราณวัตถุ และงานศิลปะที่เกีย่ วข้องกบั การสรา้ งพีระมิดมอี ะไรบ้าง ?
๔. การสร้างพรี ะมิดมีผลตอ่ ความเจรญิ รุง่ เรืองและความเสื่อมของอยี ปิ ตห์ รือไม่อยา่ งไร?
ษรุ พฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณโุ ลก
เล่มท่ี ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 39
แบบบันทกึ กิจกรรมท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์
รายชอ่ื สมาชกิ ในกลุม่
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
สรุปคำ� ตอบ
ประเด็นท่ี ๑
สรุปคำ� ตอบ
ประเดน็ ท่ี ๒
สรปุ คำ� ตอบ
ประเดน็ ที่ ๓
สรุปคำ� ตอบ
ประเด็นที่ ๔
ท่ีมาและแหลง่ เรยี นรูเ้ พ่มิ เตมิ ทใี่ ช้ในการสืบค้นขอ้ มลู
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก
40 เอกสารประกอบการเรยี น ชดุ อารยธรรมโบราณ
ใบงานที่ ๑ อารยธรรมอยี ปิ ต์
๑. การท�ำมัมม่แี ละการสร้างพรี ะมิดสะทอ้ นความเช่อื เรื่องใดของชาวอยี ิปตโ์ บราณ
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒. ความเชือ่ ในชีวิตอมตะและโลกหนา้ สง่ ผลต่อการสร้างสรรค์อารยธรรมของชาวอยี ปิ ต์โบราณอย่างไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๓. คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) มีความสำ� คญั ต่อชาวอยี ิปต์โบราณอยา่ งไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณโุ ลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 41
? QUIZ ?
TIME!
แบบทดสอบหลงั เรยี น ??
เรอ่ื ง อารยธรรมอยี ปิ ต์
คำ� ชแ้ี จง
๑. แบบทดสอบปรนยั แบบเลอื กตอบ ๔ ตวั เลอื ก จำ� นวน ๑๐ ขอ้ ขอ้ ละ ๑ คะแนน ใชเ้ วลาในการทดสอบ
๑๐ นาที
๒. เลือกคำ� ตอบทถี่ ูกท่สี ุดเพยี งข้อเดยี วโดยท�ำเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคำ� ตอบ
๑. ลกั ษณะภมู ศิ าสตรท์ กุ ขอ้ ตอ่ ไปนม้ี สี ว่ นในการสรา้ งสรรคอ์ ยี ปิ เปน็ แหลง่ อารยธรรมโบราณยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. ติดทะเลเหมาะกบั การคา้ ขาย
ข. มที รี่ าบเดลต้าปากนำ�้ ท่ีอุดมสมบูรณ์
ค. มีทร่ี าบหบุ เขาสลับเขาสงู เหมาะกบั การตง้ั ถ่นิ ฐาน
ง. มที ะเลทรายกวา้ งขวางเป็นด่านปอ้ งกันตัวจากศตั รู
๒. การทำ� มมั มีแ่ สดงถงึ ความเจรญิ ของความรู้และวทิ ยาการดา้ นใดของอยี ปิ ต์
ก. ความเชื่อ ข. การแพทย์
ค. ประตมิ ากรรม ง. วิทยาการความรู้
๓. ขอ้ ใดเกย่ี วข้องกับความเชอื่ เรื่องชวี ิตหลังความตายน้อยทสี่ ุด
ก. หนงั สอื “บันทกึ ผูว้ ายชนม”์ ข. เสาโอเบลสิ ก์
ค. พรี ะมิด ง. มมั ม่ี
๔. ขอ้ ใดคือสาเหตสุ �ำคัญทีท่ ำ� ใหอ้ ารยธรรมอียปิ ตม์ คี วามเปน็ เอกภาพ
ก. มกี ารนับถือเทพเจา้ องค์เดียว
ข. เชอื้ ชาตเิ ดยี วกันทัง้ หมดในอาณาจกั ร
ค. ยดึ ถืออารยธรรมเดมิ ตามคตคิ วามเชื่อบรรพบรุ ุษ
ง. มสี ภาพภมู ศิ าสตรท์ ีป่ ้องกันการรุกรานจากภายนอก
ษรุ พีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พิษณโุ ลก
42 เอกสารประกอบการเรียน ชดุ อารยธรรมโบราณ
๕. ตัวอักษรทีช่ าวอียิปตพ์ ัฒนาขนึ้ มามชี อ่ื เรียกวา่ อะไร
ก. อกั ษรละติน ข. อกั ษรคนู ฟิ อร์ม
ค. อักษรอลั ฟาเบต ง. อกั ษรเฮยี โรกลฟิ กิ
๖. ขอ้ ใดต่อไปน้ีท่ีไม่ใชผ่ ลงานของชาวอยี ิปต์
ก. กระดาษปาปริ สุ ข. วิหารอาบซู ิมเบล
ค. การคน้ พบแร่ทองคำ� ง. พบสตู รค�ำนวณหาพื้นทว่ี งกลม
๗. การสร้างพีระมิดสะทอ้ นความเช่อื ที่ได้รบั อิทธพิ ลจากวรรณกรรมเรอื่ งใด
ก. คัมภีรม์ รณะ ข. คัมภรี พ์ ันธสัญญาเดิม
ค. คัมภรี ์พระเวท ง. มหากาพย์กลิ กาเมซ
๘. ขอ้ ใดแสดงความสัมพนั ธ์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
ก. รา = สรุ ิยเทพ
ข. สฟงิ ค์ = คนเฝ้าสุสาน
ค. ฟาโรห์ = เทพเจ้าสูงสุด
ง. โอซริ ิส = ผนู้ �ำโลกวญิ ญาณ
๙. ศลิ ปะวทิ ยาการและอารยธรรมอียิปตเ์ กิดขนึ้ จากปัจจัยใดเปน็ ส�ำคัญ
ก. ความเชอ่ื เรือ่ งศาสนา
ข. ความเชอื่ เร่อื งเทพเจา้
ค. ความเช่ือเรื่องการฟ้นื คืนชีพ
ง. ความเช่อื และความศรทั ธาตอ่ ฟาโรห์
๑๐. ขอ้ ใดคือความเจรญิ สูงสุดของอารยธรรมอยี ิปต์
ก. การท�ำมัมมี่
ข. การสรา้ งพรี ะมิด
ค. อักษรภาพเฮียโรกลฟิ ฟิก
ง. การสรา้ งเมืองอเลก็ ซานเดรีย
ษรุ พฐี ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
เล่มที่ ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 43
กระดาษค�ำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เร่อื ง อารยธรรมอยี ปิ ต์
รายวิชา ส ๓๐๑๐๕ อารยธรรมโลก ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชอ่ื – นามสกุล ................................................................................................ ช้ัน ...........….... เลขที่ ....................
ค�ำชี้แจง
๑. อา่ นขอ้ ค�ำถามและค�ำตอบใหล้ ะเอยี ดเลือกคำ� ตอบทถี่ ูกทีส่ ดุ เพยี งค�ำตอบเดียวแลว้ นำ� ไปตอบลงใน
กระดาษค�ำตอบโดยทำ� เครอื่ งหมาย X ลงในตัวเลือกท่ตี ้องการ
๒. ใช้เวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที
ข้อที่ ก ข คง
๑ สรุปคะแนน คะแนนทีไ่ ด้
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
คะแนนเตม็
รวม ๑๐ คะแนน
ษุรพฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก
44 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
บรรณานุกรม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานประวตั ศิ าสตรช์ นั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔-๖ เลม่ ๒ ประวตั ศิ าสตรส์ ากล .
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว , ๒๕๕๗.
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คณะอกั ษรศาสตร.์ เอกสารคำ� สอนรายวชิ าอารยธรรม. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๐.
ชมพนู ชุ นาครี กั ษ์ และวงเดอื น นาราสจั จ.์ ประวตั ศิ าสตรส์ ากลเลม่ ๒ : พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรข์ องมนษุ ยชาติ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖. กรงุ เทพฯ : พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ, ๒๕๕๔.
ชยั ลาภเพมิ่ ทว.ี หวั ใจสงั คม O-NET. กรงุ เทพฯ : ธนเซษฐ์ จำ� กดั , ๒๕๕๕
ซาตชิ าย พญานานนท.์ หนงั สอื เรยี นสงั คมศกึ ษา ม.๔-๖ ประวตั ศิ าสตรโ์ ลก. กรงุ เทพฯ : แมค็ , ๒๕๕๑
ณทั ธนทั เลยี่ วไพโรจน.์ คมั ภรี พ์ ชิ ติ Entrance สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พท์ รพั ยก์ ารพมิ พ,์ ม.ป.ป.
ธดิ า สาระยา และคณะ. หนงั สอื เรยี นสงั คมศกึ ษา ส ๖๐๕ สงั คมศกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖. กรงุ เทพมหานคร :
ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๗.
นวิ ตั ร ตนั ไพศาลและคณะ. คมู่ อื เตรยี มสอบสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.๖. กรงุ เทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลชิ ชง่ิ , ม.ป.ป.
นนั ทนา กปลิ กาญจน.์ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละอารยธรรมโลก. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๓๐.
ไพฑรู ย์ มกี ศุ ลและคณะ. ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ม.๔-๖. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานชิ จำ� กดั , ม.ป.ป.
ระพนิ ทองระอา และคณะ. ไทมสส์ ารานกุ รม ประวตั ศิ าสตรโ์ ลก. เลม่ ท่ี ๑.โลกสมยั โบราณ. กรงุ เทพมหานคร : พารอ์ สี ต์
ทมี ลเิ กชน่ั , ๒๕๔๕.
วณี า ศรธี ญั รตั น.์ อารยธรรมตะวนั ออกและตะวนั ตก. กรงุ เทพฯ : คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั
บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา, ๒๕๔๒.
ศวิ พล ชมพพู นั ธ.์ุ สรปุ สงั คมม.ปลาย. กรงุ เทพฯ : วชั รนิ ทร์ พ.ี พ.ี , พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑๑ , ๒๕๕๗.
สถาบนั กวดวชิ าตวิ เตอรพ์ อยท.์ สรปุ สงั คมมธั ยมปลาย. กรงุ เทพฯ : กรนี ไลฟพ์ รน้ิ ทต์ งิ้ เฮา้ ส,์ ๒๕๕๗.
สญั ชยั สวุ งั บตุ ร และคณะ. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ๔่ี -๖. กรงุ เทพฯ :
อกั ษรเจรญิ ทศั น,์ ๒๕๕๗.
สปุ ราณี มขุ วชิ ติ . ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รป เลม่ ๒ ฉบบั ปรบั ปรงุ . กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๔๑.
สรุ างคศ์ รี ตนั เสยี งสม และคณะ. อารยธรรมตะวนั ออก. กรงุ เทพฯ : สำ� นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, ๒๕๕๓.
อทุ ศิ จงึ นพิ นธส์ กลุ , คมู่ อื เตรยี มสอบ O-NET ม.๖ และสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั สงั คมศกึ ษาฯ. กรงุ เทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลชิ ชงิ่ , ๒๕๕๕.
แหลง่ กำ� เนดิ อารยธรรมโบราณของโลก. http://arayatum๐๐๗.blogspot.com/๒๐๑๒/๐๙/blog-post.html
อารยธรรมดนิ แดนเมโสโปเตเมยี . http://civilizationwe.blogspot.com/๒๐๑๒/๐๖/blog-post_๒๐.html
อารยธรรมโลกยคุ โบราณ. https://panupong๐๘๘.wordpress.com/
ประวตั ศิ าสตรโ์ ลก http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/blog-page.html
ประวตั ศิ าสตรส์ ากล http://history-world.org/videos.html
อารยธรรมโลก http://thtp.saipimm.wordpress.com/
ษุรพฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พิษณุโลก
เลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์ 45
ภาคผนวก
ษรุ พฐี ์ บุญคง โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลัย พิษณโุ ลก
เฉลย46 เอกสารประกอบการเรียน ชดุ อารยธรรมโบราณ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรียน
ขอ้ ท่ี กอ่ นเรียน หลงั เรยี น
๑. ค ค
๒. ข ง
๓. ข ค
๔. ง ก
๕. ง ค
๖. ค ข
๗. ก ข
๘. ก ก
๙. ค ง
๑๐. ค ค
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
เฉลยเล่มที่ ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ 47
แบบบนั ทกึ กิจกรรมท่ี ๑ อารยธรรมอยี ิปต์
ช่ือ –นามสกลุ ................................................................................. ช้ัน ........................... เลขที่ .................................................
๑. พรี ะมดิ สร้างข้ึนเพ่ือจดุ ประสงค์ใด?
๒. การสร้างพรี ะมดิ มีแนวคิด ความเชอ่ื และวิทยาการอยา่ งไร?
การพจิ ารณาคำ� ตอบอยู่ในดุลยพนิ จิ ของครูผสู้ อน
๓. สถาปตั ยกรรม โบราณวตั ถุ และงานศลิ ปะที่เก่ียวขอ้ งกบั การสรา้ งพีระมิดมีอะไรบ้าง ?
๔. การสร้างพรี ะมดิ มีผลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื งและความเส่ือมของอียปิ ตห์ รอื ไม่อย่างไร?
ษรุ พีฐ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พิษณุโลก
เฉลย48 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
แบบบันทกึ กจิ กรรมที่ ๒ อารยธรรมอียิปต์
สรปุ ค�ำตอบ รายชอื่ สมาชิกในกลุ่ม
ประเด็นที่ ๑ ................................................................................................................................................................
สรปุ คำ� ตอบ ................................................................................................................................................................
ประเด็นท่ี ๒ ................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การพจิ ารณาคำ� ตอบอยู่ในดุลยพินิจของครผู ู้สอน
สรุปค�ำตอบ
ประเด็นที่ ๓
สรุปค�ำตอบ
ประเดน็ ท่ี ๔
ทม่ี าและแหลง่ เรยี นรู้เพ่มิ เตมิ ทใ่ี ชใ้ นการสืบคน้ ขอ้ มูล
ษุรพฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก
เฉลยเลม่ ที่ ๒ อารยธรรมอียปิ ต์ 49
ใบงานที่ ๑ อารยธรรมอยี ปิ ต์
๑. การท�ำมัมม่แี ละการสร้างพีระมิดสะทอ้ นความเช่ือเรื่องใดของชาวอยี ปิ ต์โบราณ
- สะทอ้ นความเชือ่ ของชาวอยี ปิ ต์โบราณในเร่ืองชีวิตหลงั ความตายและการฟนื้ คนื ชพี ของผตู้ าย ซึ่งจะเปน็ ไปตาม
ธรรมชาติเช่นเดยี วกับการข้ึนและการตกของดวงอาทติ ยท์ ่ใี ห้แสงสวา่ งและความมืด การตายหรอื การแหง้ เทย่ี วของ
พชื พนั ธุ์ธญั ญาหารในฤดูแล้งและกลบั งอกงามเจริญเติบโตใหมใ่ นฤดูเพาะปลูก จงึ ตอ้ งมกี ารมัมมเ่ี พอ่ื เกบ็ รกั ษาศพ
ของคนตายไวเ้ พอื่ รอวนั ฟน้ื คนื ชพี อกี ครงั้ ดงั นน้ั จากความเชอื่ นชี้ าวอยี ปิ ตเ์ ชอื่ วา่ ฟาโรหท์ รงเปน็ ทงั้ เทพเจา้ และมนษุ ย์
ในเวลาเดยี วกัน การเกบ็ รักษาพระศพหรอื การทำ� มมั มีข่ องฟาโรห์จงึ กลายเปน็ พธิ กี รรมสำ� คัญของอยี ิปต์ พีระมดิ
หรอื สสุ านของฟาโรหม์ ขี นาดใหญโ่ ตและถอื กนั วา่ มคี วามสำ� คญั เทา่ กบั ศาสนสถาน มกี ารตกแตง่ อยา่ งวจิ ติ รสวยงาม
ดว้ ยภาพเขียนประติมากรรมและประดบั ด้วยสง่ิ ท่ีมีค่ามากมาย
๒. ความเชื่อในชวี ติ อมตะและโลกหนา้ สง่ ผลตอ่ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของชาวอยี ปิ ตโ์ บราณอย่างไร
- จากความเชื่อเรอ่ื งวิญญาณเป็นอมตะและเช่อื วา่ โลกหนา้ จะเป็นโลกที่อดุ มสมบูรณ์ ท�ำใหช้ าวอียิปตม์ ีการเตรยี มการ
สำ� หรับวญิ ญาณทจ่ี ะกลับมาเกดิ อกี ครง้ั หน่งึ ไม่ว่าจะเป็นการท�ำมมั มเี พื่อรกั ษารา่ งกายไมใ่ หเ้ น่าเปื่อยส�ำหรบั รอการ
ฟ้ืนคนื ชีพ รวมถึงมีการสรา้ งสสุ านไวเ้ ก็บศพส�ำหรบั ชนช้นั สามญั และสรา้ งพีระมดิ ส�ำหรบั เกบ็ พระศพฟาโรหแ์ ละมี
การฝงั ข้าวของเครื่องใชล้ งไปดว้ ย ความเชอ่ื ดังกล่าวยังมอี ิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรค์วรรณกรรม คอื คมั ภีร์มรณะ
(Book of the Dead) ซึง่ เป็นคู่มอื ของผู้ตายว่า หลงั จากตายไปแลว้ ควรจะพูดอย่างไรเมอ่ื อยู่ต่อหนา้ เทพเจา้ โอซิรสิ
ในยมโลก เพอ่ื ใหพ้ ระองค์ตดั สินการเดินทางไปสู่โลกหนา้ คัมภรี ์น้ี จงึ เปรยี บเสมอื นใบเบิกทางไปสู่ดนิ แดนแหง่ เทพเจ้า
สรุปคือความเชอ่ื นยี้ งั มีผลต่อการสรา้ งสรรค์ศลิ ปวฒั นธรรมและความเจริญของอยี ปิ ตใ์ นทกุ ดา้ น เชน่ ความก้าวหน้าทางคณติ ศาสตร์
ความรทู้ างวศิ วกรรมในการกอ่ สรา้ งพรี ะมิด ความเจริญด้านการแพทย์ รวมถึงความเจริญด้านจิตรกรรมและประติมากรรมอกี ด้วย
๓. คมั ภรี ม์ รณะ (Book of the Dead) มคี วามส�ำคญั ต่อชาวอียปิ ตโ์ บราณอย่างไร
- คมั ภรี ม์ รณะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความเชอื่ ของชาวอยี ปิ ตโ์ บราณเรอื งวญิ ญาณเปน็ อมตะ และโลกหนา้ โดยชาวอยี ปิ ต์
โบราณเช่อื วา่ เมอ่ื ตายไปแลว้ เทพเจา้ อะนูบิสจะมารบั ดวงวิญญาณ ของผู้ตายไปเขา้ เฝ้าเทพเจา้ โอซิริสในยมโลก
เพือ่ ให้พระองค์ตดั สินวา่ ควรจะไปดินแดนแหง่ เทพเจา้ หรอื ไม่ โดยใชว้ ธิ กี ารช่งั น้ำ� หนกั ระหว่าง หวั ใจของผตู้ ายกับ
ขนนกแหง่ ความเปน็ จริง ผทู้ ่ีท�ำความดจี รงิ ๆ เทา่ นั้นจึงจะได้ไปดินแดนใหม่ ดว้ ยเหตุน้ี พวกพระหรอื นกั บวชจงึ ได้
ท�ำคัมภรี ์มรณะออกมาขายเพือ่ ลบลา้ งความผดิ ของผตู้ าย โดยการเขียนใสก่ ระดาษปาปริ สุ เพอ่ื ใสต่ รงระหว่างขา
ของมมั มีหรือตรงฐาน โลงศพ ข้อความในคมั ภีรม์ รณะจะเปน็ คาถา อาคมป้องกันไมใ่ ห้วญิ ญาณเส่อื มสลาย บทรา่ ย
เวทมนตรซ์ ึ่งชว่ ยให้วิญญาณพน้ จากการถกู ขังในยมโลก บรรยากาศการตัดสนิ ต่อหน้าเทพเจ้า โอซริ สิ ในยมโลก
รวมถึงคำ� พูดทผ่ี ู้ตายควรพูด เมื่ออยตู่ ่อหนา้ เทพเจา้ โอซิริส กล่าวได้ว่า การซอ้ื คมั ภีร์มรณะถือเปน็ การซื้อ
ใบเบกิ ทาง ใหผ้ ตู้ ายไดเ้ ข้าสอู่ าณาจกั รของเทพเจ้าน่นั เอง
(หมายเหตุ - คำ� ตอบอาจอยูใ่ นดลุ ยพนิ ิจของครูผสู้ อน)
ษรุ พฐี ์ บญุ คง โรงเรียนจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย พษิ ณโุ ลก
50 เอกสารประกอบการเรียน ชุด อารยธรรมโบราณ
อารยธรรมโบราณ
เรอ่ื งท่ี ๒ อารยธรรมอยี ปิ ต์
ษุรพีฐ์ บญุ คง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พษิ ณุโลก