The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการและควบคุมการจราจร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NY Yokkie, 2022-07-11 11:23:40

การจัดการและควบคุมการจราจร

การจัดการและควบคุมการจราจร

Keywords: จราจร

การจดั การและการควบคุมการจราจร

การจดั การจราจร
หมายถึง การดําเนินการใดๆ ท่ีทําใหการใชถนนที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพสูงสุดดานการจราจร โดยอาจจะ
รวมถึงการปรับปรุงแกไขเล็กนอย เชน การทาสี ตีเสนแบงชองทาง การติดต้ังสัญญาณไฟ แตไมรวมถึงการกอสราง
ถนนใหมเพ่ิมเติม

การควบคุมการจราจร
หมายถงึ การปฏิบตั ิใดๆใหเ ปน ไปตามแผนการจดั การจราจรทไี่ ดก าํ หนดไวใ หด ที ีส่ ุด เหมาะสมทสี่ ุด

การจดั การและการควบคุมการจราจรเพื่อวัตถปุ ระสงคใ ด
1. เพอ่ื ความปลอดภยั ตอ ผใู ชถ นนรวมทงั้ คนเดินเทา
2. เพอ่ื ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ในการเรงระบายการจราจร
3. เพอ่ื ควบคุมทิศทางการระบายรถและคน
4. เพื่อความเปนระเบยี บเรียบรอย

การเตรยี มตัวในการควบคุมการจราจร
1. การเตรียมแตงกาย

1.1 สภาพรางกายแข็งแรงปกติ พกั ผอนใหเพียงพอ
1.2 เครื่องแตงกายและอุปกรณตางๆ สะอาดและถูกตอ งตามระเบียบ
1.3 ตรงตอเวลา
2. การเตรียมสภาพจิตใจ
2.1 จติ ใจตอ งแจม ใส,ปลอดโปรง,พรอมปฏบิ ัตงิ าน
2.2 มคี วามตนื่ ตัวฉบั ไว พรอมปฏิบัติงาน
2.3 มีความรับผิดชอบตอ งานทไ่ี ดร ับมอบหมาย

กอนการปฏิบตั ิการควบคมุ การจราจร
1. สอบถามและทาํ ความเขา ใจในหนาที่ทีไ่ ดรบั มอบหมายใหด ีและถูกตอ ง
2. สังเกต และสรางความคุนเคยตอบริเวณที่จะปฏิบัติหนาที่ เชน ทิศทางเดินรถประจําทาง ท่ีสวนทาง,

จุดเลย้ี ว หรอื กลบั รถ, ปายจราจรตางๆ เปน ตน
3. สงั เกต จดจําเวลา, รอบจังหวะ และทศิ ทางของสญั ญาณไฟจราจรท่แี ยกน้ันใหดี

-2 -

การยนื อํานวยการจราจร
1. ยืนในจุดท่ีมองเหน็ ถนนไดทุกดานเพ่ือมองเหน็ ปริมาณรถ แตล ะดา นมากนอ ยเพียงใด
2. เปนจดุ ที่ปลอดภัย ไมก ีดขวางการจราจร
3. ไมมีสง่ิ บดบังตัวเจาหนาที่ผูป ฏิบัติ อาจทําใหผ ขู บั ขี่รถมองไมเ หน็ เชน ตโู ทรศพั ท หรือเสาไฟฟา
4. ใหผ ขู ับข่ีรถยนตม องเห็นไดเ ดน ชัด เมื่อใหสัญญาณมือในการอํานวยการจราจร
5. เปนจดุ ทม่ี องเห็นสญั ญาณไฟจราจรหรือผคู วบคุมสญั ญาณไฟจราจร
6. ยืนอยูในที่เหมาะสม สงาผาเผย
7. งดการสบู บุหร,่ี หมากฝร่งั หรอื แสดงกริ ยิ าที่ไมเหมาะสม เชน บิดขเี้ กยี จ หรือหาวเรอ เปน ตน

การควบคุมการจราจรดวยสัญญาณมอื
1. กอนใชส ัญญาณมือตอ งดูจังหวะสัญญาณไฟจราจรใหถกู ตอง เม่อื อํานวยการจราจรตามจังหวะสัญญาณ

ไฟจราจรที่มผี คู วบคมุ สัญญาณไฟจราจรอยู
2. กอนหามรถดวยสัญญาณมือใหดูความเร็วของรถคันแรกและคันหลังรวมทั้งระยะหางรถที่จะหาม

เหมาะสมเพยี งพอกบั ระยะท่จี ะใหหยดุ หรือไม
3. ใหส ัญญาณมือ หรอื สญั ญาณเสยี งดว ยนกหวีด ใหผูข ับขเี่ ห็น และไดย ินในลักษณะที่เดน และชัดเจน
4. สงั เกตผูข ับขีว่ า มองเห็น และเขา ใจสญั ญาณมอื หรือไม
5. ยนื ในจุดที่เหมาะสม สามารถใหส ัญญาณมือเรงระบายในดา นอน่ื ได

การควบคมุ การจราจรในเวลาเชามดื และเวลาค่ํา
1. การแตง กายทผี่ ขู บั ขีเ่ ห็นไดด ีและชดั เจน เชน สวมเสอ้ื สะทอนแสง
2. ใชไฟฉายชวยในการใชสญั ญาณมือ
3. ใชส ญั ญาณดว ยเสียงนกหวีดใหด งั และยาวกวา ปกติ
4. ระมดั ระวังการยนื บรเิ วณจดุ ท่ีไมม แี สงไฟฟา สองสวา ง
5. ระมัดระวงั รถทไ่ี มเปด สัญญาณไฟสองสวา งหนารถแลน มาในเวลากลางคืน
6. ระวังผขู ับข่ีที่เมาสรุ า หรือหลบั ในอาดเกดิ อุบัติเหตใุ นการใหส ัญญาณมอื ได

สิ่งทค่ี วรระมัดระวังอ่นื ๆ
1. ควบคุมอารมณเ ม่ือถูกผใู ชร ถใชถนนตําหนิการปฏิบตั ิ เม่ือเกดิ การจราจรติดขัดมาก
2. ถูกซักถามหรือพูดจาประชดประชนั
3. เม่อื ปด การจราจรหรือเตรียมเสนทางบุคคลสาํ คญั ตา งๆ
4. การจราจรติดขัดเปนวงแหวน ตองเรงระบายคล่ีคลาย การจราจรในวงแหวน อาจทําใหดานอ่ืน

ไมเ คลอื่ นตวั หรือแบงเรงระบายนอยกวา

-3 -

5. สญั ญาณไฟจราจรขัดขอ ง ตอ งออกมาอํานวยการจราจรดว ยสัญญาณมือแทน
6. ภูมอิ ากาศแปรปรวน เชน ฝนตกน้ําทว มขงั เปน ตน

การปฏบิ ัตเิ ม่ือเหตุรถยนตข ัดขอ งบนถนน
1. รีบไปยังจุดทรี่ ถยนตข ัดของโดยดว น
2. หากกีดขวางชองการจราจรใหนําชิดขอบทางดานซายหรือบริเวณที่ไมกีดขวางการจราจร เชน ในซอย

ใกลเคยี ง หรือทางเวาเกาะกลางถนน เปน ตน
3. สอบถามสาเหตุท่ีขดั ของและสิ่งที่ตอ งการความชว ยเหลอื ชวยแนะนําอูซ อมเคร่อื งยนตใ กลเคียง
4. หากแกไขไมไ ดห รอื กดี ขวางการจราจรใหรถยกรบี นาํ พน การกดี ขวาง
5. เรงระบายจดุ ทีต่ ดิ ขดั เพราะสาเหตุดงั กลา วจนการจราจรคลีค่ ลายเปนปกติ

การปฏบิ ัตกิ รณีรถทําสิง่ ของตกหลน
1. รีบไปยังจดุ ทส่ี ่ิงของตกหลน
2. แจงสภาพทเ่ี กดิ เหตุวามีส่ิงใดตกหลน ตอ งการความชวยเหลอื จากหนว ยงานใด อยา งไร
3. หากท่เี กิดเหตุมบี รเิ วณกวา งเกิดการติดขัดมากใหข อกําลังสนบั สนุนเพื่อเรง ระบายการจราจร
4. กระจายกาํ ลงั ประจาํ จุด เพ่ือเรงระบายรถในจุดทีเ่ หมาะสมไมร วมจับเปน กลุม
5. ออกหนงั สือคาํ สัง่ ดําเนนิ คดีกับผูข บั ขี่ในกรณที เ่ี ปน การกระทําประมาทเลินเลอ

การปองกนั และแกไขจราจรติดขัด
การปองกนั มิใหก ารจราจรติดขัดเปนความรับผิดชอบรวมกันในหนาท่ีของรัฐซง่ึ เก่ียวขอ งกบั การวางผังเมือง

การกอสรางทาง การติดต้ังเครื่องหมายจราจรและสัญญาณจราจรตลอดจนเครื่องมือ เคร่ืองใชที่เกี่ยวของตางๆจึง
จําเปนทจี่ ะตองพจิ ารณา ดงั ตอ ไปน้ี

1. ใหการศึกษา หมายถึง การเรียนรูเก่ียวกับกฎหมายจราจร และกฎหมายอ่ืนๆท่ีเกี่ยวกับรถนั้น ตลอดจน
กฎแหงความปลอดภัยอบุ ตั เิ หตุ และการปอ งกนั ของผใู ชรถใชถ นน ทั้งทางตรงและทางออม เชน

- สาเหตกุ ารขัดของการจราจรในเมือง
- ความรเู บ้ืองตน เกีย่ วกบั อบุ ัตเิ หตุจราจร
- สาเหตกุ ารเกดิ อุบัติเหตุ และการจําแนกสาเหตุ
2. การวิศวกรรม หมายถึง การแกไขงานทางดานชาง เกี่ยวกับจราจร เชนการออกแบบ การควบคุมการ
กอ สรางถนนหนทาง วงเวียน สะพาน การแบง ชองทางเดนิ รถผิวจราจร ตลอดจนการพิจารณาตดิ ตงั้ ปา ยเครอ่ื งหมาย
บังคับการจราจร ปายเตือน ปายแนะนํา และปายประกาศตางๆ การกําหนดความเร็วกับสภาพถนนในทางโคง มุม
อับสายตาใหเหมาะสม เปนตน

-4 -

3. การบังคับตามกฎหมาย หมายถึง การตรวจตราและการจัดการจราจร เพื่อใหผูใชรถใชถนนไดปฏิบัติไป
ตามกฎหมายจราจร และกฎหมายอ่ืนๆ เกี่ยวกับรถนั้นโดยเครงครัด รวมท้ังการกวดขันจับกุมผูกระทําผิดกฎหมาย
เพื่อใหก ารจราจรเปนไปดว ยความสะดวกรวดเรว็ ประหยัด และปลอดภยั ตามเปาหมายของการแกป ญ หาจราจร

การแกไขหรือเพ่ือท่ีลดอุบัติเหตุบนทองถนน โดยการออกกฎหมายบังคับและกวดขันมิใหผูกระทําผิดข้ึน
จะตองมีการอบรมใหเขาใจถึงขอเท็จจริง ทั้งคนขับรถ และคนเดินเทาทราบภยันตรายเปนดีพอ จะไดเห็นไดวาใน
การศึกษา การวิศวกรรม การบังคับใหเปนไปตามกฎหมายยอมมีความสัมพันธกันเสมอ และในการแกไขในดานการ
บังคับตามกฎหมายควรพจิ ารณาจาก

- กฎหมายจราจร
- การควบคมุ รถยนต
- การควบคบุ ใบอนญุ าตขบั รถ
- เจา หนาทตี่ าํ รวจ
สวนหลักอีก 3 ประการตอไปนี้ จดั ไดวาเปน หลักแกไ ขปญ หาใหบรรลเุ ปาหมายทางบริหารคือ
4. การปะเมินผล หมายถึง การประเมินผลงานความถูกตองท่ีไดปฏิบัติไปแลววาบรรลุเปาหมายที่วางไว
เพยี งใด การควบคมุ การประเมินผลงาน กเ็ พ่อื จะใหก ารวางแผนนโยบายขัน้ ตอไป ไดด ีเพราะรจู ุดบกพรอง
5. การรวมมือประสานงาน หมายถึง การประสานงานระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวของในดานการแกปญหา
การจราจรติดขัด และการปองกันอุบัติเหตุในทองถนน เชน ทาง กทม. เทศบาล กรมโยธาธิการ กรมทางหลวง
กระทรวงมหาดไทย ซ่ึงมีหนาท่ีดําเนินการเก่ยี วกับวิศวกรรมจราจร และกองตํารวจจราจร กองตํารวจทางหลวง ซง่ึ มี
หนาทใ่ี นการกวดขนั การปฏิบัตติ ามกฎหมาย เปน ตน
6. ความพยายามกระทํารวมกัน หมายถึง ความพยายามแกไขสิ่งที่ยังไมเปนตามเปาหมายที่วางไว ซึ่งยัง
ขาดปจจยั บางอยางท่ีจะสนบั สนุนและตองใชเวลาเปล่ียนแปลง เชน วัฒนธรรมการใชรถใชถนนของคนไปกรุงเทพฯ
เปนตน โดยมี “สํานักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก” ข้ึนอยูกับสํานักนโยบายและแผนมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย เปนผวู างแผนการแกป ญ หาจราจร ทง้ั ปแผนระยะสนั้
ขอเสนอแนะเกีย่ วกับการแกไขปญ หาจราจร ที่ควรปรบั ปรุงแกไ ข โดยมหี ัวขอ เสนอแนะดงั น้ี

1.ปญ หาเก่ียวกบั คน
- เกีย่ วกบั การศึกษา
- เกีย่ วกับการบรหิ ารงานดานจราจร
- เก่ยี วกบั อบุ ัตเื หตแุ ละความปลอดภัย
2. ปญ หาเก่ยี วกับถนนและสภาพแวดลอ ม
- ในดานการสาธารณูปโภค
- การควบคมุ การจราจร
- เสนอใหมีการออกแบบถนนใหเหมาะสม

-5 -

- กอ สรางทางดวน
3.ปญหาเก่ียวกับยานพาหนะและการขนสง
- จดั ทาํ ชอ งทางสําหรบั รถโดยสารประจาํ ทาง
- รถไฟฟา
- รถใตดิน
4.ปญ หาเก่ยี วกบั ผงั เมืองและการขยายเมือง
- การกาํ หนดนโยบายและแผนการจราจร
- กาํ หนดแนวอาคารตามถนนและทางแยกตา งๆ
- ขยายเขตการบรหิ ารของกรงุ เทพมหานคร

การปอ งกันและแกไ ขจราจรเมื่อรถตดิ
การควบคุมระหวางทางแยก หนา ท่ีของผูควบคมุ การจราจรระหวางทางแยกตามธรรมดาคือการปองกนั การ

ขัดของในการจราจรระหวางทางแยก มีหนาท่ีปองกันตนเหตุท่ีจะทําใหการจราจรขัดของ เชน การจอดรถซอนกัน
จอดรถในทีห่ า มจอด หรือหยดุ รถขนของข้ึนลงในทีไ่ มสมควรหรือในลักษณะทกี่ ดี ขวางการจราจรของรถอนื่

การควบคุมเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน การจัดการจราจรในขณะท่ีมียวดยานนอย หรือการจราจรกําลังเดินสะดวก
อยูน้ันไมเปนปญหา แตในบางขณะจํานวนยวดยานแลนมามากข้ึนทุกที นี่แหละเริ่มเกิดปญหาขึ้นแลว ตอไป
ยวดยานจะเริ่มแออดั กันจนกระทั่งมองเห็นชัดๆ วาถา มีรถเพ่ิมเขามาอีกสัก 2 คันเทานั้น ทางแยกน้ันจะใชไมไดแลว
รถจะติดกันหมด หนาท่ีของตํารวจจราจรจะหนักขึ้นทุกที ฉะนั้นตํารวจจราจรจะตองรูและรีบจัดการแกไขโดยดวน
ปองกนั อยา ใหเ กิดการขัดของโดยการท่ยี วดยานตอ งอัดกนั แนน ได

ฉะน้ัน จึงขอแนะนําหัวขอไวใหทราบบางเพ่ือเปนทางชวยเหลือในการปองกันเหตุยัดเยียดดังกลาวแลว
ขางตน

1.ระวังทางออกของทางแยกใหจงหนัก ถาเห็นวาท่ีวาง จะมีรถปดทางออกเสียดวยประการใดๆ ก็ดีตองรีบ
จัดการแกไขอยาใหมกี ารกีดขวางทางออกได มฉิ ะนน้ั การจราจรจะชะงกั หมด

2.คอยสงั เกตการจราจรทุกดาน ถาเห็นวา การจราจรทิศหนึ่งมีรถแลนตามกนั มายาวเกินไปไมเปดโอกาศให
รถในทางตดั ซ่ึงหยุดรออยูไดผานไปบาง กต็ องหามใหดานท่ีเดินหยุดเสียชั่วคราวใหรถท่ีหยุดรออยใู นทางแยกตรงกัน
ขา มไดเ คลอื่ นไป เพอ่ื ขยบั ขยายรถบา ง

3.ตํารวจจราจรตองไมเผลอ ตองต้ังใจคอยระวังหนาที่ของตนอยางเครงครัดเสมอ ตองคอยสังเกต ตอง
คาดคเนการในหนาท่ีอยูตลอดเวลา ถาเห็นวานาจะเกิดการขัดของข้ึนเมื่อใดตองรีบจัดการทันที อยาใหเกิดการ
ขัดของขึ้นกอนได เพราะการแกภายหลังยอมตองใชเวลาและเสียแรงมากกวาการปองกันไวกอน และบางคร้ังยาก
มากดวย

-6 -

ขอใหจาํ ไวว า
1.ในบริเวณทางแยก ตองควบคุม อยาใหม ีรถหยุดขวางอยเู ปนอันขาด จะเนือ่ งจากเหตุใดๆกต็ ามตองรักษา
บริเวณทางแยกใหวางอยเู สมอ เวนแตขณะท่ีรถกําลงั แลน ผานเทา น้นั
2.ทางออกของรถจากทางแยก ตองใหวางเชนเดียวกัน ขอสําคัญท่ีสุดอยายอมใหรถที่หยุดรอหยุดลํ้าแนว
เสนกลางถนน และระวังถามที างแยกตองใหวางเชนเดียวกัน และถาหากวามีทางแยกท่ีติดตอกัน รถท่รี อสญั ญาณหรื
อตกิ ารขดั ขอ งอยทู างแยกหน่ึง อาจมจี ํานวนมากและยาวเหยียดไปปดทางออกของอีกทางหน่ึงก็ได ตองรีบปอ งกันไว
ใหทันการเสมอ การเลี้ยวของรถในโอกาศน้ันก็เชนเดียวกัน ตองดูใหแนวารถนั้นจะเลี้ยวออกไดตลอดรวดเดียว ไม
ควรยอมใหรถเลี้ยวไปหยุดขวางถนนแลวถอยหลังกลับไปมา เพื่อต้ังตัวเขาชองทางท่ีจะไปอีกตอหนึ่ง การกระทํา
อยางน้ีจะกอใหเกิดการชะงักของรถที่ตามกันไปและจะเปนการเริ่มตนใหเกิดการยัดเยียดกันจนขยับตัวไมได ถา
ขบวนท่ีตามไปน้ันในระยะกระชั้นชิดและมีจํานวนมากดวยแลวย่ิงเปนการเรงใหเกิดการขัดของรวดเร็วและแนน
ยงิ่ ข้นึ
3.การกีดขวางหรือการขัดของ ตามบริเวณตอเนื่องกับทางแยกก็เปนเหตุสําคัญอีกเหตุหน่ึงท่ีจะทําให
การจราจรตรงทางแยกเกิดขัดของขึ้น เชน รถเสียดสีกัน หรือกระทบกัน คนขับรถหยุดรถขวางทางโตเถียงกัน เปน
ตน เร่ืองเชนนี้ผูควบคุมทางแยกจะตองคอยระวัง มิฉะน้ันรถท่ีออกจากทางแยกตามๆกันไป และแลนไปไมตลอดจะ
หยดุ กันจนปด ทางออกของทางแยกนนั้ ทั่วไปก็ได ฉะน้นั ผคู วบคุมทางแยกซ่งึ อยใู กลก ันเชน น้จี ึงตองทํางานสมั พันธก ัน
และใหสัญญาณอยา งเดยี วกันเสมอ

การปฏบิ ตั ิหนา ทีข่ องพนกั งานรักษาความปลอดภยั รับอนุญาตเม่ือเกดิ อุบตั เิ หตุ
อบุ ัตเิ หตุ หมายถงึ เหตทุ ่ีเกิดขึ้นโดยไมคาดคิด หรอื โดยความบังเอญิ ถึงแมเกิดขึ้นโดยการกระทําของบุคคล

โดยต้ังใจหรอื ไมตงั้ ใจก็ตาม

การปองกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละวิธปี ฏบิ ตั ิเม่อื เกิดอุบัติเหตุ ดงั น้ี
1. ลักษณะของอุบัติเหตุ เกดิ ขน้ึ รวม 3 อยา ง ดงั นี้
1.1 เกิดจากการชนกันบนถนน อุบัติเหตุชนิดน้ีเกิดขึ้นมากท่ีสุดในการจราจรของประเทศไทยสวนใหญ

เปนการชนกนั ระหวางรถยนตกับรถยนต หรือรถยนตก ับรถจักรยานยนต หรือรถยนตกับคน เปนตน ผลกระทบของ
อุบัติเหตุบนถนนคือ การจราจรติดขัดในกรณีเกิดข้ึนในกรุงเทพฯ หรือตามจังหวัดตางๆท่ีมีรถยนตใชกันมาก เชน
หาดใหญ นครราชสีมา เชียงใหม เปน ตน

1.2 รถพุงออกนอกถนน กรณีนอ้ี าจเกดิ ขนึ้ จากความประมาทของผูขบั ขีเ่ อง หรืออาจเกดิ จากเคร่ืองยนต
ขัดของ และในปจจุบันเกิดจากการแขงรถโดยใชความเร็วสูงบนถนนของวัยรุน ทําใหเกิดอุบัติเหตุลักษณะเชนน้ีได
เชน กนั

1.3 รถคว่ําหรอื มีเหตุการณท่ีไมไดเกี่ยวกับการชนบนถนนกรณีรถควา่ํ เปนอบุ ัติเหตุลักษณะหน่ึงแตเปน
ลกั ษณะเฉพาะตัว สวนเหตกุ ารณท ่ีไมไ ดเกย่ี วกบั การชนบนถนน เชน ผูขับขเ่ี มาสรุ าในขณะขบั รถยนต

-7 -

2. ชนดิ ของอบุ ัตเิ หตุ แบง ออกเปนชนิดใหญๆได 2 ชนิด
2.1 รถยนตชนกับสิง่ ตา งๆ มี 9 ชนดิ ดังนี้
ก. คนเดินถนน คนเดินเทา สวนใหญเกิดจากการเรงรีบในการเดินทางหรือไมรูกฎหมายจราจร

หรอื สภาพรถยนตไมด เี พียงพอ และสง่ิ สาํ คญั อยทู ีผ่ ูขับขรี่ ถเปนสําคัญ
ข. ชนรถอ่ืนหรือรถชนรถ กรณีนี้เกิดจากความประมาทเสียสวนใหญ สภาพของรถยนตหรือขับรถ

ผิดกฎจราจร
ค. รถไฟ เกิดขึ้นนอยมากเพราะรถไฟมีเสนทางการเดินรถท่ีแนนอน ในทางปฏิบัติ เกิดจากผูขับรถ

ประมาทไมชะลอรถหรือรอใหรถไฟผานไปกอน กลับขับรถตัดผานทางรถไฟจึงเกิดอุบัติเหตุขึ้นดังกลาวหรือผูขับข่ี
หยอนความสามรถ เชน เมาสรุ า สิ่งเสพตดิ หรอื สง่ิ มนึ เมา หรือปว ยก็ได

ง. รถราง ปญหานี้คงไมมีเกิดข้นึ ในเมอื งไทยเพราะประเทศไทยเลิกใชรถรางแลว
จ. รถจักรยาน
ฉ. ลอ เลือ่ น ลากเขน็ ดว ยคนหรือสัตว อุบัตเิ หตชุ นดิ นี้เกิดขึ้นในบริเวณชนบทในตา งจงั หวัดเสียเปน
สวนใหญ ท้ังนี้เกิดจากความไมรูกฎจราจรของผูขับขี่ลอเล่ือน หรืออาจจะติดนิสัยที่นําลอเลื่อนทําการลากเข็นบน
ถนน หรือไมต ิดโคมไฟในเวลากลางคืนสว นใหญประชากรในชนบทไมร กู ฎจราจรแทบทัง้ ส้นิ
ช. สัตว เกดิ จากการปลอ ยปละละเลยของสตั วเอง หรืออาจเปน สัตวพ ลดั ถน่ิ
ซ. เสาหรือวัตถุคงท่ีตามถนน เชน หลักบอกเลขกิโล เสาไฟฟา สะพาน ปญหาน้ีเกิดจากความ
ประมาทของผขู บั ขีอ่ ยางแนนอน
ณ. วัตถุอนื่ ๆ เชน บาน รา นคา
2.2 รถยนตเ กดิ เหตุอื่นๆ ทีไ่ มไดเก่ียวกบั การชน
ก.รถยนตต กถนนอาจเกดิ จากความประมาท การขบั รถเกนิ ความเรว็ ท่กี ฎหมายจราจรกาํ หนดหรือ
ข. รถพลกิ ควํา่
ค. อื่นๆ ท่ีไมไ ดช น
3. สาเหตขุ องอุบัติเหตุ
3.1 สาเหตุโดยทัว่ ไป สวนใหญเขา ใจวาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตเุ กิดจากอยางใดอยา งหนึ่งดังนี้
ก. เกิดจากความประมาทของผูขับ(คน) อาจเกิดจากความเรงรีบหรือเมาสุรา สิ่งเสพติดหรือ
ส่งิ มนึ เมาตลอดจนปญ หาเฉพาะตวั ของผูขับขเ่ี อง เชน วัยรนุ ตองขับรถเรว็ เกินกาํ หนดทพี่ .ร.บ. จราจรกาํ หนด
ข. เกิดจากอุปกรณของรถไมสมบูรณ(รถ) เปนหนาที่ของเจาของรถท่ีตองหมั่นดูแลรถของตน
แตใ นทางปฏิบตั เิ จาของรถจะสั่งใหผูชว ยทําการตรวจเสียมากกวา ทจ่ี ะมาตรวจดแู ลเอง
ค. เกิดจากถนนไมปลอดภัย (ส่ิงแวดลอม) เชน ถนนแคบ สัญญาณไฟเสีย สะพานชํารุด ไมมีทาง
ขา ม(มาลาย)
3.2 จาํ แนกสาเหตุได 3 อยางดงั น้ี

ของคนขับ -8 -

ก. สาเหตุโดยตรงมี 4 อยาง คือ ความเร็ว การเห็นลาชา การแกไขเหตุการณไมถูกตอง พฤตกิ รรม

ข. สาเหตุเชอื่ มโยงมี 3 อยา งคอื สภาพถนน สภาพรถ สภาพคนขบั
ค. สาเหตุเบอ้ื งตนมี 5 อยา ง คอื รัฐบาล โรงเรียน องคการครเู ทศบาล กรมทาง คนขบั

การปอ งกนั อุบัตเิ หตุ
สามารถกระทาํ โดยหลักใหญๆ 3 ประการ ดังนี้
1. การใหการศึกษา
โดยการใหความรูแกผ ูใชรถใชถนนทุกระดับเก่ียวกับกฎจราจร เคร่ืองหมาย สัญญาณจราจร การใชถนน

โดยปลอดภยั กระทาํ ได ดังน้ี

ก.โดยทางตรง เชน สอดแทรกความรเู กี่ยวกับการจราจร และการปองกนั ไวในบทเรียนช้ันประถมศึกษา

ไปจนถงึ ช้นั อุดมศึกษา พอแมผ ปู กครองเพื่อสงั่ สอนลูกหลานได

ข.โดยทางออม เชน วทิ ยุ โทรทศั น นทิ รรศการ หนังสอื วารสารตา งๆ เปนตน
2. การควบคมุ ผูใ ชรถใชถ นนปฏบิ ตั ติ ามกฏหมาย

โดยเขมงวดกวดขันใหผูใชรถใชถนนปฏิบัติตามกฎหมายตางๆ ท่ีเกี่ยวของในการจราจร การควบคุม

รถยนต การควบคุมใบอนุญาตขบั รถ และเจาหนาที่ตํารวจจราจร
3. การปรบั ปรุงทางดานวิศวกรรมการทาง
โดยปรับปรุงออกแบบสรางถนนหนทางวงเวียน สะพาน ฯลฯ ใหเหมาะสมและปลอดภัยอยูเสมอ

ตลอดจนปรับปรุงการติดตั้งเคร่ืองหมายและสัญญาณจราจรตางๆ ใหดูถูกตองชัดเจนเพื่อชวยใหการควบคุม

ยานพาหนะในถนนเปน ไปดวยความสะดวกและปลอดภัย
สาเหตุทที่ าํ ใหเ กิดอุบตั ิเหตุของผเู ดนิ เทา
1. ผูเดินขาดความรูหรือทักษะในการเดิน ขาดความระมัดระวังตางๆ รางกายไมสมประกอบ หรือสุขภาพ

เสื่อมโทรม อาจทาํ ใหเกดิ อุบตั เิ หตุไดง า ย

2. ผูขับขยี่ านพาหนะ ขับรถเรว็ เกินอัตราทีก่ ําหนดไวต ามกฎหมาย เครื่องยนตชํารดุ สภาพรถยนตภายนอก

ชํารดุ ขาดมารยาทที่ดี ประมาท

3. สภาพแวดลอม เชน ถนนแคบ ถนนชํารุด สัญญาณไฟเสีย สะพานชํารุด ไมมีฟุตบาท(ทางเทา) มีตนไม

กีดขวางทางเดิน ตลอดจนอาคารและสง่ิ กอสรา งตา งๆ

-9 -

การปอ งกัน
1. การเดินเทา ถาถนนมีทางเทาใหเดินบนทางเทาและใหเดินชิดซาย และไมยืนกลางทางเทาเพราะจะ
กดี ขวางการจราจรของผูอืน่ หรอื เลน กดี ขวางผูอื่น

ถา ถนนไมมีทางเทา ใหเดินทางขวาของถนนสวนทางกับรถ เดินใหชิดขางถนน ไมควรเดินเคียงคูกันและ
ถา มเี ดก็ ไปดวยตองใหเดินทางขวาชิดขอบทางดานในและตองจบั มือถือแขนไวใ หแนน อยา ปลอ ยใหเดินโดยอิสระ

2. การเดินถนนในขณะที่มีแสงสวางไมเพียงพอหรือเวลากลางคืน ควรใสเสื้อผาสีออนๆหรือสีขาว เพื่อให
ผขู ับรถเห็นไดแ ตไกล มไี ฟฉายเปด สอ งใหด วย และใหเดนิ ขา มถนนในทม่ี แี สง

3. การขามถนน ใหขามตรงชองทางขาม สะพานขามทางหรือมีเจาหนาที่ควบคุมอยู วิธีขามโดยยืนรออยู
บนทางเทา ดูรถทางขวาทางซายและทางขวาอีกคร้ัง เมื่อเห็นวาปลอดภัยแลวจึงเดินขาม ขณะท่ีเดินขามถนนควร
เดนิ ดวยความเรงรบี อยา ว่งิ หรือหยุดชะงัก หรอื เก็บสิง่ ของ หรอื ทักทาย

4. การขามทางที่มีสัญญาณไฟจราจร ใหยืนรอบนทางเทากดปุมที่มีตูสัญญาณแลวรอจนกวาสัญญาณจะ
เปลย่ี นสีเขยี ว และเมอ่ื รถหยุดสนทิ แลวจงึ ขาม

5. การขามถนนท่ีมีเกาะกลางถนน หรือเขตปลอดภัยใหยืนรอบนทางเทา ดูทางขวาเม่ือปลอดภัย จึงขาม
ดวยความเรงรีบ ไปยืนบนเกาะกลางถนน หรือเขตปลอดภัยแลว ดูรถทางดานซา ยเมือ่ เห็นวาปลอดภัยแลว จึงขา มดวย
ความเรงรบี

6. การขามทางสี่แยกท่ีมีสัญญาณไฟ ควบคุมการจราจร ใหขามถนนตรงเสนรอสัญญาณไฟท่ีทางแยก โดย
ยืนรอบนทางเทา รอจนกวาสัญญานจะเปล่ียนเปนสีแดงใหรถหยุดสนิทกอนแลวจึงขาม และระวังรถท่ีจะเล้ียวขวา
หรอื เล้ียวซา ยผา นตลอดมาจากอีกทางหนึ่ง

7. การขามถนนท่ีมีส่ิงกีดขวางหรือกําบังสายตา การขามทางในบริเวณที่มีรถจอดหรือ ตนไม เสาไฟ ฯลฯ
เปนสงิ่ กําบังสายตามองไมเห็นรถท่ีแลนมา โดยใหใชความระมัดระวังอยาว่ิงออกมาทันทีทันใด ตองดูใหแนใจแลวจึง
ขาม

หนาท่ีหน่ึงที่สาํ คญั ของตํารวจ ก็คอื การจัดการกับอุบตั ิเหตทุ ี่เกิดข้นึ บนทองถนน ซึ่งมักจะประสบดว ยตนเอง
อยูเปนประจํา ไมวาจะในระหวางปฏิบัติหนาที่หรือนอกหนาท่ี เชน อยูระหวางเดินทางไปกลับสถานที่ทํางานหรือ
ระหวางการไปปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนท่ีมิใชทําหนาที่จราจรก็ตาม ดังนั้น ถึงแมไมใชขาราชการตํารวจที่ทําหนาที่จราจรก็
ตอ งมีความรูท่ีจะจัดการกับอบุ ัติเหตุท่ีเกดิ ข้ึนเฉพาะหนาได เน่ืองจากมีโอกาศที่จะประสบดวยตนเอง ซึ่งเมื่อพบแลว
จะน่ิงดูดายผานไปเฉยๆคงไมได ตองอยูชวยดําเนินการจนกวาผูมีหนาท่ีจะมาถึงที่เกิดเหตุ ย่ิงเปนตํารวจจราจรดวย
แลวตองมคี วามรแู ละเตรยี มความพรอ มทจี่ ะจัดการกับอบุ ัติเหตุ ทเี่ กดิ ขน้ึ บนทองถนน อยตู ลอดเวลา

ตํารวจจราจร ตองมีอุปกรณจัดการกับอุบัติเหตุท่ีสําคัญคือ ชอรกหรือวัสดุขีดเขียนพื้นถนนที่สามารถลบ
ออกไดงาย หรอื สีสเปรยส ีดาํ หรือสีเทา (เพอ่ื ใหดสู ะอาดเรยี บรอย) สําหรับทําเครือ่ งหมายบนพ้ืนถนน แสดงตําแหนง
ของรถ และรองรอยในท่ีเกิดเหตุ กระดาษและปากาสําหรับทําแผนท่ีเกิดเหตุโดยสังเขป และสมุดจดบันทึกสําหรับ
จดรายละเอียดตางๆ ที่ตอ งการ

- 10 -

การรับทราบเหตุน้ันอาจมาจาก 2 กรณี คือ หนึ่งประสบดวยตนเอง ซึ่งอาจจะอยูหรือไมอยูในพ้ืนที่
รับผิดชอบก็ได สองไดรับแจงเหตุจากส่ือตางๆ ไมวาจากผูมาแจงทางวิทยุสื่อสาร ทางสถานีวิทยุ ฯลฯ ซึ่งเม่ือได
รับทราบเหตุแลว ตํารวจจราจรมหี นา ท่จี ะตองปฏบิ ัติดงั น้ี

1. รีบไปจุดที่เกิดเหตุ พิจารณาความหนักเบาของสถานการณ ดําเนินการปองกันผลรายที่อาจเกิดเพ่ิม
มากขึ้น เชน การเกิดอุบัติเหตุซํ้า การเกิดเพลิงไหม การไดรับอันตรายจากสารพิษท่ีร่ัวออกมาจากยานพาหนะท่ีเกิด
อบุ ัติเหตุเปนตน และรีบแจงสถานีตํารวจทองท่ีหรือศูนยวทิ ยุเพื่อดําเนินการแจงผมู ีหนาที่เก่ียวของหรือแจงกําลังมา
ใหก ารชวยเหลือ กับทั้งใหพ จิ ารณาตดั สินใจวา สามารถจะเปดการจราจรตอไปไดหรือไม เปดไดกี่ชองทาง ในกรณีท่ีมี
การปดการจราจร ตองรีบประชาสัมพันธ ผูใชทางใหหลีกเล่ียง แนะนําเสนทางหลีกเลี่ยง และประสานงานพื้นที่
ใกลเ คยี ง เพ่ือเรง ระบายรถหรือเปลี่ยนเสน ทางผใู ชรถ

2. ตรวจหรือสอบถาม มีผไู ดร ับบาดเจบ็ หรอื เสียชวี ิตหรือไม หากมีใหรบี นําสง โรงพยาบาลทใี่ กลเคียงที่สุด
โดยระมัดระวังการเคลื่อนยายผูไดรับบาดเจ็บหรือเรียกรถพยาบาลนําสง กอนนําสงใหจดชื่อท่ีอยูผูบาดเจ็บ
(ถากระทําได) และชื่อโรงพยาบาลเก็บไวดวยเพ่ือแจงพนักงานสอบสวน หากผูเสียชีวิตหรือผูบาดเจ็บจนชวยตัวเอง
ไมไดมาเพียงผูเดียว ใหดูแลทรัพยสินใหดว ย ทั้งนี้ใหมพี ยานรูเห็นตามสมควร เพ่ือปองกันการกลาวหาภายหลงั และ
จัดทํารายการทรพั ยส นิ สงมอบตอพนักงานสอบสวน

3. เรียกขอใบอนุญาตผูขับขี่ของคูกรณีทั้งหมด เพื่อสงมอบใหพนักงานสอบสวนและเพ่ือปองกันการ
หลบหนี โดยตอ งตรวจดูใบอนุญาตขับข่ีวาถูกตองหรือไม เชน รูปเหมือนผูขับข่ีหรือไม ใบอนุญาตฯ หมดอายุหรอื ไม
หรือถกู ประเภทหรอื ไม เปน ตน

4. กําหนดจดุ โดยทําเครอื่ งหมายบนพ้ืนทาง เพอื่ แสดงรายละเอยี ดของการเกกิ อบุ ัติเหตุ
5. ทาํ แผนทเ่ี กิดเหตุโดยสงั เขป(ถากระทาํ ได)
6. แยกรถที่เกิดเหตุใหพนการกีดขวาง เชน ชิดขอบทางดานซาย หรือนําไปจอดไวยังที่ปลอดภัยและพน
การกีดขวางในท่ีเกิดเหตุ หรือนําสงสถานท่ีจัดเก็บรถของกลางของสถานีตํารวจทองที่เกิดเหตุนั้น รวมท้ังรวบรวม
วัตถพุ ยาน เพอื่ สงมอบตอพนกั งานสอบสวน
7. เก็บส่ิงตกหลน ท่ีกดี ขวางการจราจรใหเรียบรอย
8. จดั การจราจรที่เกิดเหตุ จนการจราจรคล่ีคลาย
9. หากเปนการชนที่รุนแรง หรือมีปญหาทางรูปคดี คูกรณีตกลงกันไมได ใหรอพนักงานสอบสวนมาดู
ท่เี กดิ เหตุ
10. มอบแผนที่สังเขปใหพนักงานสอบสวน หากมีผูไดรับบาดเจ็บ ใหแ จงช่ือ ที่อยู และโรงพยาบาลท่ีนําสง
ใหทราบดว ย
11. ไมควรพูดหรือใหความเห็น ระหวางรอพนักงานสอบสวนมาดูที่เกิดเหตุ วาฝายใดถูกหรือผิด ฝายใด
ไดเ ปรียบหรอื เสยี เปรยี บ ใหเ ปนหนา ที่พนกั งานสอบสวน

- 11 -

การกาํ หนดจุดโดยทําเครื่องหมายบนพืน้ ทาง
การกําหนดจุดควรกระทาํ ตอ ยวดยานท่ีเกิดเหตุท้งั หมด รวมทง้ั รองรอยวัตถพุ ยานที่ปรากฎในที่เกดิ เหตุ เชน
จุดชน, จุดที่พบเศษกระจก/เศษดนิ /ชิ้นสวนรถตกอยู, จุดที่ผูตายนอนอยู, จุดที่พบรอยเลือด, รอยหามลอ, รอยครูด
ฯลฯ การขีดกําหนดจดุ สาํ หรับรถยนตต องขดี ตาํ แหนงของลอทุกลอ (ตามลักษณะที่พบในที่เกิดเหตุ หรอื เอียงหรอื บิด
อยางไร ก็ขีดตามแนวนั้น) และแนวกันชนดานหนาและหลังใหครบทุกคัน ท้ังนี้ใหนึกไวในใจเสมอวา หากมีความ
จําเปนตองนํายวดยานที่เกิดเหตุมาไวในสถานท่ีเกิดเหตุอีกครั้ง จะตองสามารถวางไวในตําแหนงเดิมไดทุกประการ
นอกจากน้ีควรจะเขียนทะเบียนรถน้ันๆ ไวท่ีพ้ืนถนน เพ่ือปองกันการสับสนในกรณีที่มีรถเกิดเหตุหลายคัน การขีด
กําหนดจุดรถยนต อาจทําไดดังภาพท่ี 1 การขีดกําหนดจุดสําหรับรถจักรยานยนต, วัตถุพยานตางๆ รวมทั้งจุดท่ี
ผูตายนอนอยูในท่ีเกิดเหตุ สามรถขดี เปน แนวเสนตามรปู รางของรถจกั รยานยนต วัตถุพยาน, หรอื รปู รางของผูตายได

การทาํ แผนทีเ่ กิดเหตุโดยสงั เขป
ตามปกติ เปนหนาท่ีของพนักงานสอบสวนจะตองไปดูท่ีเกิดเหตุและเปนผูจัดทําแผนท่ีเกิดเหตุดวยตนเอง
แตเนื่องจากปจจุบัน สภาพการณเปล่ียนแปลงไป พนักงานสอบสวนไมสามารถไปดูที่เกิดเหตุไดทุกคดี หรือเดินทาง
ไปลาชา เจาหนาท่ีตํารวจท่ีพบเหตุอาจตองจัดทําแผนที่เกิดเหตุเบื้องตน เพื่อประโยชนในการแยกรถคูกรณีและเปด
การจราจรดวยความรวดเร็วแตท้ังน้ีหากสถานการณรุนแรงเชนกรณีมีผูเสียชีวิต หรือมีความเสียหายจํานวนมาก
ระหวางรอพนักงานสอบสวนก็จัดทําไป แตกอนแยกรถคูกรณีควรใหพนักงานสอบสวนมาถึงที่เกิดเหตุเสียกอนและ
มอบแผนท่ีท่ีจัดทําไว ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไป หลักในการจัดทําแผนท่ีเกิดเหตุเบื้องตนประกอบดวย
หัวขอดงั ตอ ไปนี้
1. กระดาษท่ีใชในการเขียนแผนท่ีควรเปนกระดาษขาว ไมมีเสนบรรทัด( หากเปนกระดาษตารางแบบ
กระดาษกราฟดีมาก เพราะจะยอมาตราสวนไดแนนอนใกลค ียงกับความเปนจริง) ขนาดพอสมควร ไมเล็กจนเกินไป
จนไมสามารถจะวาดแผนทแี่ ละกาํ หนดรายละเอยี ดไดครบถว น โดยท่วั ไปขนาดทเี่ หมาะสม คอื กระดาษขนาด A4
2. กอนเร่ิมวาดแผนท่ี ใหผูเขียนหันหนาไปทางทิศเหนือ เพื่อใหทิศเหนืออยูดานบนของหัวกระดาษเสมอ
(ในแผนทจ่ี ะปรากฎเครื่องหมายเหนือ หรือ น.)
3. การใชมาตราสวนในแผนท่ี ควรดูใหเหมาะสมกับกระดาษ และควรไดสัดสวนกับสภาพความเปนจริง
ไมเ ล็กหรือใหญจ นเกนิ ไป
4. เขียนแนวถนนบริเวณสถานท่ีเกิดเหตุลงในกระดาษแผนที่ โดยใหปรากฎเสนแบงชองทางเดินรถ
เสน ประ เสน ทึบ (สีขาว/สเี หลอื ง) โดยใหมจี ํานวนชองการจราจรที่มอี ยู รวมทิศทางการเดินรถวาไปในทศิ ทางใด เชน
เปน การเดินรถทางเดียว หรอื เปนการเดินรถสวนทางกัน และมชี องทางเดินรถประจําทางหรอื ไมใหมปี ายจราจรหรือ
เคร่อื งหมายจราจรบนพ้ืนทางในทเี่ กิดเหตุรวมทงั้ ทางคนเดิน(ทางมาลาย) และจุดสัญญาณไฟจราจร

- 12 -

5. วาดรูปรถคูกรณีที่เกิดเหตุ ใหเห็นวาลักษณะที่เกิดเหตุเปนอยางไร เชน ทิศทางรถหันไปในชองทางเดิน
รถใด ครอมชองทางเดินรถใด หรือครอมชองทาง หรือทับเสนแบงชองทางเดินรถหรือไม อยางใด ภาพสมมุติท่ีใช
แทนยวดยานและส่งิ ทีอ่ ยูในท่เี กดิ เหตทุ น่ี ิยมใช ตามภาพที่ 3 ตวั อยางทีใ่ ชใ นการเขยี นแผนท่ี

6. เขียนแนวรอยหามลอ(รอยเบรก), รอยครูด, รอยเลือด, จุดท่ีเศษวัสดุจากยวดยานชนกันตกอยู เชน
เศษกระจกแตก, ช้นิ สว นของรถ เปนตน จดุ หรอื ตําแหนงท่ีผูบ าดเจ็บหรือตายลมนอนอยูหลงั เกดิ เหตุ

7. กําหนดจุดชน (จุดท่ียวดยานกระทบกัน) ลงในแผนท่ี ซ่ึงอาจไดจาการนําชี้ของคูกรณี และ/หรือ จาก
วัตถุพยานในที่เกิดเหตุ เชน จุดท่ีพบเศษดินตก, เศษกระจกแตกตกอยู เปนตนหากคูกรณีนําชี้ไมตรงกัน และไมมี
วัตถุพยานที่บงช้ีได ก็ใหกําหนดจุดชนตามที่คูกรณีแตละฝายนําช้ีไวในแผนท่ี โดยหมายเหตุไวใหชัดเจนวา คูกรณี
ฝา ยใดชี้จุดใด

8. กําหนดแนวทิศทางการเดินรถของยวดยานแตละคันกอนเกิดเหตุ ตามคําบอกเลาของคูกรณี ซ่ึงสามารถ
เปนไปไดและสอดคลองกับสภาพสถานท่ีเกิดเหตุท่ีปรากฎ ( บางคร้ังคูกรณีพยายามใหการในลักษณะที่คาดเคล่ือน
ไปจากจากขอ เทจ็ จริง เพื่อใหไ ดเปรยี บทางคดี)

9. เขียนรายละเอียดของสิ่งท่ีกําหนดไวในแผนที่แลว รวมทั้งหมายเลขทะเบียนรถซ่ึงอาจทําไดโดยการ
อธิบายไปยังจุดน้ันๆ เลยในกรณีที่รายละเอียดมากนักหรืออาจกําหนดเปนตัวเลข สัญลักษณแทน แลวยกนํามา
อธิบายไวด า นขาง หรอื ดา นลา งของแผนท่ใี นกรณที ี่มีรายละเอียดมากๆก็ได

10. หากมีพยานบุคคลรูเห็นเหตุการณ ใหขอจดชื่อและท่ีอยูพรอมหมายเลขโทรศัพทไวเพื่อมอบให
พนกั งานสอบสวน

11. กําหนดสถานทใี่ กลเคียงกบั ท่ีเกดิ เหตุ เพื่อใหทราบวาเหตุน้นั เกดิ ขนึ้ ตรงจดุ ใด เชน หนาสถานที่ราชการ
, โรงพยาบาล, บริษัท, รานคา, ศูนยการคา เปนตน และหากมีทางรถไฟ, สะพาน, ทางโคง, ทางขาม, ท่ีคับขัน ฯลฯ
ก็ใหเขียนกําหนดไวในแผนทีด่ วย

12. จัดใหคูกรณีและพยานที่เห็นเหตุการณไดตรวจดูแผนที่สังเขปเบื้องตนที่ไดจัดทําขึ้นน้ี หากถูกตองตรง
กับความเปนจรงิ ก็ใหคกู รณแี ละพยานลงลายมือชอ่ื รับรองไวเปนหลักฐาน หากคูก รณีไมยอมลงลายมือชอื่ กใ็ หบ ันทึก
ไววาไดแสดงและอธิบายแผนที่สังเขปแลวไมขอลงชื่อ กับท้ังตองลงตําแหนงของเจาหนาท่ีจราจรท่ีจัดทําแผนท่ี
ตลอดจนวัน เดอื น ป และเวลาท่ที าํ แผนที่ฉบบั นนั้ ๆ

13. การจัดทําแผนท่ีสังเขปที่เกิดเหตุนั้น หากสามารถจัดทําไดในขณะที่ยังมิไดมีการเคล่ือนยายยวดยานท่ี
เกิดเหตุออก กจ็ ะทําใหสามารถกําหนดจุดตําแหนง และทศิ ทางไดตรงกับความเปนจรงิ ไดมาก แตหากพิจารณาแลว
เห็นวาการไมเคล่ือนยาย อาจสงผลตอสภาพปญหาการจราจรติดขัด และอาจเกิดอุบัติเหตุซํ้าซอน ก็ควรกําหนดจุด
ทําเครื่องหมายบนพน้ื ทาง เพ่ือแสดงรายละเอียดแลวจึงเคล่อื นยา ยยวดยานและวตั ถพุ ยานออก จากนั้นจงึ จดั ทาํ แผน
ท่เี กดิ เหตุ

- 13 -

14. นอกเหนือจากการทําแผนที่เกิดเหตุแลว อาจจะจัดใหมีการถายภาพดวยกลองถายรูปหรือบันทึกภาพ
ดวยเครื่องถายวิดีโอ ก็ยิ่งจะทําใหสามารถเก็บรายละเอียดไดมากยิ่งข้ึน ทั้งน้ี คงขึ้นอยูกับลักษณะ ความรุนแรง
ความซับซอ นของคดี และความพรอ มของเครื่องมือ อุปกรณ และความสามารถของเจาหนาทข่ี องผปู ฏิบตั ดิ ว ย

- 14 -
ปายจราจรประเภทปา ยบังคับ

แบง เปน 2 ประเภทคือ
1. ปายบังคบั ที่แสดงความหมายตามรูปแบบและลกั ษณะทก่ี ําหนด
2. ปา ยบังคับทแ่ี สดงดวยขอความ และ/หรอื สญั ลกั ษณ

1. "หยดุ "
ความหมาย รถทกุ ชนดิ ตอ งหยุด เม่อื เห็นวา ปลอดภัยแลว จึงใหเ คลื่อนรถตอไปไดด ว ยความระมัดระวัง

2. "ใหทาง"
ความหมาย รถทุกชนดิ ตองระมดั ระวังและใหทางแกรถและคนเดินเทา ในทางขวางหนาผานไปกอน เมื่อเห็นวา

ปลอดภัย และ ไมเ ปนการกดี ขวางการจราจรทบ่ี รเิ วณทางแยกนั้นแลว จงึ ใหเ คลื่อนรถตอ ไปไดดวยความระมัดระวัง

3. "ใหรถสวนทางมากอ น"
ความหมาย ใหผูขับรถทุกชนิดหยุดรถตรงปาย เพ่ือใหรถที่กําลังแลนสวนทางมากอน ถามีรถขางหนาหยุดรอ

อยูกอนก็ใหหยุดรถรอถัดตอกันมาตามลําดับ เมื่อรถท่ีสวนทางมาไดผานไปหมดแลว จึงใหรถท่ีหยุดรอตามปายนี้
เคลื่อนไปได

4. "หามแซง"
ความหมาย หา มมใิ หข ับรถแซงข้นึ หนา รถคนั อ่นื ในเขตทางที่ติดต้ังปา ย

5. "หามเขา"
ความหมาย หามมิใหร ถทุกชนดิ เขาไปในทางท่ีตดิ ต้ังปา ย

- 15 -

6. "หามกลับรถไปทางขวา"
ความหมาย หามมิใหก ลบั รถไปทางขวาไมวา ดว ยวธิ ใี ดๆ ในเขตทางทตี่ ดิ ตั้งปาย

7. "หามกลับรถไปทางซาย"
ความหมาย หามมใิ หก ลับรถไปทางซายไมว าดว ยวธิ ีใดๆ ในเขตทางทตี่ ิดตั้งปา ย

8. "หา มเล้ยี วซา ย"
ความหมาย หามมิใหเล้ยี วรถไปทางซาย

9. "หามเล้ยี วขวา"
ความหมาย หา มมิใหเล้ียวรถไปทางขวา

10. "หามรถยนต"
ความหมาย หา มรถยนตทกุ ชนิดผานเขา ไปในเขตทางที่ติดตั้งปา ย

11. "หามรถบรรทุก"
ความหมาย หามรถบรรทุกทกุ ชนิดผานเขาไปในเขตทางทตี่ ดิ ต้งั ปาย

12. "หา มรถจกั รยานยนต"
ความหมาย หา มรถจักรยานยนตผา นเขาไปในเขตทางท่ตี ดิ ต้ังปาย

- 16 -

13. "หา มรถยนตส ามลอ "
ความหมาย หามรถยนตสามลอผา นเขาไปในเขตทางทีต่ ดิ ตัง้ ปาย

14. "หา มรถสามลอ "
ความหมาย หามรถสามลอผา นเขา ไปในเขตทางท่ีตดิ ตงั้ ปาย

15. "หามรถจกั รยาน"
ความหมาย หามรถจักรยานผา นเขา ไปในเขตทางท่ีตดิ ต้งั ปาย

16. "หามลอ เล่ือนลากเข็น"
ความหมาย หามลอเลื่อนลากเขน็ ผานเขาไปในเขตทางที่ตดิ ต้งั ปาย

17. "หามรถยนตที่ใชในการเกษตร"
ความหมาย หา มรถยนตที่ใชใ นการเกษตรทุกชนิดผา นเขา ไปในเขตทางทีต่ ดิ ตั้งปา ย

18. "หา มรถจกั รยานยนตและรถยนต"
ความหมาย หา มรถจกั รยานยนตและรถยนตทุกชนดิ ผานเขาไปในเขตทางท่ตี ิดตั้งปาย

19. "หา มรถจักรยาน รถสามลอ รถจักรยานยนต"
ความหมาย หามรถจักรยาน รถสามลอ รถจักรยานยนต ผา นเขา ไปในเขตทางทตี่ ิดตงั้ ปา ย

- 17 -

20. "หา มใชเ สยี ง"
ความหมาย หามมใิ หใ ชเสยี งสัญญาณหรือทําใหเกิดเสยี งที่กอ การรบกวนดว ยประการใดๆในเขตท่ีติดตง้ั ปา ย

21. "หา มคน"
ความหมาย หามคนผานเขาไปในเขตทางท่ีตดิ ตัง้ ปา ย

22. "หามจอดรถ"
ความหมาย หา มมใิ หจอดรถทุกชนิดระหวา งแนวน้ัน เวน แตการรบั สง คน หรือสง่ิ ของชว่ั ขณะซึง่ ตองกระทํา

โดยมิชักชา

23. "หามหยดุ รถ"
ความหมาย หามมใิ หหยุดรถหรอื จอดรถทุกชนิดตรงแนวนัน้ เปนอันขาด

24. "หยดุ ตรวจ"
ความหมาย ใหผ ูขบั รถหยดุ รถทีป่ า ยนี้ เพอ่ื ใหเ จา หนาท่ตี รวจและเคล่ือนรถตอไปไดเมือ่ ไดร ับอนุญาตจาก

เจาหนา ทผ่ี ตู รวจแลว เทา นั้น

25. "จาํ กัดความเรว็ "
ความหมาย หา มมใิ หผูขบั รถทุกชนดิ ใชความเร็วเกนิ กวา ทก่ี าํ หนดเปน กโิ ลเมตรตอช่วั ดมง ตามจํานวนตัวเลข

ในแผนปา ยนนั้ ๆ ในเขตทางท่ีติดตง้ั ปาย จนกวาจะพน ทส่ี ุดระยะทจ่ี ํากดั ความเรว็ น้นั

- 18 -

26. "หา มรถหนักเกินกําหนด"
ความหมาย หา มมิใหรถทกุ ชนิดที่มีนํา้ หนักเกินกวา ท่ีกาํ หนดหรือเม่ือรวมนา้ํ หนักรถกับน้ําหนกั บรรทุก เกนิ

กวาท่กี าํ หนดไวเปน "ตนั " ตามจาํ นวนเลขในเครื่องหมายน้ันๆ เขาไปในเขตทางที่ตดิ ต้งั ปาย

27. "หามรถกวา งเกนิ กําหนด"
ความหมาย หา มมิใหร ถทกุ ชนดิ ที่มขี นาดกวางเกินกําหนดเปน "เมตร" ตามจํานวนเลขในเครื่องหมายนัน้ เขา

ไปในเขตทางที่ติดตง้ั ปาย

28. "หา มรถสูงเกนิ กําหนด"
ความหมาย หา มมิใหรถทุกชนิดที่มคี วามสูงของรถรวมทัง้ ของทีบ่ รรทุกเกินกวา กาํ หนดเปน "เมตร" ตาม

จํานวนเลข ในเครอื่ งหมายเขาไปในเขตทางหรืออุโมงคท่ีติดตั้งปา ย

29. "ใหเ ดนิ รถทางเดยี วไปขา งหนา"
ความหมาย ใหขับรถตรงไปตามทิศทางทปี่ ายกําหนด

30. "ทางเดนิ รถทางเดียวไปทางซาย"
ความหมาย ใหขบั รถไปทางซายแตทางเดยี ว

31. "ทางเดนิ รถทางเดียวไปทางขวา"
ความหมาย ใหข ับรถไปทางขวาแตทางเดียว

- 19 -

32. "ใหช ดิ ซา ย"
ความหมาย ใหข ับรถผานไปทางซายของปาย

33. "ใหชิดขวา"
ความหมาย ใหขบั รถผานไปทางขวาของปาย

34. "ใหเลี้ยวซา ย"
ความหมาย ใหขับรถเล้ียวไปทางซา ยแตทางเดยี ว

35. "ใหเล้ียวขวา"
ความหมาย ใหข ับรถเล้ียวไปทางขวาแตทางเดียว

36. "ใหเ ลี้ยวซายหรือเลย้ี วขวา"
ความหมาย ใหข บั รถไปทางซาย หรือไปทางขวา

37. "ใหไปทางซา ยหรือทางขวา"
ความหมาย ใหขับรถผานไปทางดานซา ยหรือทางดานขวาของปาย

38. "วงเวยี น"
ความหมาย ใหรถทุกชนดิ เดนิ วนทางซา ยของวงเวียนและรถทเ่ี รม่ิ จะเขาสทู างรวมบริเวณวงเวียนตอ งหยดุ ให

สิทธแิ กร ถทีเ่ ลน อยใู นทางรอบวงเวียนไปกอ น หามขับรถแทรกหรือตัดหนารถที่อยใู นทางรอบบริเวณวงเวียน

- 20 -
ปา ยจราจรประเภทปายเตือน
แบง เปน 3 ประเภทคือ
1. ปา ยเตอื นตามรปู แบบและลักษณะท่ีกาํ หนด
2. ปา ยเตือนท่ีแสดงดว ยขอความ และ/หรือสญั ลักษณ
3. ปา ยเตือนในงานกอสรา งตาง ๆ

1. "ทางโคงซาย"
ความหมาย ทางขา งหนา โคง ไปทางซา ย ใหขับรถใหชาลงพอสมควรและเดนิ รถชดิ ดา นซา ยดวยความระมดั ระวัง

2. "ทางโคง ขวา"
ความหมาย ทางขา งหนา โคงไปทางขวา ใหขับรถใหชา ลงพอสมควรและเดินรถชิดดา นซา ยดวยความระมดั ระวงั

3. "ทางโคงรศั มแี คบเล้ยี วซาย"
ความหมาย ทางขา งหนาโคงรัศมีแคบไปทางซาย ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดนิ รถชิดดา นซายดว ยความ

ระมดั ระวัง

4. "ทางโคง รัศมีแคบเล้ยี วขวา"
ความหมาย ทางขางหนา โคงรศั มีแคบไปทางขวา ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดินรถชดิ ดานซายดว ยความ

ระมัดระวัง

5. "ทางโคงรศั มีแคบเริม่ ซาย"
ความหมาย ทางขางหนาโคง รศั มีแคบไปทางซายแลว กลับ ใหข บั รถใหช าลงพอสมควรและเดินรถชดิ ดานซา ยดว ย

ความระมัดระวัง

- 21 -

6. "ทางโคงรศั มแี คบเริ่มขวา"
ความหมาย ทางขางหนา โคง รศั มีแคบไปทางขวาแลวกลับ ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดนิ รถชิดดานซา ยดว ย

ความระมัดระวัง

7. "ทางคดเคีย้ วเรม่ิ ซาย"
ความหมาย ทางขา งหนา เปน ทางคดเค้ยี วโดยเริม่ ไปทางซาย ใหขบั รถใหชาลงพอสมควรและเดินรถชิดดา นซาย

ดว ยความระมดั ระวัง

8. "ทางคดเค้ยี วเริ่มขวา"
ความหมาย ทางขา งหนาเปน ทางคดเคี้ยวโดยเริม่ ไปทางขวา ใหขับรถใหช าลงพอสมควรและเดินรถชิดดานซาย

ดวยความระมัดระวัง

9. "ทางโทตดั ทางเอก"
ความหมาย ทางขางหนามีทางโทตัด ใหขับรถดว ยความระมัดระวัง

10. "ทางโทแยกทางเอกทางซายรูปตัววาย"
ความหมาย ทางขา งหนา มที างโทแยกจากทางเอกไปทางซา ยเปนรปู ตวั วาย ใหขับรถดว ยความระมัดระวัง

11. "ทางโทแยกทางเอกทางซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนามที างแยกไปทางซายใหขบั รถดวยความระมัดระวัง

- 22 -

12. "ทางโทแยกทางเอกทางขวา"
ความหมาย ทางขางหนา มีทางแยกไปทางขวาใหข ับรถดวยความระมดั ระวัง

13. "ทางโทแยกทางเอกเยอ้ื งกันเร่ิมซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนามที างโทแยกไปทางซา ยและหลงั จากนน้ั มีทางโทแยกไปทางขวา ใหข บั รถดว ยความ

ระมดั ระวัง

14. "ทางโทแยกทางเอกเยื้องกันเร่มิ ขวา"
ความหมาย ทางขางหนามีทางโทแยกไปทางขวาและหลงั จากนนั้ มีทางโทแยกไปทางซา ย ใหขับรถดวยความ

ระมัดระวัง

15. "ทางโทเช่อื มทางเอกจากซาย"
ความหมาย ทางขางหนา มที างโทเขามาเชอ่ื มดา นซาย ใหข บั รถดวยความระมดั ระวงั

16. "ทางโทเชอ่ื มทางเอกจากขวา"
ความหมาย ทางขา งหนา มที างโทเขามาเชือ่ มดา นขวา ใหข บั รถดวยความระมัดระวัง

17. "วงเวยี นขา งหนา "
ความหมาย ทางขา งหนาจะเปน ทางแยกมีวงเวยี น ใหขบั รถใหชาลง และเดนิ รถดว ยความระมัดระวงั

- 23 -

18. "ทางแคบลงทั้งสองดาน"
ความหมาย ทางขางหนาแคบลงกวาทางทก่ี าํ ลังผา นท้งั สองดาน ผูขบั รถจะตองขบั รถใหช าลงและเพิ่มความ

ระมดั ระวงั ยิง่ ข้นึ ขณะท่ีรถผา นทางแคบผูขับรถจะตองระมัดระวังมใิ หร ถชนหรือเสียดสีกัน

19. "ทางแคบดานซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนาดา นซายแคบลงกวาทางทีก่ ําลังผา น ผูขบั รถตองขบั รถใหช า ลง และเพิ่มความ

ระมัดระวังยง่ิ ขึน้

20. "ทางแคบดานขวา"
ความหมาย ทางขางหนา ดานขวาแคบลงกวาทางทีก่ าํ ลังผาน ผูขับรถตอ งขับรถใหช า ลง และเพม่ิ ความ

ระมัดระวังยง่ิ ข้ึน

- 24 -

ภาคปฏิบัติ
1. ฝกทา สญั ญาณจราจร

ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ.2522(มาตรา 24) ไดกําหนดทาสัญญาณจราจร เพ่ือเปนการปฏิบัติ
ใหเปนแบบอยางเดียวกัน และเปนหลักการที่ฝกปฏิบัติของเจาพนักงานจราจร และพนักงานเจาหนาที่ ใหเปน
แบบอยางเดยี วกันและถูกตอ งตามกฎหมายจราจรทางบกและไดก าํ หนดไวดังนี้

สัญญาณจราจร หมายความวา สัญญาณใดๆ ไมวาจะแสดงดวยธง ไฟ ไฟฟา มือ แขน เสียงนกหวีดหรือดวย
วิธอี ื่นใด สาํ หรับใหผขู ับขี่ คนเดินเทา หรอื คนจงู ข่ี หรือไลต อนสตั ว ปฎิบตั ติ ามสญั ญาณนน้ั
ทา สัญญาณจราจรมี 2 ทาใหญๆคือ

1.1 ทา หามรถหรอื ใหร ถหยดุ
1.2 ทาปลอยรถ หรอื ใหร ถไป
2. ผูขับข่ีตองปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่พนักงานเจาหนาที่ไดแสดงดวยเสียงสัญญาณนกหวีด ในกรณี
ตอ ไปน้ี (ดูมาตรา 25)
2.1 เมือ่ พนักงานเจา หนา ที่ใชสญั ญาณเสยี งนกหวดี ยาวหนงึ่ คร้ัง ใหผ ูข บั ขหี่ ยุดรถทันที
2.2 เมอ่ื พนักงานเจาหนาทใี่ ชสญั ญาณนกหวดี ส้นั สองคร้งั ติดตอกนั ใหผูข บั ขีข่ บั รถผานไปได
3. ฝกผปู ฏบิ ัตริ วมสัญญาณจราจรทเ่ี จาหนา ทแี่ สดงตามมาตรา 24 กับเสยี งสญั ญาณนกหวดี ตามมาตรา 25
4. ฝกการจําลองสถานการณสมมุติมีรถเกิดอุบัติเหตุชนกัน ใหผูเขารับการอบรม ทําแผนท่ีเกิดเหตุ จัดการ
จราจร


Click to View FlipBook Version