The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อารยธรรมอียิปต์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุดารัตน์ ภู่ขาว, 2020-04-08 09:07:11

อารยธรรมอียิปต์

อารยธรรมอียิปต์

Keywords: อารยธรรมอียิปต์

วิถีโลก

อารยธรรมอยี ปิ ต์

________________

นายเรืองชัย ตามเพม่ิ (รปศ.) หมู่1

คานา

รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าวถิ ีโลกเพื่อใหไ้ ดศ้ ึกึ าา
หาความรู้เกี่ยวกบั อารยธรรมอียปิ ตแ์ ละไดศ้ ึึกาาอยา่ งเขา้ ใจเพื่อเป็ น
ประโยชนแ์ ก่การเรียน

ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ หนงั สือความรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่าน
หรือนกั เรียน นกั ศึกึ าา ทกี่ าลงั หาขอ้ มูลเร่ืองน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนาหรือ
ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาตอ้ งขอภยั ไว้ ณ ที่น้ีดว้ ย

ผจู้ ดั ทา
นายเรืองชยั ตามเพ่มิ

อารยธรรมอียปิ ต์

กาเนิดแห่งอาณาจกั รอยี ปิ ต์

• กาเนิดแห่งอาณาจกั ร ในราว 3200 ปี ก่อนคริสตกาล

ราชาแมงป่ อง (Scorpion king) ผคู้ รองนครธีส (This) อนั
ต้งั อยบู่ ริเวณตอนกลางแห่งลุ่มน้าไนลไ์ ดก้ รีฑาทพั เขา้ ยดึ
ครองนครรัฐต่างๆในอียปิ ตบ์ นและต้งั ตนเป็นฟาโรห์แห่ง
อาณาจกั รบน ราชาแมงป่ องปรารถนาจะรวมอียปิ ตเ์ ขา้
ดว้ ยกนั แตพ่ ระองคส์ ิ้นพระชนมเ์ สียก่อน โอรสของ
พระองค(์ ขอ้ น้ีนกั ประวตั ิศึาสตร์ยงั ไม่แน่ใจนกั แตจ่ าก
หลกั ฐานท่ีมีแสดงวา่ ท้งั สองพระองคน์ ่าจะเกี่ยวดองกนั )
นามวา่ นาเมอร์ (Namer)ไดส้ านตอ่ นโยบายและกรีฑาทพั
เขา้ โจมตีอียปิ ตล์ ่าง จนกระทงั่ มาถึงสมยั ของฟาโรห์เมเนส
(Menese) พระองคส์ ามารถผนวกท้งั สองอาณาจกั รเขา้
ดว้ ยกนั ไดส้ าเร็จและสถาปนาพระองคข์ ้ึนเป็นฟาโรห์
พระองคแ์ รกของอียปิ ตโ์ ดยต้งั เมืองหลวงที่ เมมฟิ ส
(Memphis) ซ่ึงอยตู่ อนกลางของลุ่มน้าไนล์ ฟาโรห์เมเนส
เป็นฟาโรห์องคแ์ รกแห่งราชวงศึท์ ี่หน่ึงของอียปิ ตโ์ บราณ

การเมืองการปกครอง

• ในสังคมอียปิ ตม์ ีการแบ่งออกเป็นสามชนช้นั คือ

ชนช้นั สูงไดแ้ ก่ เช้ือพระวงศึ์ นกั บวช ขนุ นาง ชนช้นั
กลางไดแ้ ก่ พอ่ คา้ เสมียน ช่างฝีมือ และชนช้นั ล่างคือ
พวกชาวนาและผใู้ ชแ้ รงงาน นอกจากฟาโรห์แลว้
บุคคลท่ีมอี านาจมากที่สุดคือหวั หนา้ นกั บวชของสุริย
เทพ รา ซ่ึงเป็นจอมเทพสูงสุด ในการบริหารงาน
ฟาโรห์จะมคี ณะเสนาบดีที่นาโดย วิเซียร์ (Vizier) ซ่ึง
เป็นตาแหน่งขนุ นางสาคญั เป็นผชู้ ่วย และส่งขา้ หลวง
(Nomarch) ไปทาหนา้ ที่ปกครองหวั เมอื งต่างๆ โดยข้ึน
ตรงต่อองคก์ าตั ริย์ ในยคุ อาณาจกั รเก่าน้ี อียปิ ตไ์ มม่ ี
กองทหารประจาการ แต่จะเกณฑพ์ ลเมอื งเขา้ กองทพั
เมอื่ เกิดสงคราม

ความเช่ือ

• เดิมทีก่อนการรวมแผน่ ดิน หวั เมืองต่างๆท้งั ใน

อียปิ ตบ์ น และ ล่าง ต่างนบั ถือเทพต่างๆกนั ต่อมาเมื่อ
รวมแผน่ ดินแลว้ กย็ งั คงความเช่ือแบบพหุเทวนิยม อยู่
โดยมี เทพเจา้ รา (RA) เป็นเทพสูงสุด ชาวอียปิ ตเ์ ช่ือวา่
พระองคเ์ ป็นผสู้ ร้างโลกและสวรรคร์ วมท้งั ส่ิงมชี ีวติ ท้งั
ปวง นอกจากเทพเจา้ ราแลว้ เทพท่ีชาวอียปิ ตน์ บั ถือกนั
มากไดแ้ ก่ เทพเจา้ โอซิริส เทพแห่งยมโลกผมู้ ีหนา้ ที่
ตดั สินดวงวญิ ญาณ, เทพีไอซิสเทพแี ห่งความอุดม
สมบูรณ์, เทพเจา้ เซ็ท เทพแห่งสงคราม, เทพฮี าธอร์
เทพีแห่งความรัก และเทพเจา้ ฮอรัส เทพผเู้ ป็นตวั แทน
ของฟาโรห์ทุกพระองค์ นอกจากน้ียงั มเี ทพอื่นๆที่ถือ
เป็นเทพเจา้ ประจาแต่ละเมอื ง

วถิ ีชีวิต

• ชาวอียปิ ตโ์ บราณดารงคช์ ีวติ ดว้ ยการกสิกรรม
โดยเฉพาะในเขตที่ราบน้าทว่ มถึงหรือท่ีเรียกวา่ เขตดินสีดา
ท่ีช่ือวา่ เคเมต เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ การเพาะปลูก
ไดผ้ ลดี พชื ผลที่ไดจ้ ะถือเป็นสมบตั ิของฟาโรห์และจะมี
การแจกจ่ายแก่ประชาชนอยา่ งเหมาะสม พืชท่ีนิยมปลูกกนั
คือขา้ วสาลีและขา้ วบาเลย่ ์ โดยพวกเขาจะใชข้ า้ วสาลีทา
ขนมปังและทาเบียร์จากขา้ วบาเล่ย์ ซ่ึงท้งั สองอยา่ งน้ีเป็น
อาหารหลกั ของชาวอียิปตโ์ บราณ และพืชผลเหล่าน้ียงั ใช้
เป็นสินคา้ ส่งออกไปยงั ดินแดนอื่นๆอีกดว้ ยนอกจากการ
เพาะปลูกแลว้ ชาวอียปิ ตย์ งั ทาการจบั ปลา ล่านกน้าและ
ฮิปโปโปเตมสั ในแมน่ ้าไนลโ์ ดยใชเ้ รือท่ีผูกจากตน้ กก ส่วน
ในเขตดินสีแดงท่ีเรียกวา่ เชเครต ซ่ึง อยูใ่ นเขตอียิปตบ์ น
พวกเขาจะทาการลา่ สตั วป์ ่ าอยา่ ง แอนทีโลป และแพะป่ า
ซ่ึงมีอยูม่ ากมาย บา้ นเรือนของชาวอียปิ ตส์ ร้างจากอิฐตาก
แหง้ และใชไ้ มท้ าส่วนประกอบอยา่ งกรอบประตูเน่ืองจาก
ในอียปิ ตไ์ มค้ อ่ นขา้ งหายาก บา้ นแต่ละหลงั จะมีบนั ไดข้ึน
ดาดฟ้าเน่ืองจากชาวอียิปตจ์ ะใชด้ าดฟ้าเป็นท่ีทางานตา่ งๆ
เช่นการทาขนมปัง หรือแมแ้ ตเ่ ป็นที่พกั ผอ่ นนงั่ คุย

อกั ารอียปิ ต์

• ชาวอียปิ ตใ์ ชอ้ กั ารภาพที่เรียกวา่ เฮียโรกลิฟฟิ ค

(Hieroglyphic) ซ่ึงมีท้งั แบบท่ีเป็นรูปภาพและ
แบบที่เป็นสัญลกั าณ์ประกอบเป็นคา โดยจะ
บนั ทึกลงในแผน่ หินและมว้ นกระดาาปาปิ รัสซ่ึง
ทาจากตน้ กก ตวั อกั ารอียปิ ตม์ ปี ระมาณ 1000 ตวั
ในสมยั ก่อน ผทู้ ี่สามารถอ่านเขียนอกั ารเฮียโรก
ลิฟฟิ คไดค้ ล่องแคล่วจะมโี อกาสไดท้ างานเป็น
อาลกั าณ์ ซ่ึงจะทาใหม้ ีโอกาสท่ีจะเล่ือนข้ึนเป็น
ขนุ นาง หรือนกั บวชสาคญั ได้ สาหรับอกั ารของ
อียปิ ตน์ ้นั นบั แต่อารยธรรมล่มสลายลงไปก็ไม่มี
ใครสามารถตีความได้ จนกระทง่ั ไดม้ กี ารคน้ พบ
ศึิลาจารึก โรเซทตา้ (ROSETTA) ในปี ค.ศึ. 1799
ท่ีมจี ารึกอกั ารเฮียโรกลิฟฟิ คกบั อกั ารกรีกโบราณ
เอาไว้ ฟรองซวั ส์ ชองโพลียอง ใชว้ ธิ ีการคน้ ควา้
โดยอ่านเทียบกบั อกั ารกรีกโบราณ และสามารถ
ตีความไดส้ าเร็จในปี 1822

การทามมั ม่ี

•ถูกทาข้ึนในสมยั ราชวงศึท์ ่ี4 และมีเร่ือยมา
จนถึงค.ศึ.641 ชาวอียปิ ตเ์ ชื่อวา่ หลงั จากที่มนุาย์ตาย
ไปแลว้ ดวงวิญญาณจะกลบั มาเกิดใหม่ในร่างเดิมจึง
ตอ้ งเกบ็ ร่างเอาไวเ้ พอื่ รอรับการเกิดใหม่ในยคุ
อาณาจกั รเกา่ เชื่อวา่ มเี พียงฟาโรหเ์ ทา่ น้นั ท่ีจะกลบั มา
คืน ร่างเดิมแต่ในสมยั ต่อมาการทามมั มี่ไดแ้ พร่หลายสู่
ขุนนางและสามญั ชนแมก้ ระทงั่ สตั วท์ เ่ี ป็นสญั ลกั ณ์
ของเทพเจา้ ในการทามมั ม่ีชาวอียปิ ตจ์ ะนาสมองและ
อวยั วะภายในออกจากศึพและนาศึพไปชาระลา้ งใน
แม่น้าไนลจ์ ากน้นั จะนาไปแช่ในน้ายานาตรอน
(Natron)ซ่ึงเป็นสารพวกsodium Carbonate โดย
เปล่ียนน้ายาทุกสามวนั และแช่ประมาณหกสิบวนั จน
ศึพแหง้ และนามาพนั ดว้ ยผา้ ลินิน ส่วนอวยั วะภายใน
และสมองจะนาไปผสมกบั เครื่องหอมและทาใหแ้ หง้
ดว้ ยสมุนไพรจากน้นั จึงนาไปดองในน้ายานาตรอน
ประมาณหน่ึงสปั ดาห์ก่อนจะนามาเกบ็ ในโถคาโนปิ ก
(Canopic) สี่ใบและนาไปเกบ็ รวมกบั หีบศึพในสุสาน
พร้อมขา้ วของเคร่ืองใชแ้ ละสมบตั ิเพ่ือรอการกลบั มา
ของวญิ ญาณ

พีระมิดยกั าข์ องฟาโรหค์ ูฟู

•พีระมิดยกั า์
เป็นสิ่งกอ่ สร้างท่ีมหศั ึจรรยท์ ี่สุด เดิมทีฟาโรห์จะสร้าง
หอ้ งเกบ็ พระศึพขนาดใหญ่เป็นสุสาน ตอ่ มาในสมยั
ของฟาโรห์โซเซอร์ แห่งราชวงศึท์ ี่สาม (2650ปี กอ่ น
ค.ศึ.) อิมโฮเทปท่ีปรึกาาของฟาโรห์ ซ่ึงเป็น
นกั ปราชญแ์ ละสถาปนิกที่มีความสามารถ ไดท้ าการ
ออกแบบ พีระมิดข้นั บนั ไดท่ีเรียกวา่ มาสตาบา
(Mastaba) ท่ีเมืองซกั คาร่าข้ึน นอกจากเป็นผูอ้ อกแบบ
พีระมิดแลว้ อิมโฮเทปยงั มีผลงานประพนั ธต์ ่างๆ
มากมายท้งั วรรณคดีและตาราเภสชั ศึาสตร์ ชาวอยี ปิ ต์
รุ่นหลงั นบั ถือเขาในฐานะเทพแห่งความรู้ หลงั จากยคุ
ของฟาโรหโ์ ซเซอร์ กไ็ ดม้ ีการสร้างพรี ะมิดข้นั บนั ได
ตอ่ มาและค่อยๆพฒั นากลายเป็นแบบสามเหลี่ยม โดย
พรี ะมิดที่มีช่ือเสียงที่สุดคือ พรี ะมิดยกั าข์ องฟาโรห์คูฟู
ที่เมืองกีซา ซ่ึงมีความสูงถึง 147 เมตรและไดช้ ่ือวา่ เป็น
พีระมิดที่ใหญท่ ่ีสุดในโลก

การต่างประเทศึ

ในยคุ อาณาจกั รเก่าอียปิ ตม์ ีการคา้ ขายกบั เพอ่ื น
บา้ น ท้งั ในเมโสโปเตเมีย (อยใู่ นตะวนั ออกกลาง)
และอาณาจกั ร นูเบียทางภาคใต(้ ปัจจุบนั คือ
ซูดาน)ในยคุ น้ีไม่มีการใชเ้ งิน การคา้ จะทาในแบบ
ของแลกของ โดยสินคา้ ออกสาคญั ของอียปิ ตค์ ือ
พืชผลทางการเกาตร แลกกบั สินคา้ พวกไมห้ อม
งาชา้ ง เครื่องแกะสลกั เป็ นตน้ แทบไม่มีหลกั ฐาน
ของการสงครามขนาดใหญใ่ นยคุ น้ีนอกจาก
หลกั ฐานการรบกบั พวกเรร่อนเบดูอิน
ในพรมแดนปาเลสไตน์สมยั ฟาโรห์เปปิ ท่ี1 แห่ง
ราชวงศึท์ ่ี6 กล่าวไดว้ า่ สงครามใหญ่เพยี งคร้ังเดียว
ของยคุ น้ีคือสงครามรวมชาติตอนตน้ ราชวงศึ์
ที่หน่ึงเทา่ น้นั

ศึิลปะอียปิ ต์

ศึิลปะอียปิ ตโ์ บราณ

ชาวอียปิ ตโ์ บราณมีศึาสนาและพิธีกรรมอนั
ซบั ซอ้ น แทรกซึมอยเู่ ป็ นวฒั นธรรมอยใู่ นสงั คมเป็น
เวลานาน มีการนบั ถือเทพเจา้ ท่ีมีลกั าณะอนั
หลากหลาย ดงั น้นั งานจิตรกรรม ประติมากรรมและ
สถาปัตยกรรมส่วนมาจึงเป็นเร่ืองเกี่ยวกบั ศึาสนา
พธิ ีกรรม โดยเฉพาะพธิ ีฝังศึพ ซ่ึงมีความเช่ือวา่ เม่ือ
ตายแลว้ จะยงั มีชีวติ อยใู่ นโลกใหม่ไดอ้ ีก จึงมีการ
รักาาศึพไวอ้ ยา่ งดี และนาสิ่งของเครื่องใชท้ ี่มีคา่ ของ
ผตู้ ายบรรจุตามลงไปดว้ ย

ลกั าณะงานจิตรกรรม
ของอียปิ ต์

งานจิตรกรรมของอียปิ ต์ เป็นภาพที่เขียนไวบ้ น
ฝาผนงั สุสานและวิหารต่าง ๆ สีท่ีใชเ้ ขียนภาพทา
จากวสั ดุทางธรรมชาติ ไดแ้ ก่เขม่าไฟ สารประกอบ
ทองแดง หรือสีจากดินแลว้ นามาผสมกบั น้าและยาง
ไม้ ลกั าณะของงานจิตรกรรมเป็นงานท่ีเนน้ ให้เห็น
รูปร่างแบน ๆ มีเสน้ รอบนอกท่ีคมชดั จดั ท่าทาง
ของคนแสดงอิริยาบถต่าง ๆ ในรูปสญั ลกั าณ์มากวา่
แสดงความเหมือนจริงตามธรรมชาติ มกั เขียน
อกั ารภาพลงในช่องวา่ งระหวา่ งรูปดว้ ย และเนน้
สดั ส่วนของสิ่งสาคญั ในภาพใหใ้ หญโ่ ตกวา่
ส่วนประกอบอ่ืน ๆ เช่นภาพของกาตั ริยห์ รือ
ฟาโรห์ จะมีขนาดใหญก่ วา่ มเหสี และคนท้งั หลาย
นิยมระบายสีสดใส บนพ้นื หลงั สีขาว

ลกั าณะงานประติมากรรม
ของอียปิ ต์

งานประติมากรรมของอียปิ ต์ จะมีลกั าณะเด่น
กวา่ งานจิตรกรรม มีต้งั แต่รูปแกะสลกั ขนาดมหึมา
ไปจนถึงผลงานอนั ประณีตบอบบางของพวก
ช่างทอง ชาวอิยปิ ตน์ ิยมสร้างรูปสลกั ประติมากรรม
จากหินชนิดตา่ ง ๆ เช่น หินแกรนิต หินดิโอไรด์
และหินบะซอลท์ หรือบางทีก็เป็นหินอะลาบา
สเตอร์ ซ่ึงเป็ นหินเน้ือออ่ นสีขาว ถา้ เป็ น
ประติมากรรมขนาดใหญ่กม็ กั เป็นหินทราย
นอกจากน้ียงั มีทาจากหินปนู และไมซ้ ่ึงมกั จะพอก
ดว้ ยปนู และระบายสีดว้ ย งานประติมากรรมขนาด
เลก็ มกั จะทาจากวสั ดุมีคา่ เช่น ทองคา เงิน
อิเลคตรัม หินลาปิ สลาซูลี เซรามิค ฯลฯ

ลกั าณะงานสถาปัตยกรรม
ของอียปิ ต์

สถาปัตยกรรมอียปิ ต์ ใชร้ ะบบโครงสร้างเป็นเสาและคาน แสดง
รูปทรงท่เี รียบง่ายและแขง็ ท่อื ขนาดช่องวา่ งภายในมีเล็กนอ้ ยและ
ตอ่ เนื่องกนั โดยตลอด สถาปัตยกรรมสาคญั ของชาวอียปิ ตไ์ ดแ้ ก่
สุสานทฝ่ี ังศึพซ่ึงมีต้งั แต่ของประชาชนธรรมดาไปจนถึงกาตั ริย์
ซ่ึงจะมีความวจิ ติ รพสิ ดาร ใหญโ่ ตไปตามฐานะ และอานาจ ลกั าณะ
ของการสร้างสุสานทเี่ ป็นสถาปัตยกรรมสาคญั แห่งยคุ กค็ อื ปิ รามิด
ปิ รามิดในยคุ แรกเป็นแบบข้นั บนั ได หรือเรียกวา่ มสั ตาบา ต่อมามี
การพฒั นารูปแบบวธิ ีการก่อสร้างจนเป็ นรูปปิ รามิดทีเ่ ห็นในปัจจุบนั
นอกจากน้ียงั มีการสร้างวหิ ารเทพเจา้ เพอ่ื ใชป้ ระกอบพิธีกรรมของ
นกั บวช และวหิ ารพธิ ีศึพ เพื่อใชป้ ระกอบพธิ ีศึพ ในสมยั อาณาจกั ร
ใหม่ (1020 ปี ก่อน พ.ศึ - พ.ศึ.510) วหิ ารเหล่าน้ีมีขนาดใหญ่โต
และสวยงาม ทาจากอิฐและหิน ซ่ึงนารูปแบบวหิ ารมากจากสมัย
อาณาจกั รกลางท่ีเจาะเขา้ ไปในหนา้ ผา บริเวณหุบผากาตั ริย์ และ
หุบผาราชินี ซ่ึงเป็นบริเวณทีม่ ีสุสานกาตั ริยแ์ ละราชินีฝังอยเู่ ป็น
จานวนมาก

ศึาสนาและวฒั นธรรม
อียปิ ต์

ศึาสนาของอียปิ ต์

ในปัจจบุ นั ในอียปิ ตป์ ระชากรส่วนใหญ่นบั ถือศึาสนาอิสลาม
ซ่ึงมีจานวน 94%ยงั มีศึาสนาคริสต์ นิกายคอปติกอีก 6% ในอิยปิ ตถ์ ือ
วา่ เป็นประเทศึท่คี ่อนขา้ งเคร่งศึาสนา พอสมควร เช่น ผหู้ ญิงตอ้ งสวม
ผา้ คลุมเวลาออกขา้ งนอก ตอ้ งละหมาดวนั ละ 5 เวลา และการถือสิน
อด ซ่ึงชาวอิยปิ ตค์ ่อนขา้ งปฏบิ ตั เิ คร่งครัด ในเมืองต่างๆยงั มีมสั ยสิ
มากมายเพื่อรองรับผศู้ ึรัทธาท่มี าสกั การะ พระอลั เลาะห์ผเู้ ป็นเทพ
สูงสุดของอิสลาม จานวนมาก แตใ่ นอดีตชาวอิยปิ ตโ์ บราณ ไดน้ บั ถือ
ศึาสนาของตนเองคือ การนบั ถือเทพเจา้ หลายองค์ เหล่าเทพน้นั มี
จานวนมากมายซ่ึงคอยดูแลสิ่งต่างๆของโลกและจกั รวาลเช่น ราห์
เทพแห่งพระอาทิตย์ ,โอซีริสเทพแห่งยมโลกและความตาย ,
อมุน-ราห์ คอื การรวมเทพของราชาเทพและเทพแห่งพระอาทิตย์
จนกลายเป็นเจา้ แห่งเทพ , อานูบิสเทพแห่งการทามมั มี่และฮาเธ่อร์
เทพแห่งความรัก ดนตรี ผหู้ ญิง เป็นตน้ เทพเหล่าน้ีมกั จะมีวหิ ารใหญ่
ท่ีฟาโรห์สร้างข้ึนอุทศิ ึอยา่ งใหญ่โต แตศ่ ึาสนาโบราณน้ีไดเ้ ส่ือมสลาย
หายไปเม่ือการเขา้ มาของศึาสนาคริสตแ์ ละอิสลาม

วฒั นธรรมอียปิ ต์

อารยธรรมอียปิ ตพ์ ฒั นาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้า
ไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิต
พืชผลทางการเกาตร พร้อมกบั พฒั นาอารยธรรมทาง
สงั คม และวฒั นธรรม พ้นื ท่ีของอียปิ ตน์ ้นั ลอ้ มรอบดว้ ย
ทะเลทรายเสมือนปราการป้องกนั การรุกรานจากศึตั รู
ภายนอก นอกจากน้ียงั มีการทาเหมืองแร่ และอียปิ ตย์ งั
เป็นชนชาติแรกๆท่ีมีการพฒั นาการดว้ ยการเขียน
ประดิาฐ์ตวั อกั ารข้ึนใช้

การบริหารอียปิ ตเ์ นน้ ไปทางสิ่งปลูกสร้าง และ
การเกาตรกรรม พร้อมกนั น้นั กม็ ีการพฒั นาการทางทหาร
ของอียปิ ตท์ ี่เสริมสร้างความแขง็ แกร่งแก่ราชอาณาจกั ร
โดยประชาชนจะใหค้ วามเคารพกาตั ริย์ หรือฟาโรห์
เสมือนหน่ึงเทพเจา้ ทาให้การบริหารราชการบา้ นเมือง
และการควบคุมอานาจน้นั ทาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

วฒั นธรรมอียปิ ต(์ ต่อ)

ชาวอียปิ ตโ์ บราณไมไ่ ดเ้ ป็นเพยี งแตน่ กั เกาตรกรรม
และนกั สร้างสรรคอ์ ารยธรรมเทา่ น้นั แต่ยงั เป็นนกั คิด, นกั
ปรัชญา ไดม้ าซ่ึงความรู้ในศึาสตร์ตา่ งๆมากมายตลอดการ
พฒั นาอารยธรรมกวา่ 3,000 ปี ท้งั ในดา้ นคณิตศึาสตร์,
เทคนิคการสร้างพรี ะมิด, วดั , โอเบลิสก,์ ตวั อกั าร และ
เทคนิคโลยดี า้ นกระจก นอกจากน้ียงั มีการพฒั นา
ประสิทธิภาพทางดา้ นการแพทย,์ ระบบชลประทานและ
การเกาตรกรรม อียปิ ตท์ ิ้งมรดกสุดทา้ ยแก่อนุชนรุ่นหลงั
ไวค้ ือศึิลปะ และสถาปัตยกรรม ซ่ึงถูกคดั ลอกนาไปใชท้ วั่
โลก อนุสรณ์สถานท่ีตา่ งๆในอียปิ ตต์ า่ งดึงดูดนกั ท่องเท่ียว
นกั ประพนั ธก์ วา่ หลายศึตวรราที่ผา่ นมา

สรุป

ชาวอียปิ ตโ์ บราณไมไ่ ดเ้ ป็นเพียงแตน่ กั เกาตรกรรม
และนกั สร้างสรรคอ์ ารยธรรมเท่าน้นั แตย่ งั เป็นนกั คิด, นกั
ปรัชญา ไดม้ าซ่ึงความรู้ในศึาสตร์ตา่ งๆมากมายตลอดการ
พฒั นาอารยธรรมกวา่ 3,000 ปี ท้งั ในดา้ นคณิตศึาสตร์,
เทคนิคการสร้างพรี ะมิด, วดั , โอเบลิสก,์ ตวั อกั าร และ
เทคนิคโลยดี า้ นกระจก นอกจากน้ียงั มีการพฒั นา
ประสิทธิภาพทางดา้ นการแพทย,์ ระบบชลประทานและ
การเกาตรกรรม อียปิ ตท์ ิ้งมรดกสุดทา้ ยแก่อนุชนรุ่นหลงั
ไวค้ ือศึิลปะ และสถาปัตยกรรม ซ่ึงถูกคดั ลอกนาไปใชท้ ว่ั
โลก อนุสรณ์สถานที่ตา่ งๆในอียปิ ตต์ า่ งดึงดูดนกั ทอ่ งเท่ียว

นกั ประพนั ธก์ วา่ หลายศึตวรราท่ีผา่ นมา ปัจจุบนั มีการ
คน้ พบวตั ถุใหมๆ่ ในอียปิ ตม์ ากมายซ่ึงกาลงั ตรวจสอบถึง
ประวตั ิความเป็ นมา เพอ่ื เป็ นหลกั ฐานให้แก่อารยธรรม
อียปิ ต์ และเป็นหลกั ฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป

นายเรืองชัย ตามเพม่ิ
รหสั นักศึกษา 16222099

สาขารัฐประศาสนศาสตร์


Click to View FlipBook Version