The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตะลุยแกรนด์แคนยอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Waratchaya Talapthong, 2020-02-20 22:36:05

ตะลุยแกรนด์แคนยอน

ตะลุยแกรนด์แคนยอน

ประวตั แิ กรนดแ์ คนยอน

แกรนดแ์ คนยอน (องั กฤษ: Grand Canyon) เป็ นดนิ แดน
หนิ ผาและหบุ เหว ซงึ่ หนา้ ผามคี วามสงู ถงึ 1,600 เมตร และหบุ เหว
ยาวถงึ 450 กโิ ลเมตร และกวา้ งโดยเฉลย่ี 15 กโิ ลเมตร อยทู่ าง
ตะวนั ตกเฉียงเหนือของรฐั แอรโิ ซนา สหรฐั อเมรกิ า ชาวยโุ รปผเู ้ ขา้
สารวจกลมุ่ แรกคอื พนั ตรี จอหน์ เวสลยี ์ พาวเวลล ์ และคณะเมอื่ ปี
ค.ศ. 1869 ปัจจบุ นั มนี ักทอ่ งเทยี่ วนับแสนคนในแตล่ ะปี

แกรนดแ์ คนยอนเกดิ ขนึ้ โดยอทิ ธพิ ลของแม่นา้ โคโลราโด
ไหลผ่านทร่ี าบสงู ทาใหเ้ กดิ การสกึ กรอ่ น พงั ทะลายของหนิ เป็ น
เวลา 990 ลา้ นปี มาแลว้ เดมิ ทแี มน่ า้ โคโลราโดมสี ภาพเป็ นลาธาร
เล็กๆทไ่ี หลคด เคยี้ วไป ตามทรี่ าบกวา้ งใหญท่ อ่ี ยู่ ระดบั เดยี วกบั น้า
ทะเล ตอ่ มาพนื้ โลกเรมิ่ ยกตวั สงู ขนึ้ อนั เน่ืองมาจาก แรงดนั และ
ความรอ้ นอนั มหาศาลภายใตพ้ นื้ โลกทท่ี าใหเ้ กดิ การเปลย่ี นรปู
และกลายเป็ นแนวเทอื กเขา กวา้ งใหญ่ การยกตวั ของแผ่นดนิ ทา
ใหท้ างทล่ี าธาร ไหลผ่านลาดชนั ขนึ้ และทาใหน้ ้าไหลแรงมากขนึ้
พดั เอาทรายและตะกอนไปตาม น้าเกดิ การกดั เซาะลกึ ลงไปทลี ะ
นอ้ ยในเปลอื กโลก วดั จากขอบลงไป กน้ หบุ เหวกวา่ 1 ไมล ์
(ประมาณ 1,600 เมตร) และอาจลกึ วา่ สองเทา่ ของความหนาของ
เปลอื กโลก กอ่ ใหเ้ กดิ หนิ แกรนิต หนิ ชน้ั แบบตา่ ง ๆ พนื้ ดนิ ทเี่ ป็ น
หนิ ทรายถกู น้า และลมกดั เซาะ จนเป็ นรอ่ งลกึ สลบั ซบั ซอ้ นนาน
นับลา้ นปี เป็ นแคนยอนงดงามน่าพศิ วงเน่ือง จากผลของดนิ ฟ้ า
อากาศ ความรอ้ นเย็นซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลรอบดา้ น

1

จดุ ชมววิ ทนี่ ่าสนใจของแกรนด ์ แคนยอน

ในปัจจบุ นั แม่น้าโคโลราโดยงั มกี ารไหลผา่ นทบ่ี รเิ วณหบุ เขาแก
รนด ์ แคนยอน ทาใหแ้ กรนด ์ แคนยอนยงั คงมขี นาดลกึ ลงเรอ่ื ย ๆ
ในทกุ ๆ ปี จากการกดั เซาะของแมน่ ้า โดยวดั จากขอบลงไป กน้
หบุ เหวมรี ะยะทางกวา่ 1 ไมล ์ (ประมาณ 1,600 เมตร) โดย
ประกอบดว้ ยหนิ ตา่ ง ๆ เชน่ หนิ แกรนิต หนิ ทราย หนิ ชน้ั แบบตา่ ง ๆ
ทลี่ มกดั เซาะจนเป็ นรอ่ งลกึ สลบั ซบั ซอ้ นนานเป็ นลา้ นปี

แกรนด ์ แคนยอนถอื เป็ นสถานทที่ อ่ งเทย่ี วทดี่ งึ ดดู นักทอ่ งเทยี่ ว
จานวนมาก ซง่ึ แบง่ ออกเป็ น 3 สว่ นดว้ ยกนั คอื ขอบผาดา้ นใต ้
ขอบผาดา้ นเหนือ และขอบผาดา้ นตะวนั ตก

สว่ นแรกคอื ขอบรมิ ผาดา้ นใต ้ (South Rim) สงู ประมาณ 2,000
เมตร เป็ นสถานทท่ี โี่ ดง่ ดงั และนักทอ่ งเทยี่ วเยอะทสี่ ดุ ประมาณ 5
ลา้ นคนตอ่ ปี บรเิ วณนีจ้ ะเป็ นววิ ทวิ ทศั นท์ จี่ ะเห็นแม่น้าโคโลราโด
สว่ นดา้ นบนจะเป็ นอาคารพพิ ธิ ภณั ฑข์ องชนพนื้ เมอื งเดมิ ทเี่ คย
อาศยั อยบู่ รเิ วณนี้

สว่ นทสี่ อง คอื ขอบผาดา้ นเหนือ (North Rim) สงู ประมาณ
2,500 เมตร เหนือระดบั น้าทะเล เป็ นสว่ นทหี่ ลาย ๆ คนเชอื่ วา่ มี
มุมมองทน่ี ่าสนใจกวา่ ขอบผาดา้ นใต ้ บรเิ วณนีม้ สี ภาพอากาศที่
แตกตา่ งกนั อยา่ งมาก เมอ่ื ถงึ ฤดหู นาวจะมหี มิ ะตกหนักจนไม่
สามารถเขา้ ไปได ้ ดงั น้ัน ฝ่ังนีจ้ ะเป็ นทนี่ ิยมมาในชว่ งฤดรู อ้ น
มากกวา่ ชว่ งเดอื นพฤษภาคมไปจนถงึ เดอื นตลุ าคม

2

สว่ นบรเิ วณขอบผาดา้ นตะวนั ตก (West Rim) จะเป็ นพนื้ ทขี่ อง
ชนเผา่ พนื้ เมอื ง และบรเิ วณนีจ้ ะเป็ นทต่ี ง้ั ของ Sky Walk ซง่ึ เป็ น
สะพานพนื้ กระจกทม่ี คี วามสงู ทส่ี ดุ ในโลก นักทอ่ งเทยี่ วสามารถ
เดนิ เขา้ ไปชนื่ ชมความสวยงามแกรนด ์ แคนยอนบนสะพานพนื้
กระจกรปู ทรงตวั ยนู ีไ้ ด ้ ซง่ึ สะพานกระจกนีไ้ ดถ้ กู ออกแบบเพอ่ื
รองรบั แรงสน่ั สะเทอื นของแผ่นดนิ ไหวไดม้ ากถงึ 8 รกิ เตอร ์ และ
สามารถทนตอ่ แรงลม
และพายไุ ด ้

3

แกรนดแ์ คนยอน (รฐั แอรโิ ซน่า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า)

แกรนดแ์ คนยอน คอื สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วยอดนิยมอกี แหง่ หน่ึง
ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า และมนี ักทอ่ งเทย่ี วเดนิ ทางมายงั ทแี่ หง่ นี้
ประมาณ 1,000,000 คนตอ่ ปี แกรนดแ์ คนยอนเป็ นทงุ่ ภเู ขาทแ่ี สน
แหง้ แลง้ และกวา้ งใหญ่ เป็ นสถานทที่ นี่ ่ามองดแู ละน่าเกรงขาม ไม่
วา่ ใครทเี่ คยไปเยย่ี มหบุ เขาและหว้ งเหวลกึ ทม่ี เี นือ้ ทที่ อดตวั ยาว
450 กโิ ลเมตร รอ่ งผามหมึ าทลี่ กึ ถงึ 1.6 กโิ ลเมตร และกวา้ งโดย
เฉลย่ี 15 กโิ ลเมตร หรอื แมแ้ ตไ่ ดเ้ ห็นเพยี งภาพถา่ ยกค็ งสมั ผสั ได ้
ถงึ ความยงิ่ ใหญแ่ ละความงดงามอยา่ งประหลาดของทงุ่ ภเู ขาแหง่ นี้
ดว้ ยวา่ เป็ นแผ่นผาหนิ แกรนิตทม่ี องเห็นเป็ นแถบลายทอดตวั เหนือ
แม่น้าโคโลราโด ซง่ึ คนทว่ั ไปน้ันตา่ งไดร้ จู ้ กั กนั ดใี นนาม “แกรนด ์
แคนยอน” อยใู่ นรฐั แอรโิ ซน่า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ดนิ แดนแหง่ ภผู าแหง่ นีถ้ กู พบโดยพนั ตรี “จอหน์ เวสลยี ์ เพาเวล”
และคณะ เมอ่ื ปี ค.ศ.1896 พวกเขาไปถงึ แกรนดแ์ คนยอนโดยทาง
เรอื ในวนั ท่ี 4 สงิ หาคม และพบวา่ แกรนดแ์ คนยอนเคยเป็ นพนื้ ท่ี
มหาสมุทรโบราณ มแี มน่ า้ อยู่ 2 สาย คอื แม่นา้ โคโลราโด และ
แม่น้าฮวั ลาปาอิ ทไี่ หลตดั เขา้ ไปในทร่ี าบสงู และไปพบกนั จน
กอ่ ใหเ้ กดิ แม่นา้ โคโลราโดสายใหมข่ นึ้ แม่น้าโคโลราโดเรมิ่ ไหล
กดั เซาะพนื้ ทนี่ ีเ้ มอื่ ประมาณ 6 ลา้ นปี กอ่ นมาแลว้ สภาพภมู ิ
ประเทศน้ันเป็ นการเกดิ จากการกระทาของธรรมชาติ จนทาใหเ้ กดิ

ความสวยงามแปลกตาจนทาใหแ้ กรนดแ์ คนยอนเป็ นแหลง่
ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตทิ เ่ี ป็ นทนี่ ิยมของนักทอ่ งเทยี่ วจากทว่ั ทกุ มมุ
โลก

4

หบุ ผาชนั แหง่ นีเ้ ปลย่ี นแปลงตามชว่ งและฤดกู าล บางครงั้ หากใคร
ไดไ้ ปทแ่ี กรนดแ์ คนยอน อาจจะมองเห็นสเี งนิ สที องเลอ่ื มระยบั เหนือ
หบุ เหวสนี า้ เงนิ เขม้ บางคราวเมอ่ื ถงึ ฤดใู บไมผ้ ลิ ไอหมอกหนาก็
เรมิ่ เสรมิ เสน่หใ์ หแ้ กรนดแ์ คนยอนเป็ นสวนสาธารณะทเี่ หมาะแก่
การเดนิ เลน่ ทา่ มกลางหมิ ะเปราะบาง

ความงดงามของแกรนดแ์ คนยอนนีย้ งั คงประทบั อยคู่ รู่ ฐั แอรโิ ซน่า
และดงึ ดดู นักทอ่ งเทย่ี วมากมายใหเ้ ขา้ ไปสมั ผสั ความมหศั จรรยท์ ี่
น่าตน่ื ใจ เพราะความอลงั การของหนา้ ผาหลากสที เ่ี ห็นตรงหนา้
เป็ นสงิ่ มหศั จรรยท์ อ่ี ยบู่ นโลกใบนีจ้ รงิ ๆ นักทอ่ งเทยี่ วทม่ี ายงั แกรนด ์
แคนยอนนีก้ จ็ ะมกี จิ กรรมตา่ งๆมากมาย ซงึ่ ทางเจา้ หนา้ ทน่ี ั้นคอย
ใหบ้ รกิ าร เชน่ การป่ันจกั รยาน การยนื ชมความงดความของหนา้
ผา หรอื ทเ่ี ป็ นจดุ เดน่ ทสี่ ดุ ของการทอ่ งเทย่ี วทแ่ี กรนดแ์ คนยอนนีก้ ็
คอื สะพานกระจกลอยฟ้ า ซงึ่ เป็ นสะพานทส่ี รา้ งมาเพอ่ื
นักทอ่ งเทย่ี วใหไ้ ดข้ นึ้ ไปชมววิ และทศั นียภาพทง่ี ดงาม ซง่ึ เป็ น
สะพานกระจกทมี่ ลี กั ษณะเป็ นรปู ตวั ยู ทถ่ี กู ออกแบบมาเพอื่ ให ้
นักทอ่ งเทยี่ วไดย้ นื หรอื เดนิ ชมความมหศั จรรยข์ องทน่ี ี่

5

อุทยานแหง่ ชาตแิ กรนดแ์ คนยอน

แกรนดแ์ คนยอน(Grand Canyon) ถกู คน้ พบ เมอื่ ปี

ค.ศ.1776 ปี เดยี วกบั ทอี่ เมรกิ าประกาศเอกราชจากองั กฤษ แตเ่ พง่ิ
มารวู ้ า่ มแี มน่ า้ โคโรลาโดไหลผ่านในปี

ค.ศ1857 แมน่ ้าโคโลราโด ไหลจากทศิ เหนือไปใตส้ ทู่ ะเลสาบมดี๊
ระยะทางประมาณ 200 ไมล ์ Grand Canyon ถกู จดั ใหเ้ ป็ นวน
อทุ ยานแหง่ ชาตขิ องสหรฐั

แกรนดแ์ คนยอนเกดิ ขนึ้ โดยอทิ ธพิ ลของแมน่ ้าโคโลราโด ไหล
ผา่ นทรี่ าบสงู ทาใหเ้ กดิ การสกึ กรอ่ น พงั ทะลายของหนิ เป็ นเวลา
225 ลา้ นปี มาแลว้ เดมิ ทแี ม่น้าโคโลราโดมสี ภาพเป็ นลาธารเล็กๆ
ทไ่ี หลคดเคยี้ วไป ตามทรี่ าบกวา้ งใหญ่ทอ่ี ยู่ ระดบั เดยี วกบั นา้ ทะเล
ตอ่ มาพนื้ โลกเรม่ิ ยกตวั สงู ขนึ้ อนั เนื่องมาจากแรงดนั และ ความ
รอ้ นอนั มหาศาลภายใตพ้ นื้ โลกทท่ี าใหเ้ กดิ การเปลยี่ นรปู และ
กลายเป็ นแนวเทอื กเขากวา้ งใหญ่ การยกตวั ของแผน่ ดนิ ทาให ้
ทางทลี่ าธาร ไหลผ่านลาดชนั ขนึ้ และทาใหน้ า้ ไหลแรงมากขนึ้ พดั
เอาทรายและตะกอนไปตาม นา้ เกดิ การกดั เซาะลกึ ลงไปทลี ะนอ้ ย
ในเปลอื กโลก วดั จากขอบลงไปกน้ หบุ เหวกวา่ 1 ไมล ์ (ประมาณ
1,600 เมตร ) และอาจลกึ วา่ สองเทา่ ของความหนาของเปลอื ก
โลก กอ่ ใหเ้ กดิ หนิ แกรนิต หนิ ชน้ั แบบตา่ ง ๆ พนื้ ดนิ ทเ่ี ป็ น หนิ
ทรายถกู นา้ และลมกดั เซาะ จนเป็ นรอ่ งลกึ สลบั ซบั ซอ้ นนานนับ
ลา้ นปี เป็ นแคนยอนงดงามน่าพศิ วงเนื่อง จากผลของดนิ ฟ้ า
อากาศ ความรอ้ นเย็นซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลรอบดา้ น

6

ทางตะวนั ตกของแมน่ า้ โคโลราโด มลี กั ษณะคดเคยี้ วไปมาน่า
สบั สนและเป็ นทตี่ ง้ั สว่ นหนึ่ง ของแกรนดแ์ คนยอนดว้ ย โดยยาวถงึ
150-200 ไมล ์ บรเิ วณนีเ้ ป็ นจดุ ทน่ี ักทอ่ งเทยี่ วใหค้ วามสนใจ มาก
ทสี่ ดุ จดุ หน่ึง ซง่ึ ก็คงเป็ นเพราะทศั นียภาพทแ่ี ปลกตาของความลกึ
ของหบุ เขาและลกั ษณะของ แมน่ า้ ทม่ี รี ปู รา่ งทรงกรวยและไหลเป็ น
หลน่ั ๆ ชนั้ ลงไปโดยเกดิ จากลาวาทที่ บั ถมจากภเู ขาไฟเมอ่ื หลาย
ลา้ นปี กอ่ น

7

บรเิ วณหนา้ ผาของแกรนด ์ แคนยอน แม่นา้ โคโลราโดไดเ้ ดนิ ทาง
มาบรรจบ กบั แมน่ ้า”เวอรจ์ นิ ” ซง่ึ เป็ นทต่ี งั้ ของทะเลสาบ “มดี๊ ” ดว้ ย
จดุ นี้ ไมเ่ พยี งแตเ่ ป็ นจดุ สนิ้ สดุ ของแกรนด ์ แคนยอนเทา่ น้ัน แตย่ งั
เป็ นจดุ สาคญั ทางธรณีวทิ ยาแหง่ หน่ึง อยา่ งดที ง้ั นีเ้ พราะสภาพ
บรรยากาศทแี่ ปลกแตกตา่ งจากทอี่ นื่ อยา่ งมาก เมอ่ื เปรยี บเทยี บ
กบั ทรี่ าบสงู โคโลราโดทางตะวนั ออก 2 จดุ นีเ้ ป็ นจดุ ทแี่ ตกตา่ งกนั
อยา่ งสนิ้ เชงิ ไมว่ า่ จะเป็ นในดา้ นของโครงสรา้ ง ภมู ศิ าสตร ์ หรอื
ประวตั ศิ าสตร ์

8

“แกรนดแ์ คนยอน” สง่ิ มหศั จรรยท์ างธรรมชาตขิ องโลก

สมยั เด็กเรยี นสปช.(สรา้ งเสรมิ ประสบการณช์ วี ติ ) คณุ ครสู อนวา่
การยกตวั โกง่ ตวั ดนั ตวั เลอ่ื นตวั ของเปลอื กโลก ทาใหเ้ กดิ ภเู ขา
สงู ขนึ้ มา แตส่ าหรบั “แกรนดแ์ คนยอน” ดนิ แดนมหศั จรรยท์ ห่ี ลาย
คนตติ๊ า่ งวา่ เป็ นภเู ขาน้ันไม่ไดเ้ กดิ จากการยกสงู ขนึ้ ของเปลอื ก
โลก แตเ่ ป็ นการถกู ธรรมชาตทิ าใหต้ ่าลงจนกลายเป็ นแนวหนิ ผา
สงู ชนั ขนาดใหญ่มหมึ า

“แกรนด ์ แคนยอน” (Grand Canyon) ตงั้ อยใู่ นรฐั แอรโิ ซนา
ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ความน่าอศั จรรยข์ องแกรนดแ์ คนยอนอยทู่ ี่
ความมหศั จรรยข์ องธรรมชาตทิ ย่ี งิ่ ใหญ่ โดยถอื กาเนิดจากการกดั
เซาะของกระแสน้า

9

ทดสอบความกลา้ ทา้ ความเสยี วกบั “สกายวอลก์ ” ทางเดนิ กระจกรูปเกอื กมา้

การจะรถู ้ งึ แหลง่ กาเนิดของ “แกรนดแ์ คนยอน” คงตอ้ งขอยอ้ น
อดตี กลบั ไปนานอกั โขในชว่ งหลายรอ้ ยลา้ นปี ทผ่ี ่านมา สายนา้
โคโลราโด (Colorado) ทมี่ สี ภาพเป็ นเพยี งลาธารเล็กๆไดไ้ หลคด
เคยี้ วตามทร่ี าบกวา้ ง ใหญ่ทอี่ ยรู่ ะดบั เดยี วกบั น้าทะเล ตอ่ มาพนื้
โลกเรมิ่ ยกตวั สงู ขนึ้ เนื่องมาจากแรงดนั และความรอ้ นอนั มหาศาล
ภายใตพ้ นื้ โลก ทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นรปู และกลายเป็ นแนว
หนา้ ผากวา้ งใหญ่

10

ซง่ึ การยกตวั ของแผ่นดนิ ทาใหท้ างทลี่ าธารไหลผ่านลาดชนั ขนึ้
และทาใหน้ ้าไหลแรงมากขนึ้ พดั เอาทรายและตะกอนไปตามนา้
เกดิ การกดั เซาะลกึ ลงไปทลี ะนอ้ ยๆในเปลอื กโลก การสกึ กรอ่ น
พงั ทลายของหนิ บวกกบั แรงลมและแสงแดดไดด้ าเนินมานาน
หลายลา้ นปี จนเกดิ เป็ น “แกรนดแ์ คนยอน” ภมู ปิ ระเทศอนั น่า
พศิ วงนี่เอง

11

ลอ่ งเรอื แมน่ า้ โคโลราโดชมววิ แกรนดแ์ คนยอน

สาหรบั ใครทไ่ี ดม้ าเยอื นยงั “แกรนดแ์ คนยอน” ดนิ แดนทถี่ กู ยก
ใหเ้ ป็ นหนึ่งในเจ็ดสง่ิ มหศั จรรยท์ างธรรมชาตขิ องโลกแหง่ นี้ จะตอ้ ง
ตะลงึ กบั ความอศั จรรยข์ องธรรมชาตทิ รี่ งั สรรคห์ บุ ผ่าสงู ชนั แหง่ นี้
ไดอ้ ยา่ งสงา่ งามน่าเกรงขามเป็ นทย่ี ง่ิ แตก่ อ่ นทน่ี ักทอ่ งเทย่ี วจะ
ไดม้ าเยอื นทแี่ หง่ นี้ ในอดตี แกรนดแ์ คนยอน เคยเป็ นผนื แผน่ ดนิ
ของชาวอนิ เดยี นแดง

ครง้ั แรกสดุ ทมี่ กี ารคน้ พบดนิ แดนแหง่ นีค้ อื เมอ่ื ปี พ.ศ.2083 โดย
นักสารวจชาวสเปน แตไ่ มเ่ ป็ นทส่ี นใจเทา่ ไรนัก ตอ่ มาในปี พ.ศ.
2319 นักบวชชาวสเปน 2 คนไดส้ ารวจเจอแลว้ เผยแพรข่ ่าวนี้
ออกไป ทาใหม้ ยี กั สารวจเดนิ ทางมายงั ดนิ แดนแหง่ นีม้ ากขนึ้

12

จุดชมววิ แกรนดแ์ คนยอนอนั สวยงามอกี แห่งหน่ึงทางฝ่ังใต ้

จนกระทง่ั ในปี พ.ศ.2412 พนั ตรี จอรน์ เวสลยี ์ เพาเวลล ์ (John
Westley Powell) และคณะอกี 9 คน ไดต้ ดั สนิ ใจลอ่ งเรอื ออก
เดนิ ทางสารวจดนิ แดนอนั น่าพศิ วงแหง่ นี้ แมส้ ภาพธรรมชาตทิ ี่
โหดรา้ ยมภี ยนั ตรายมากมายทง้ั โขดหนิ แกง่ หนิ และกระแสน้าอนั
เชย่ี วกราก ตลอดจนน้าวนทนี่ ่าสะพรงึ กลวั แตพ่ วกเขาบางคนก็
สามารถรอดตายมาไดร้ วมถงึ พนั ตรี จอรน์ เวสลยี ์ เพาเวลล ์ ดว้ ย
และการสารวจครง้ั นีเ้ องทที่ าใหพ้ วกเราไดร้ จู ้ กั “แกรนดแ์ คนยอน”
สดั สว่ นของ “แกรนดแ์ คนยอน” แหง่ นี้ กย็ ง่ิ ใหญไ่ ม่แพก้ ารกาเนิด
ของมนั โดยสงู จากระดบั น้าทะเลแตกตา่ งกนั ไปตง้ั แต่ 381-2,793
เมตร มคี วามกวา้ งตงั้ แต่ 2-24 กโิ ลเมตร และลกึ ประมาณ 1.6
กโิ ลเมตร รอยแยกระหวา่ งแนวผาของแกรนดแ์ คนยอนทม่ี แี มน่ ้า
โคโลราโดไหลผ่านกนั เหวมคี วามยาวถงึ ประมาณ 347 กโิ ลเมตร

13

หบุ ผาอายรุ าว 17 ลา้ นปี แหง่ นีป้ ระกอบไปดว้ ยหนิ เป็ นชน้ั ๆ ซงึ่ เป็ น
ลกั ษณะชนั้ ของหนิ ทถี่ กู แม่น้าตดั ผ่าน มอี ยปู่ ระมาณ 12 ชนั้ โดย
ชน้ั ลา่ งสดุ เป็ นชน้ั ทเี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ ชน้ั บนสดุ เป็ นชนั้ ทใ่ี หม่ทสี่ ดุ ตา่ ง
ก็มหี นิ มากมายหลายชนิดและมาจากหลากหลายยคุ ในแตล่ ะชน้ั มี
สสี นั แตกตา่ งกนั ไป สที เี่ ห็นออกไปทางสม้ แดง เหลอื ง แซมดว้ ยสี
น้าตาล และดา อนั เป็ นลวดลายทเ่ี ป็ นเอกลกั ษณข์ อง แกรนดแ์ คน
ยอน ยง่ิ ในยามกระทบแสงแดด บางบรเิ วณกจ็ ะแลเห็นเป็ นสนี ้าเงนิ
อ่อน สม่ี ว่ ง สแี ดง สเี ขยี ว สสี ม้ แลว้ แต่จงั หวะของแสง

14

คนและลอ่ ดูตวั จว๋ิ เมอื่ เทยี บกบั ภูเขาหนิ อนั แข็งแกรง่ ใหญโ่ ต

สาหรบั ดนิ แดนแหง่ หบุ เหวกวา้ งใหญแ่ หง่ นี้ ไดแ้ บง่ เป็ น 2 ตอน
ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ ขอบผาดา้ นเหนือ และขอบผาดา้ นใต ้ ทงั้ สองฝ่ังอยู่
หา่ งกนั เป็ นระยะทางเฉลย่ี กวา่ 16 กโิ ลเมตร โดยมหี บุ เขาตวั วี (V-
shaped valley) ทถ่ี กู กดั เซาะดว้ ยแม่นา้ คน่ั ระหวา่ งกลาง มคี วาม
ลกึ จากขอบหนา้ ผาลงไปถงึ แมน่ ้าดา้ นลา่ งถงึ 1,829 เมตร

15

ลอ่ งเรอื แม่น้าโคโลราโด อกี หนึ่งกจิ กรรมผจญภยั ทนี่ ่าลมิ้ ลอง

แกรนดแ์ คนยอนฝ่ังเหนือ หรอื “North Rim” สงู ประมาณ 2,500
เมตร เหนือระดบั น้าทะเล ดว้ ยความสงู ระดบั นีท้ าใหข้ อบผาดา้ น
เหนือมสี ภาพอากาศแตกตา่ งกนั อยา่ งมาก เมอ่ื ถงึ ฤดหู นาวหมิ ะจะ
ตกหนักจนไมส่ ามารถเดนิ ทางเขา้ ไปได ้ ดงั น้ันนักทอ่ งเทย่ี วจะนิยม

16

มาเยย่ี มชมแกรนดแ์ คนยอนฝ่ังเหนือนีใ้ นฤดรู อ้ นคอื ชว่ งเดอื น
พฤษภาคมไปจนถงึ เดอื นตลุ าคม
ทางฝ่ังเหนือนีม้ จี ดุ ชมววิ หลกั ๆอยู่ 2 แหง่ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ “พอยนท์
อมิ พเี รยี ล” (Point Imperial) ถอื เป็ นจดุ ทส่ี งู ทส่ี ดุ ในฝ่ังเหนือ คอื
ประมาณ 2,700 เมตร ววิ ในมมุ นีจ้ ะมองเห็นไดก้ วา้ งไกล รวมไปถงึ
ทะเลทรายหลากสี (Painted Desert) และป่ าสงวน (Navajo
Reservation) ดว้ ย อกี จดุ หนึ่งไดแ้ ก่ “แคพ รอยลั ” (Cape
Royal) อยสู่ งู ประมาณ 2,400 เมตร เหมาะสาหรบั เดนิ ชมววิ
ทวิ ทศั นไ์ ปตามขอบผาสงู ชนั ซง่ึ อาจเรยี กไดว้ า่ เป็ นจดุ ชมววิ ได ้
สวยทส่ี ดุ ในฝ่ังเหนือก็วา่ ได ้ และทแี่ คพ รอยลั ยงั มที จี่ อดรถ
กวา้ งขวางดว้ ย

17

แกรนดแ์ คนยอนจะเปลยี่ นบรรยากาศไปตามฤดกู าลและสภาพอากาศ
จดุ ชมววิ อน่ื ๆ ทขี่ นึ้ ชอ่ื ไดแ้ ก่ โทโรวพี ( Toroweap Overlook )
อยู่ ณ รมิ หบุ ผาชนั ทางดา้ นเหนือ กวา้ งประมาณ 800 เมตร หรอื
ที่ นอรธ์ ไคแบ็บ เทรล (North Kaibab Trail) ซง่ึ เป็ นทางแคบๆ
ผา่ นไปตามขอบเหวลกึ อยา่ งน่าตนื่ เตน้ หวาดเสยี ว

18

ววิ ทวิ ทศั นจ์ ากจดุ ชมววิ แคพ รอยลั

สว่ น แกรนดแ์ คนยอนทางฝ่ังใต ้ ทเ่ี รยี กวา่ “South Rim” สงู
ประมาณ 2,000 เมตร ทางฝ่ังนีจ้ ะเปิ ดรบั นักทอ่ งเทย่ี วตลอดทง้ั ปี
และสามารถเดนิ ทางไดส้ ะดวกจากลาสเวกสั มลรฐั เนวาดา้
นักทอ่ งเทย่ี วสว่ นใหญจ่ งึ ชมแกรนดแ์ คนยอนจากฝ่ังใตม้ ากกวา่
สาหรบั ววิ ทวิ ทศั นท์ างฝ่ังนี้ เบอื้ งลา่ งจะเห็นแมน่ ้าโคโลราโด สว่ น
ดา้ นบนสรา้ งเป็ นอาคารพพิ ธิ ภณั ฑต์ ามแบบของพวกชนพนื้ เมอื ง
เดมิ ทเ่ี คยอาศยั อยใู่ นบรเิ วณนีม้ ากอ่ น

19

หากใครทต่ี อ้ งการสมั ผสั ความเสยี วถงึ ขวั้ หวั ใจละ่ ก็ ขอใหล้ อง
จา่ ยเงนิ เพอ่ื พสิ จู นว์ ดั ใจตวั เอง ดว้ ยการเดนิ บน “สกายวอลก์ ”
(Skywalk) ทางเดนิ กระจกรปู รา่ งคลา้ ยเกอื กมา้ ยนื่ ออกมาจาก
ขอบผาไปประมาณ 21 เมตร เสมอื นการเดนิ บนอากาศดว้ ยระดบั
ความสงู กวา่ 1,220 เมตร เลยทเี ดยี ว ซงึ่ นอกจากความหวาดเสยี ว
แลว้ ยงั จะไดช้ มทศั นียภาพของแกรนดแ์ คนยอนแบบไม่เหมอื นใคร
อกี ดว้ ย

ววิ แกรนดแ์ คนยอนอนั สวยงามน่าเกรงขามจากจดุ ชมววิ พอยนท์ อมิ พเี รยี ล

และแน่นอนวา่ แกรนดแ์ คนยอน ยอ่ มตอ้ งมเี สน่หด์ งึ ดดู ผทู ้ ห่ี ลงใหล
ในการผจญภยั ซงึ่ ก็มเี สน้ ทางใหเ้ ลอื กเขา้ หา แกรนดแ์ คนยอนได ้
หลากหลายทงั้ อาทิ เสน้ ทางเดนิ เทา้ ลดั เลาะลงสเู่ บอื้ งลา่ งของหบุ

20

ผาและตลงิ่ ของแมน่ ้าโคโลราโด โดยการเดนิ ทางจากรมิ หนา้ ผา
ดา้ นบนลงไปถงึ แมน่ ้าโคโลราโดเบอื้ งลา่ งตอ้ งเดนิ เป็ นระยะทางกวา่
16 กโิ ลเมตร และมกี ารเปลย่ี นระดบั ความสงู ถงึ 1,220 เมตร ผูท้ ตี่ งั้
ใจจะเดนิ ลงไปขา้ งลา่ งจงึ ควรเผอื่ เวลาไว ้ 2 วนั โดยลงไปนอน
เต็นทด์ า้ นลา่ ง 1 คนื แลว้ จงึ คอ่ ยเดนิ กลบั ขนึ้ มาในวนั รงุ่ ขนึ้

หรอื หากเดนิ ไมไ่ หว กม็ ลี อ่ (mule) บรกิ าร นักทอ่ งเทย่ี วสามารถขี่
เจา้ ลอ่ ขนึ้ ลงเขาไดอ้ ยา่ งมน่ั ใจปลอดภยั เพราะเจา้ ลอ่ ทน่ี ี่เป็ น
ผูเ้ ชย่ี วชาญชานานทางเป็ นอยา่ งดี เรยี กไดว้ า่ ดกี วา่ คนดว้ ยซา้ แต่
พอลงจากลอ่ อาจตอ้ งเดนิ ขากางไปหลายวนั กเ็ ป็ นได ้
หรอื ใครชอบทางน้า ก็สามารถลอ่ งแกง่ ดว้ ยเรอื ยางไปตามแม่นา้
โคโลราโดทถ่ี อื วา่ เป็ นแกง่ ทยี่ ากทสี่ ดุ ในโลก ดว้ ยระยะทางยาวกวา่
400 กโิ ลเมตร น้าทไ่ี หลเชย่ี วผา่ นเกาะแกง่ หนิ มากกวา่ 150 แหง่
และนา้ วนทเี่ ดอื ดพลา่ นอยเู่ ป็ นแหง่ ๆ ทา้ ทายฝี มอื ของผรู ้ กั สนุก
พรอ้ มชมความสวยงามระหวา่ งเสน้ ทางสองฟากฝ่ัง และยงั ไดพ้ กั
คา้ งคนื ทา่ มกลางหบุ เขาสงู โอบลอ้ มอกี ดว้ ย ชา่ งคมุ ้ คา่ กบั ชวี ติ
จรงิ ๆ

21

คามรกู ้ อ่ นเทยี่ วแกรนดแ์ คนยอน
ประหลาดใจกบั ธรรมชาติ

ภมู ทิ ศั นแ์ ละความสงู ของหบุ เขา ทาใหม้ พี ชื และสตั วอ์ ยา่ งมากมาย
มหาศาล อุทยานแหง่ นีม้ นี ก 355 ชนิด สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนม 89
ชนิด สตั วเ์ ลอื้ ยคลานและสตั วค์ รงึ่ บกครงึ่ น้า 56 ชนิด ในพนื้ ท่ี
กวา้ งใหญ่คณุ สามารถพบสตั วเ์ หลา่ นีไ้ ด ้ เชน่ สงิ โตภเู ขา นก
อนิ ทรหี วั ขาว นกฮกู เหยย่ี วเพเรกรนิ ปลาเทราท ์ ปลาดกุ ปลา
กะพง คา้ งคาว สนุ ัขป่ า บเี วอร ์กบตน้ ไมแ้ คนยอน คางคกดา่ งแดง
คางคกภเู ขา และแรง้ คอนดอรแ์ คลฟิ อรเ์นีย ซงึ่ ใกลจ้ ะสญู พนั ธใุ ์ นปี
1930 แตใ่ นปัจจบุ นั ถกู พบอกี ครง้ั ในอทุ ยานฯ

พนั ธพุ ์ ชื ทโี่ ดดเดน่ เชน่ ตน้ เซกบรชั ตน้ สเนควที มนั สาปะหลงั
กลว้ ยและมนั สาปะหลงั ยคั กา ตน้ ขา้ วอนิ เดยี พุ่มไมส้ นี ้าตาลแดง
ตน้ เบอเซจนส์ ขี าว ดอกบที เทลิ บรชั ตน้ เวสเทริ น์ ฮนั นี่เมสกสี สนสี
ฟ้ า เฟอรด์ คั ลาส เฟอรส์ ขี าว และมพี ชื เกอื บ 2,000 ชนิด
เจรญิ เตบิ โตในอุทยานฯ แหง่ นี้

จดุ ถ่ายภาพ หอชมววิ นาฬกิ าทราย สงู 70 ฟตุ ทตี่ งั้ อยจู่ ดุ สงู สดุ
ทางของฝ่ังทางใต ้ ถกู ออกแบบในปี 1932 ใหม้ ลี กั ษณะคลา้ ยกบั

22

หอคอย pueblo และบรเิ วณหนา้ ผาถอื อกี หน่ึงจดุ ทด่ี ที สี่ ดุ ในการ
ชมทวิ ทศั น์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตอนพระอาทติ ยต์ ก

วางแผนลว่ งหนา้ ครอบครวั ทมี่ เี ด็กเล็กสามารถเดนิ เลน่ ระยะสนั้
ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย จากทางเดนิ แหลม เคป รอยอล ฝ่ังทางเหนือ คณุ
สามารถเดนิ จากจดุ เรมิ่ ตน้ ไปยงั Angels Window จากน้นั เขา้ สู่
เคป รอยอล ทซ่ี ง่ึ มรี ปู ป้ันและวดั หนิ ทกี่ อ่ ขนึ้ จากหบุ เขา

อาการกระหายนา้ สามารถเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดงั นั้นดม่ื
ของเหลวมากๆ กนิ อาหารรสเค็มอ่อนๆ และพกนา้ ไปดว้ ย สาหรบั
การเดนิ ทางกลบั น้ันหา้ มเดนิ ทางไกลในชว่ งทร่ี อ้ นทสี่ ดุ ของวนั

ถนน เฮอรม์ สี เป็ นถนนลาดยางและเขา้ ถงึ ไดส้ ะดวก ตดิ ตอ่
ศนู ยบ์ รกิ ารนักทอ่ งเทยี่ วเกย่ี วกบั พาหนะทสี่ ามารถเขา้ ถงึ หบุ เขาได ้
ซงึ่ จะมแี ตกตา่ งกนั ไปออกในแตล่ ะปี

การเดนิ ทางภายในหนึ่งวนั หากคณุ สามารถอดทนได ้ ลอง
วางแผนเทยี่ ว สกายวอรค์ ซง่ึ เป็ นระเบยี งกระจกทม่ี คี วามสงู จาก

23

พนื้ ของหบุ เขาถงึ 4,000 ฟุต โดยหา่ งจากเผ่าชนพนื้ เมอื งฮวาลา
ไพ ทอ่ี ยใู่ นเขตสงวนของ Grand Canyon West การเดนิ ทางใช ้
เวลาประมาณหา้ ชว่ั โมงจากฝ่ังทางใต ้ ของแกรนดแ์ คนยอน และมี
คา่ ธรรมเนียมเขา้ ชม การเดนิ ทางดา้ นอนื่ ๆ รวมถงึ การเยย่ี มชม
ทะเลสาบ Mead ของเนวาดาและ pueblos อายุ 900 ปี
เครอ่ื งปั้นดนิ เผาและอฒั จนั ทรท์ ช่ี าวอเมรกิ นั พนื้ เมอื งทงิ้ ไวท้ ่ี
อนุสรณส์ ถานแหง่ ชาติ Wupatki ในแฟลกสตาฟ รฐั แอรโิ ซนา

24

แอนเทอโลปแคนยอน
ดนิ แดนแสนพศิ วงท”่ี แอนเทอโลปแคนยอน” (Antelope
Canyon) ความมหศั จรรยข์ องผนื ดนิ ทม่ี กั เกดิ ขนึ้ ในหลายๆทขี่ อง
โลกใบนี้ โดยเฉพาะสง่ิ มหศั จรรยท์ ห่ี าไดเ้ กดิ ขนึ้ จากฝี มอื มนุษย ์
น่ันยงิ่ สรา้ งความอศั จรรยใ์ จใหก้ บั เราเป็ นอยา่ งมาก แอนเทอโล
ปแคนยอน กเ็ ป็ นอกี หนึ่งในสถานทที่ อ่ งเทยี่ วทสี่ าคญั ในเขตพนื้ ท่ี
ของชนเผ่านาวาโฮ เมอื งเพจ รฐั แอรโิ ซน่า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ในอดตี แคนยอนแหง่ นีเ้ กดิ จากการไหลผ่านของน้า ซง่ึ กดั เซาะชน้ั
หนิ จนกอ่ ใหเ้ กดิ การพงั ทลายมาเป็ นเวลานาน ปัจจบุ นั บรเิ วณ
ดงั กลา่ วไดก้ ลายเป็ นหบุ เหวคดเคยี้ ว ประดจุ ดงั เกลยี วคลน่ื
เวา้ แหวง่ ไปตามซอกหนา้ ผา

25

ไบรซ ์ แคนยอน (Bryce Canyon) รฐั ยูทาห ์

ภาพของเสาหนิ สแี ดง ทตี่ งั้ เรยี งรายอยทู่ า่ มกลางหบุ เขาสดุ กวา้ ง
ใหญ่ เป็ นสญั ลกั ษณท์ ท่ี าใหค้ นทว่ั โลกจดจาไบรซ ์ แคนยอน ได ้
อยา่ งดี โดยเสาหนิ ตา่ ง ๆ นีจ้ ะเรยี กวา่ Hoodoo ซงึ่ มมี ากทส่ี ดุ ใน
โลก การเกดิ ไบรซ ์ แคนยอนน้ันเกดิ จากลม พายฝุ น และหมิ ะท่ี
ละลายกลายเป็ นนา้ กดั กรอ่ นภเู ขาหนิ ทรายมานานหลายพนั ปี จน
กลายเป็ นเสาหนิ รปู ทรงแปลกตา สสี นั สดใสทงั้ แดง สม้ ชมพู
สลบั ซบั ซอ้ นมองไปไดไ้ กลสดุ ลกู หลู กู ตา ไม่วา่ จะฤดกู าลไหนทน่ี ่ีก็
สวยงามไม่แพก้ นั กลายเป็ นแลนดม์ ารก์ ทหี่ า้ มพลาดของอเมรกิ า
อกี หนึ่งแหง่ ไดอ้ ยา่ งสง่างาม

26

หางดง

เป็ นชอื่ สถานทที่ ่องเทยี่ วแห่งใหม่ของจงั หวดั เชยี งใหม่ แคน
ยอน เชยี งใหม่ นั้นมาจากทบี่ รเิ วณนีเ้ มอื่ 10 ปี ทแี่ ลว้ มกี ารขดุ
หนา้ ดนิ ขาย มคี วามลกึ ถงึ 15-20 เมตร จนกลายเป็ นบอ่ ดนิ
ขนาด 30 ไร่ เมอื่ หมดประโยชนจ์ งึ ปลอ่ ยใหน้ า้ ท่วมขงั เวลา
ผ่านไปหลายปี กลายเป็ นแอง่ นา้ ขนาดใหญ่ สเี ขยี วมรกต มคี นั
ดนิ สงู 20 เมตรคลา้ ยหนา้ ผา 3-4 หนา้ ผา ดูคลา้ ยกบั แกรนด ์
แคนยอน

27

แกรนดแ์ คนยอน อบุ ลฯ

ตงั้ อยทู่ บี่ า้ นหนองไหล ตาบลหนองขอน อาเภอเมอื ง จงั หวดั
อบุ ลราชธานี เดมิ เป็ นพนื้ ทบี่ ่อดนิ สาธารณะ มลี กั ษณะคลา้ ย
หนองน้ากลางป่ า จนมรี ถมาขดุ ดนิ ในบรเิ วณดงั กลา่ วไปทา
ถนน พอขดุ เจอน้าก็ยา้ ยไปขดุ บรเิ วณใหม่ จนเกดิ เป็ นหลมุ
ดนิ ขนาดใหญ่หลายหลมุ เรยี งตวั กนั สลบั ไปมา เกดิ เป็ นภาพ
สวยงามทชี่ วนแปลกตา นอกจากนีภ้ ายในหลมุ ดนิ แตล่ ะหลมุ
ยงั มบี อ่ น้าใส ขงั อยใู่ นหลมุ ดนิ แต่ละหลมุ อกี ดว้ ย

28

แกรนดแ์ คนยอน ขนอม
ตงั้ อย่ใู นอาเภอขนอม จงั หวดั นครศรธี รรมราช ไม่ไกลจาก
สวนปลาตอดตาสรรค ์ โดยตง้ั อยู่รมิ ถนนสงั เกตไดง้ ่ายมมาก
พนื่ ทโี่ ดยรอบมลี กั ษณะเป็ นลานหนิ และดนิ สขี าว มแี ท่งหนิ
รปู รา่ งแปลกตาทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตติ ่งั ตระหงานขนึ้ มา
โดดเด่นกลางแอง่ น้าสเี ขยี ว กลายเป็ นภาพทแี่ ปลกตา ทาใหผ้ ู ้
ทผี่ ่านไปมาในเสน้ ทางนีน้ ิยมแวะมาถ่ายภาพ เพราะมจี ดุ
ถา่ ยภาพน่าสนใจหลายมุม

29

แกรนดแ์ คนยอนหลม่ สกั
เป็ นความมหศั จรรยท์ เ่ี กดิ จากธรรมชาติ ตง้ั อยทู่ ี่ หมบู่ า้ นกกเดอ่ื
หมทู่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตวิ้ อาเภอหลม่ สกั จงั หวดั เพชรบูรณ์ ซง่ึ พนื้ ท่ี
ดงั กลา่ วมลี กั ษณะเป็ นภเู ขาดนิ และหนิ ทราย สงู ประมาณ 30
เมตร ถกู กดั เซาะจนเป็ นลวดลายทส่ี วยงามตามธรรมชาติ

30

แกรนดแ์ คนยอนครี ี
ตงั้ อยทู่ อี่ าเภอเมอื งชลบุรี แถวแยกครี ี ไม่ไกลจากหาดบางแสน
เป็ นเหมอื งหนิ เกา่ ทปี่ ัจจบุ นั ปิ ดทาการไปแลว้ แตด่ ว้ ยววิ ทส่ี วยงาม
มบี อ่ นา้ สเี ขยี วขนาดใหญ่รายลอ้ มดว้ ยหนิ และดนิ ทรี่ วมตวั กนั
คลา้ ยภเู ขาเล็กๆ มลี วดลายแปลกตา ทงั้ ในสว่ นขอววิ ทคี่ ลา้ ยแก
รนดแ์ คนยอน และกองหนิ ดนิ สขี าวเทาคลา้ ยภเู ขาหมิ ะ ทาใหม้ กี าร
พฒั นาพนื้ ทใ่ี หก้ ลายเป็ นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว และจดุ ถา่ ยภาพสุดคู
ลของชลบรุ ี

31

หาดชมดาว
หาดชมดาว ถอื เป็ น Unseen แหง่ ใหมใ่ นภาคอสี าน จะมงี าน
ประตมิ ากรรมจากธรรมชาติ คอื แนวโขดหนิ นอ้ ยใหญ่ทเ่ี กดิ ขนึ้ เอง
ตามธรรมชาติ ซง่ึ เกดิ จากการกดั เซาะของกระแสน้า ผ่านชอ่ งแคบ
ของแม่นา้ โขงทไี่ หลผ่านโขดหนิ จนทาใหเ้ กดิ ลวดลายทส่ี วยงาม
จนกลายเป็ นหาดชมดาวทกุ วนั นี้

32

สามพนั โบก
แกง่ หนิ กลางแมน่ า้ โขงทมี่ ลี กั ษณะอนั เป็ นเอกลกั ษณอ์ นั ประกอบ
ไปดว้ ยหนิ ทมี่ รี ปู รา่ งและขนาดอนั หลากหลายและสวยงาม จดุ เดน่
อยทู่ ร่ี หู นิ ทกี่ ระจายตวั อยทู่ ว่ั ไป ซง่ึ เป็ นทม่ี าของชอื่ “สามพนั โบก”
โบกเป็ นภาษาอสี านหมายความวา่ หลุม สามพนั โบกจงึ หมายถงึ
สถานทที่ เี่ ต็มไปดว้ ยหลมุ

33

ผาชอ่ อทุ ยานแหง่ ชาตแิ ม่วาง
แกรนดแ์ คนยอน "ผาชอ่ " ตงั้ อยใู่ นอุทยานแหง่ ชาตแิ มว่ าง เกดิ
จากกดั เซาะอยา่ งตอ่ เนื่องมานานหลายรอ้ ยปี ของนา้ ฝนและกระแส
ลม ซงึ่ ในอดตี แม่นา้ ปิ งเคยไหลผา่ นในบรเิ วณนี้ แตป่ ัจจบุ นั สายน้า
ไดเ้ ปลย่ี นทศิ ไป จนทาใหเ้ กดิ เป็ นแนวหนา้ ผาแกรนดแ์ คนยอนผา
ชอ่ ในทกุ วนั นี้ ซง่ึ ถอื เป็ น Unseen แหง่ ใหม่ทมี่ คี วามสวยงามใน
จ. เชยี งใหม่

34

กองแลน
แม่ฮอ่ งสอน นอกจากจะมถี นนคนเดนิ เมอื งปายทฮี่ ติ ตดิ ลมบนไป
แลว้ จงั หวดั แหง่ นีย้ งั คงมที เ่ี ทยี่ วดๆี ซอ่ นตวั อยอู่ กี มากมาย
อยา่ งเชน่ "กองแลน" ซง่ึ จะลกั ษณะเหมอื นเป็ นแกรนแคนยอน ซงึ่
เมอื่ มองลงไป...ก็จะเป็ นหนา้ ผาสงู มปี ่ าไมอ้ ยเู่ บอื้ งลา่ ง มกั เป็ นทชี่ นื่
ชอบของนักทอ่ งเทย่ี วชาวไทยและตา่ งชาติ

35

แพะเมอื งผี
วนอทุ ยานแพะเมอื งผี เป็ นพนื้ ทเ่ี นินเขาซงึ่ สงู กวา่ บรเิ วณอนื่ ๆ ซงึ่
เกดิ จาการพงั ทลายโดยการกดั เซาะตามธรรมชาตขิ องกระแสนา้
เป็ นเวลานาน จนทาใหพ้ นื้ ทบี่ างสว่ นมคี วามสงู ตา่ แตกตา่ งกนั
ออกไป

คอกเสอื

36

แกรนดแ์ คนยอนคอกเสอื มลี กั ษณะเป็ นแอง่ ดนิ ลกึ ลงไปจาก
พนื้ ดนิ .. ซงึ่ จากขา้ งบนนักทอ่ งเทยี่ วสามารถขนึ้ ลงไดโ้ ดยบนั ไดที่
ถกู สรา้ งขนึ้ ..แตอ่ าจจะไม่เหมาะกบั ผูส้ ูงอายุ บรเิ วณรอบๆ เรา
สามารถเห็นดนิ รปู ทรงแปลกตาทถ่ี กู กดั เซาะตามธรรมชาติ จนทา
ใหเ้ กดิ ลกั ษณะคลา้ ยเป็ นผนื ผา้ ม่านทมี่ คี ลนื่ ลอน และมจี ะมแี ทง่ ดนิ
ตา่ งๆ ทก่ี ระจายอยรู่ อบๆ

37

แกรนดแ์ คนยอน บา้ นควน
ไดร้ บั ความสนใจจากนักทอ่ งเทยี่ วและคนในพนื้ ทเ่ี ป็ นจานวนมาก
ตา่ งพากนั มาเทย่ี วชม ถา่ ยรปู ตกปลา เลน่ นา้ น่ังปิ คนิค และแวะ
มาเชค็ อนิ ถอื เป็ นอกี หนึ่งทเ่ี ทยี่ วของพทั ลงุ ทน่ี ่าสนใจ ลองไปแลว้
จะไมผ่ ดิ หวงั ดา้ นผูด้ แู ลพนื้ ทเี่ ปิ ดเผยวา่ มคี นมาเทยี่ วชมเป็ น
จานวนมาก จงึ ไดเ้ ตรยี มพฒั นาเป็ นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื สรา้ ง
รายไดใ้ หช้ มุ ชนในเรว็ ๆ นี้

38

ละลุ
“ละล”ุ เป็ นภาษาเขมร แปลวา่ “ทะลุ เป็ นปรากฏการณท์ าง
ธรรมชาตทิ เ่ี กดิ จากนา้ ฝนกดั เซาะ ยบุ ตวั หรอื พงั ทลายของดนิ เมอื่
ถกู ลมกดั กรอ่ นจงึ มลี กั ษณะเป็ นรปู ตา่ ง ๆ อาจมรี ปู รา่ งคลา้ ย
กาแพงเมอื ง หนา้ ผา บา้ งก็มลี กั ษณะเป็ นแทง่ ๆ ซงึ่ ในทกุ ๆปี ละลจุ ะ
เปลย่ี นรปู รา่ งไปเรอื่ ยๆ ตามแตล่ มและฝนทช่ี ว่ ยกนั ตกแตง่ ชน้ั ดนิ

39

แกรนดแ์ คนยอน ระนอง

แกรนดแ์ คนยอน ระนอง ตง้ั อยทู่ บี่ า้ นทงุ่ ทา่ คา ต.หาดสม้ แป้ น อ.
เมอื ง จ.ระนอง อยหู่ า่ งจากตวั เมอื งประมาณ 15 กโิ ลเมตร โดยใช ้
เสน้ ทางเดยี วกบั บ่อนา้ พรุ อ้ น
รกั ษะวรนิ และขบั ผ่านภเู ขาไปไม่ไกลกด็จะเห็นแอง่ น้าทแ่ี ปลกตา
เป็ นสเี ขยี วมรกตถกู โอบลอ้ มไปดว้ ยขนุ เขาทสี่ วยงาม นอกจากนี้
บรเิ วณรอบแกรนดแ์ คนยอน ยงั เป็ นสวนไม่รม่ รน่ื เหมาะสาหรบั มา
พกั ผอ่ นหยอ่ นใจสว่ นใหญแ่ อง่ นา้ สเี ขยี วมรกตยงั สามารถลงเลน่
ไดอ้ กี ดว้ ย

40

อนั ซนี คลองหนิ ดา แกรนดแ์ คนยอนแหง่ ชมุ พร

คลองหนิ ดา ตง้ั อยทู่ ต่ี าบลเขาคา่ ย อาเภอสวี จงั หวดั ชมุ พร ใกล ้
กบั วดั โรจดารหิ ์ (วดั คลองหนิ ดา) เป็ นคลองทเี่ กดิ จากการกดั เซาะ
ของลาธารมายาวนานหลายรอ้ ยปี หลายพนั ปี มรี ะยะทางยาว
มากกวา่ หน่ึงกโิ ลเมตร ไหลผ่านกลางระหวา่ งผาหนิ ปนู สดี าทง้ั สอง
ดา้ น โอบรอบดว้ ยความเขยี วขจขี องตน้ ไม ้ ใหค้ วามรม่ รน่ื ในชว่ ง
ปลายฝนตน้ หนาวประมาณเดอื นตลุ าคม ถงึ กมุ ภาพนั ธ ์ น้าจะใส
และเยอะมาก เหมาะสาหรบั การเลน่ กจิ กรรมลอ่ งแกง่ สนุกๆ

แกรนดแ์ คนยอนกาดเมอื งผี

41

“มตี านานลลี้ บั ทเ่ี ชอ่ื ถอื เล่าสบื ต่อกนั มาวา่ หากวนั ดคี นื ดชี าวบา้ นทอ่ี ยู่
ใกลเ้ คยี ง กาดเมอื งผี จะไดย้ นิ เสยี งตรี ะฆงั ตฆี อ้ ง ดงั กงั วาน ยง่ิ หากเป็ น
วนั พระ หรอื คนื วนั เพ็ญ จะไดย้ นิ เสยี งรอ้ งโหยหวนดงั ออกมาจากกาด
เมอื งผ”ี สถานทแี่ ปลกใหมท่ เี่ พงิ่ ถกู คน้ พบเมอื่ ไม่กป่ี ี มานี้ แตย่ งั ไม่เป็ นที่
รูจ้ กั ในกลุ่มนักท่องเทย่ี วมากนัก ทวา่ กาดเมอื งผมี คี วามน่าอศั จรรยค์ อื
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเป็ นหนิ ทรายทถ่ี กู กดั กรอ่ นมานานนับลา้ นปี
สนั นิษฐานวา่ เกดิ ในยุคเดยี วกบั แพะเมอื งผขี องจงั หวดั แพร่ แตก่ ลา่ วกนั
วา่ ทนี่ ี่มพี นื้ ทกี่ วา้ งใหญ่และวจิ ติ รอลงั การกว่ามาก

ผาสงิ หเ์ หลยี ว

42

หลายคนอาจจะยงั ไมร่ จู ้ กั สถานทแ่ี หง่ นีซ้ ง่ึ ตงั้ อยทู่ างตอนใตข้ อง
เชยี งใหม่ ในตาบลบา้ นตาล อาเภอฮอด โดยแกรนดแ์ คนยอน
เชยี งใหม่แหง่ นีเ้ กดิ จากการทรดุ ตวั ของแผน่ ดนิ จนเกดิ เป็ นรอย
ชน้ั หนิ อยา่ งชดั เจน ถอื เป็ นปรากฎการณท์ างธรรมชาตอิ นั สวยงาม
อยา่ งหนึ่ง ลกั ษณะทางธรณีวทิ ยาของทนี่ ่ีสว่ นมากจะเป็ นชนั้ ดนิ
เหนียวปนกรวดและหนิ

แกรนดแ์ คนยอนแมโ่ จ ้

43

ทน่ี ี่เป็ นบอ่ ดนิ แบบเดยี วกบั ทแ่ี กรนดแ์ คนยอนหางดง คอื เกดิ จาก
การตกั หนา้ ดนิ ไปขาย ขอ้ ดขี องทน่ี ี่คอื สามารถขมี่ อเตอรไ์ ซคไ์ ป
ถงึ ปลายขอบฝ่ังได ้ แตล่ งเลน่ น้าไม่ได ้ เพราะน้าลกึ มาก คนสว่ น
ใหญจ่ ะมาตกปลา ถา่ ยรปู น่ังกนิ ลมชมววิ เทา่ นั้น

44

แกรนดแ์ คนยอนเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร

ทศั นียภาพทแี่ ปลกตา เป็ นหบุ เขาลกึ สวยงามของแกรนด ์
แคนยอนน้นั เกดิ ขนึ้ จากอทิ ธพิ ลของแม่นา้ โคโลราโด โดย
แต่เดมิ พนื้ ทแี่ ห่งนีเ้ ป็ นบรเิ วณทรี่ าบสูงขนาดใหญท่ มี่ แี ม่นา้
โคโลราโดไหลผ่าน สภาพแม่นา้ มลี กั ษณะเป็ นลาธารขนาด
เล็กทคี่ ดเคยี้ วไปมา ต่อมาแผ่นเปลอื กโลกเกดิ การยกตวั
สูงขนึ้ ทาใหท้ รี่ าบสงู แหง่ นีเ้ กดิ การยกตวั กลายเป็ นแนว
เทอื กเขาขนาดกวา้ งใหญ่ การยกตวั นีส้ ่งผลใหแ้ ม่นา้
โคโลราโดเกดิ การไหลทเี่ รว็ และแรงมากยงิ่ ขนึ้ เนื่องจาก
แม่นา้ มกี ารไหลผา่ นพนื้ ทลี่ าดชนั จากการยกตวั ของแผ่น
เปลอื กโลก การไหลของนา้ จงึ แรงขนึ้ เมอื่ ประกอบกบั
ลกั ษณะของดนิ ทถี่ กู แสงแดดแผดเผาจนกลายเป็ นดนิ ทแี่ ข็ง
และไม่สามารถดดู ซบั นา้ ไดเ้ มอื่ ฝนตก นา้ ปรมิ าณมากและมี
กาลงั แรงจงึ กดั เซาะหนิ และดนิ ไปทลี ะนอ้ ย นอกจากนีย้ งั มี
การกระทาของลมทเี่ พมิ่ การกดั กรอ่ นหนิ และดนิ ต่อเนื่องกนั
มานานหลายลา้ นปี ทาใหก้ ลายเป็ นบรเิ วณรอ่ งหุบเขาลกึ
ของแกรนด ์ แคนยอนอยา่ งทเี่ ราเห็นในปัจจบุ นั

45

แกรนด ์ แคนยอน (Grand Canyon)

ตง้ั อยู่ในรฐั แอรโิ ซนา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ความน่า
อศั จรรยข์ องแกรนดแ์ คนยอนอยู่ทคี่ วามมหศั จรรยข์ อง
ธรรมชาตทิ ยี่ งิ่ ใหญ่ โดยถอื กาเนิดจากการกดั เซาะของ
กระแสนา้ การจะรถู ้ งึ แหลง่ กาเนิดของ “แกรนดแ์ คนยอน”
คงตอ้ งขอยอ้ นอดตี กลบั ไปนานอกั โขในชว่ งหลายรอ้ ย
ลา้ นปี ทผี่ ่านมา สายน้าโคโลราโด (Colorado) ทมี่ สี ภาพ
เป็ นเพยี งลาธารเลก็ ๆไดไ้ หลคดเคยี้ วตามทร่ี าบกวา้ ง ใหญ่
ทอี่ ย่รู ะดบั เดยี วกบั นา้ ทะเลตอ่ มาพนื้ โลกเรมิ่ ยกตวั สงู ขนึ้
เนื่องมาจากแรงดนั และความรอ้ นอนั มหาศาล ภายใตพ้ นื้
โลก ทาใหเ้ กดิ การเปลยี่ นรปู และกลายเป็ นแนวหนา้ ผาก
วา้ งใหญซ่ งึ่ การยกตวั ของแผ่นดนิ ทาใหท้ างทล่ี าธารไหล
ผ่านลาดชนั ขนึ้ และทาใหน้ ้าไหลแรงมากขนึ้ พดั เอาทราย
และตะกอนไปตามน้าเกดิ การกดั เซาะลกึ ลงไปทลี ะนอ้ ยๆใน
เปลอื กโลก การสกึ กรอ่ นพงั ทลายของหนิ บวกกบั แรงลม
และแสงแดดไดด้ าเนินมานานหลายลา้ นปี จนเกดิ เป็ น “แก
รนดแ์ คนยอน” ภมู ปิ ระเทศอนั น่าพศิ วงน่ีเอง

46

47

สาหรบั ใครทไ่ี ดม้ าเยอื นยงั “แกรนดแ์ คนยอน” ดนิ แดนท่ี
ถกู ยกใหเ้ ป็ นหนึ่งในเจด็ สง่ิ มหศั จรรยท์ างธรรมชาตขิ อง
โลกแห่งนี้ จะตอ้ งตะลงึ กบั ความอศั จรรยข์ องธรรมชาตทิ ่ี
รงั สรรคห์ ุบผ่าสงู ชนั แห่งนีไ้ ดอ้ ย่างสงา่ งามน่าเกรงขามเป็ น
ทยี่ ง่ิ แตก่ อ่ นทน่ี ักท่องเทย่ี วจะไดม้ าเยอื นทแ่ี หง่ นี้ ในอดตี

แกรนดแ์ คนยอน เคยเป็ นผนื แผ่นดนิ ของชาวอนิ เดยี แดง
สดั สว่ นของ “แกรนดแ์ คนยอน” แห่งนี้ กย็ ง่ิ ใหญไ่ ม่แพก้ าร
กาเนิดของมนั โดยสงู จากระดบั นา้ ทะเลแตกตา่ งกนั ไป
ตงั้ แต่ 381-2,793 เมตร มคี วามกวา้ งตง้ั แต่ 2-24

กโิ ลเมตร และลกึ ประมาณ 1.6 กโิ ลเมตร รอยแยกระหวา่ ง

48

แนวผาของแกรนดแ์ คนยอนทม่ี แี ม่นา้ โคโลราโดไหลผา่ น
กนั เหวมคี วามยาวถงึ ประมาณ 347 กโิ ลเมตร
หบุ ผาอายรุ าว 17 ลา้ นปี แหง่ นี้ ประกอบไปดว้ ยหนิ เป็ นชนั้ ๆ
ซงึ่ เป็ นลกั ษณะชน้ั ของหนิ ทถี่ กู แม่น้าตดั ผ่าน มอี ย่ปู ระมาณ
12 ชน้ั โดยชน้ั ล่างสดุ เป็ นชนั้ ทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ สว่ นชน้ั บนสดุ
เป็ นชนั้ ทใี่ หม่ทสี่ ดุ ตา่ งกม็ หี นิ มากมายหลายชนิดและมาจาก
หลากหลายยุคในแต่ละชน้ั ก็มสี สี นั แตกตา่ งกนั ไป สที เ่ี ห็น
ออกไปทางสม้ แดง เหลอื ง แซมดว้ ยสนี ้าตาล และดา อนั
เป็ นลวดลายทเี่ ป็ นเอกลกั ษณข์ อง แกรนดแ์ คนยอน ยง่ิ ใน
ยามกระทบแสงแดด บางบรเิ วณกจ็ ะแลเห็นเป็ นสนี า้ เงนิ อ่อน

49

สมี่ ่วง สแี ดง สเี ขยี ว สสี ม้ แลว้ แตจ่ งั หวะของแสง

50


Click to View FlipBook Version