งานเครือ่ งล่างรถยนต์
นายอนนั ตพงษ์ วรรณวัติ
ระดบั ปรญิ ญาตรี 1 สาขาวิชา เทคโนโลยยี านยนต์
รายงานนี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชาการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ งานอาชพี
วิทยาลัยเทคนิคอบุ ลราชธานี
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
คานา
รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ืองานอาขีพ ได้จัดทาข้ึนเพ่ือค้นคว้าหา
ข้อมูลใช้สาหรับศึกษา หาความรู้ ภายในรายงานฉบับบน้ีประกอบด้วยเนื้อหาเก่ียวกับ ความหมายและหน้าท่ีช่วง
ล่างรถยนต์ หลักการทางานของช่วงล่างรถยนต์ หลักการทางานระบบบังคับเล้ียว หลักการทางานระบบเบรก
หลักการทางานของโชค๊ อพั และหลักการทางานของลอ้ และยาง
ทางผู้จัดทาขอขอบพระคุณเจ้าของเอกสารและข้อมูลต่างๆที่ผู้จัดทานามาประกอบรายงานผู้จัดทาหวังว่า
รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ ศึกษาหาความรู้ จากรายงานฉบับนี้ไม่มากก็น้อย หากมีข้องบกพร่อง
ประการใด ทางคณะผูจ้ ดั ทา ขออภัยมา ณ ทนี่ ดี้ ้วย
อนันตพงษ์ วรรณวตั ิ
(นายอนนั ตพงษ์ วรรณวัติ)
ผู้จัดทา
สารบญั หนา้
ก
เรอ่ื ง ข
คานา
สารบญั 2
ชว่ งล่างรถยนต์ 3
4
หน้าทแ่ี ละความหมายชว่ งล่างรถยนต์ 5
ระบบบงั คับเลยี้ ว 7
โชค้ อัพ
ระบบเบรกรถยนต์
ลอ้ และยาง
งานเครอ่ื งล่างรถยนต์
จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้
1. เขา้ ใจหลกั การทางานระบบรองรบั น้าหนัก ระบบบังคับเล้ียว ระบบเบรก อปุ กรณล์ ดการ
สั่นสะเทือน และกนั โคลง ล้อยางและการตง้ั ศนู ยล์ อ้
2. ถอดประกอบ ตรวจสภาพบรกิ ารระบบรองรับนา้ หนัก ระบบบงั คับเลีย้ ว ระบบเบรก
อุปกรณล์ ดการสัน่ สะเทือนและกันโคลง ลอ้ ยางและการตงั้ ศนู ยล์ อ้
3. มกี จิ นสิ ยั ทดี่ ีในการทางานรับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัยและ
รักษาสภาพแวดล้อม
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทางานและถอดประกอบระบบเคร่ืองล่างรถยนต์
2. ตรวจสภาพส่วนประกอบของระบบเครอ่ื งลา่ งรถยนตต์ ามคูม่ ือ
3. ถอดประกอบช้ินสว่ นของระบบเครอ่ื งล่างรถยนต์ตามคมู่ ือ
4. ซอ่ มและบารงุ รกั ษาช้ินส่วนของระบบเครอื่ งลา่ งรถยนตต์ ามคมู่ อื
5. การตรวจสอบและตงั้ ศนู ยล์ ้อรถยนต์ตามคมู่ อื
6. บรกิ ารล้อและยางรถยนตต์ ามคมู่ อื
คาอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกบั หลักการทางานการถอดประกอบตรวจสภาพระบบรองรับน้าหนกั
ระบบบังคบั เลีย้ ว ระบบเบรก อุปกรณล์ ดการส่ันสะเทอื นและกันโคลง การบริการลอ้ ยางและการตง้ั
ศนู ยล์ ้อ
ช่วงลา่ งรถยนต์
หน้าท่ีของช่วงล่างรถยนต์
รองรบั นา้ หนกั ของตัวรถยนต์
ส่วนล่างของรถยนต์มีหน้าท่ีในการรองรับน้าหนักตัวรถยนต์ เป็นส่วนที่จะสัมผัสกับพื้นผิว
ถนน ซึ่งรวมไปถึงล้อรถ ทาให้เกิดความสมดุลต่างๆ ในการขับเคลื่อน และเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้ผู้
ขบั ข่ีสามารถควบคมุ รถไปยงั ทิศทางทตี่ อ้ งการได้
รองรับและป้องกันแรงสน่ั สะเทอื น
นอกจากช่วงล่างจะคอยแบกรับน้าหนักของตัวรถยนต์แล้ว ยังทาหน้าท่ีในการรับแรง
กระแทกหรือแรงส่ันสะเทือน เวลาที่รถตกหลุม หรือขับบนพ้ืนสภาพผิวถนนท่ีขรุขระ และด้วย
คุณสมบัตินี้จึงทาให้ห้องโดยสารไม่ได้รับแรงสะเทือนจากการตกหลุมหรือการว่ิงบนพ้ืนผิวท่ีขรุขระ
มากนัก
รกั ษาสมดุลของพื้นผิวถนนและตัวรถ
ทาหน้าที่รักษาสมดุลความสูงของตัวรถต่อพื้นผิวถนน เม่ือเวลาท่ีรถขับเคลื่อนในสภาพถนน
ที่ไม่เอ้ืออานวย เช่น ถนนขรุขระ เป็นหลุมเป็นบ่อ ระบบช่วงล่างน้ีจะสามารถปรับระดับของล้อที่
สัมผัสกับพืน้ ผิวถนน ซงึ่ จะไมท่ าใหเ้ กิดความกระทบกระเทอื นกับตวั พื้นรถด้านล่าง
ทาหน้าทเ่ี ป็นตวั เบรกหรอื ชะลอ
ระบบช่วงล่างจะมีส่วนของเบรกมือและเบรกเท้า เป็นส่วนสาคัญของการควบคุมการ
เคลอื่ นทขี่ องรถยนต์ จงึ ทาใหเ้ บรกหรอื ชะลอรถได้ดยี ่งิ ข้ึน
1.งานเครื่องลา่ งรถยนต์ หมายถงึ
“ช่วงล่าง” แปลมาจากคาว่า Suspensions ในภาษาอังกฤษ หน้าท่ีโดยตรง คือ “ลดอาการ
สั่นสะเทือนอันเกิดจากการกล้ิงของล้อสัมผัสกับพื้นผิวถ นน” ให้หลงเหลือส่งถ่ายไปยังห้องโดยสาร
น้อยที่สุด แต่ระบบกันสะเทือนก็ยังมีหน้าท่ีแฝงอีกหลายข้อ ได้แก่ ช่วยให้การบังคับควบคุมรถทาได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ, รกั ษาระดับตัวรถ ให้พืน้ รถห่างจากผวิ ถนนคงท่ี, ควบคุมลอ้ ใหต้ ง้ั ฉากกับพนื้ ถนน
ตลอดเวลาเพ่อื ใหห้ นา้ ยางสัมผสั กับพนื้ ถนนมากท่สี ดุ แม้ในขณะเขา้ โคง้ , ลดอาการกระดก และโยนตวั
สมดุลใหร้ ถอยู่ในสภาพปกติ ขณะเคล่ือนที่ผ่านผวิ ถนนทไ่ี ม่ราบเรยี บ
การรองรับน้าหนัก ในศัพท์ทางรถยนต์ หมายถึง การใช้สปริงค่ันกลางระหว่างโครงรถ
(Frame), ตัวถัง (Body), เคร่ืองยนต์, ชุดส่งกาลัง กับล้อ ซ่ึงเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรง
กับพื้นถนน น้าหนักของอุปกรณ์ดังกล่าว ตลอดจนน้าหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริง เราเรียกว่า
น้าหนักเหนือสปริง (Sprung weight) ส่วนน้าหนักใต้สปริง ซึ่งได้แก่ ล้อ, ยาง, ชุดเพลาท้าย (ในรถที่
ใช้แบบคานแข็ง) และเบรก จะเป็นน้าหนักที่สปริงไม่ได้รองรับ ถูกเรียกว่า น้าหนักใต้สปริง
(Unsprung weight)
2.หลักการทางานการถอดประกอบตรวจสอบระบบรองรบั น้าหนกั
ระบบรองรับ หรือ ช่วงล่าง เป็นระบบรองรับน้าหนักและการควบคุมของรถยนต์ มีหน้าที่
รองรับตัวถงั รถ เพม่ิ ความสมดลุ ให้แก่ ตัวรถยนต์ ระบบรองรับจะรับแรงกระแทกและลดแรงสะเทือน
ให้นอ้ ยลง ทาให้ควบคุมรถได้ดีขึ้นการรองรบั นา้ หนกั ในศัพท์ทางรถยนต์ หมายถึงการใช้สปริงค่ันกลาง
ระหว่างโครงรถ เคร่ืองยนต์ชุดส่งกาลังล้อซ่ึงเป็นส่วนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพ้ืนถนน
น้าหนักของอุปกรณ์ดังกล่าวตลอดจนน้าหนักบรรทุกที่อยู่ด้านบนของสปริงเรียกว่า น้าหนักเหนือ
สปริง ส่วนน้าหนักใต้สปริง ซึ่งได้แก่ ล้อ และ ยางชุดเพลาท้ายในรถท่ีใช้แบบคานแข็ง และ เบรก จะ
เป็นนา้ หนกั ทีส่ ปรงิ ไมไ่ ด้รองรับ เรียกวา่ นา้ หนักใต้สปริงของรถยนต์
ระบบบังคบั เล้ียว
หลักการทางาน การถอดประกอบตรวจสภาพระบบบังคบั เลี้ยว
เปน็ ระบบทคี่ วบคุมการเลยี้ วของรถยนตผ์ า่ นการบงั คบั จากคนขบั ในหอ้ งโดยสารเพ่ือให้ล้อ
หนา้ ทัง้ 2ล้อเกดิ การหันตามทิศทางทีต่ ้องการ โดยจะช่วยผอ่ นแรงจากผ้บู ังคับผา่ นการใช้ชุดเฟอื งทด
แรงทีอี ยู่ระหวา่ งแกนพวงมาลัยกับแขนส่งกาลงั ทีเ่ รียกว่า "กระปุกพวงมาลยั " เมอ่ื ออกแรงหมนุ ที่
พวงมาลัยก็จะเกิดการสง่ ผ่านแรงมายงั กระปกุ พวงมาลยั และสง่ ไปทแ่ี กนยึดกับล้อก็จะทาให้ลอ้ หมนุ
ตามทศิ ทางทต่ี อ้ งการ
ระบบบงั คับเล้ยี วแบง่ เป็น 2 แบบ
1.ระบบพวงมาลัยแบบ Steering Linkage เปน็ ระบบเลยี้ วทใ่ี ชก้ ารส่งกาลงั ผ่านคันชักคัน
ส่งผ่านจุดเช่ือมต่อ และจะใช้แขนพิทแมน (ขาไก)่ ซึง่ ได้รับแรงบดิ เปลี่ยนทิศทางมาจากกระปกุ เกียร์
มาบังคบั แขนพิทแมน
2.ระบบพวงมาลัย Rack and Pinion จะใชว้ ิธี ผา่ นกาลงั การหมุนพวงมาลัยผา่ นเฟอื งขบั และ
เฟืองสะพาน จะชว่ ยทดแรงมากกวา่ ในแบบท่หี น่ึง
โชค๊ อัพ
โช๊คอัพ (Shock Absorber) เป็นอุปกรณ์ไฮดรอลิคสาคัญที่ช่วยในเร่ืองของการรองรับแรง
กระแทก ลดแรงส่ันสะเทือนของรถทาให้เวลาขับรถฝ่าเขาฝ่าเนินทาให้การเด้งข้ึนเด้งลงของรถน้ัน
ซอฟต์ขึ้น ดูดซับแรงกระแทกได้ดี นั่นหมายความว่าการมีโช๊คอัพก็จะช่วยให้การขับรถสะดวก
ปลอดภัยมากขึ้นนั่นเองและยังทาหน้าท่ีหน่วงการเคล่ือนที่ข้ึนลงของตัวถังรถยนต์ เพ่ือให้ล้อรถสัมผสั
กับผิวถนนตลอดเวลาขณะรถวิ่ง โดยการควบคุมการยุบและการสั่นของสปริง หรือแหนบ โดยการ
เปล่ียนการสั่นสะเทือนจากพลังงานกลให้เป็พลังงานความร้อน แบบนี้เราคงต้องหม่ันไปร้านจาหน่าย
โช๊คอัพ หันมาใส่ใจดูแลโช๊คอัพกันเสียหน่อยจึงอยากแนะนาให้เลือกร้านที่จาหน่ายโช๊คอัพดีๆ
ปลอดภยั มั่นใจ หายหว่ ง ดจี ริง เชอ่ื ถือได้กับร้านที่จาหนา่ ยโช๊คอัพ
ประเภทของโชค๊ อพั
แบง่ ตามส่อื การทางานได้ 2 ระบบคือ
1. โช๊คอัพน้ามัน ใช้น้ามันไฮดรอลิคเป็นตัวทางานให้เกิดความหนืดเพียงอย่างเดียว ไม่แนะนา
สาหรับรถท่ีต้องใช้ความเร็วสูงเพราะการทางานของน้ามันไฮดรอลิคจะไหลผ่านวาล์วภายในลูกสูบจึง
ทาให้เกิดฟองอากาศเกิดขึ้นภายในน้ามันไฮดรอลิค ซ่ึงฟองอากาศน้ีจะทาให้โช๊คอัพทางานได้ไม่ดี
เท่าที่ควรเพราะถ้าฟองอากาศแตกจะทาให้โช๊คอัพเกิดการขาดช่วงในการทางานระยะหนึ่งเป็น
ชว่ งเวลาส้ันๆ
2. โช๊คอัพแก็ส เป็นการอาศัยการทางานร่วมกัน 2 อย่าง ระหว่างแก๊สไนโตรเจนกับน้ามันไฮ
ดรอลิค เมื่อโช๊คอัพได้รับแรงสะเทือนจากพื้นถนน ลูกสูบของโช๊คอัพก็จะเล่ือนตัวลงมาด้านล่างของ
กระบอกลูกสูบ ทาให้น้ามันอีกส่วนไหลผ่านวาล์วไปจนถึงด้านล่างและเข้าไปในห้องน้ามันสารอง
ขณะเดยี วกันน้ามันในห้องน้ามันสารอง จะทาการอัดแกส๊ ไนโตรเจนให้เกดิ แรงดัน เมื่อแรงดันเกดิ ข้ึนก็
จะทาให้เกิดฟองอากาศแตกตัว จึงมีข้อดีตรงที่ทาให้รถมีความนุ่มนวลขณะขับข่ี ลดแรงกระแทกได้
มากกว่า แตก่ ็มรี าคาที่สูงกวา่ โช๊คอัพน้ามันเชน่ กัน
ระบบเบรกรถยนต์
ระบบเบรกรถยนต์ในบัจจุบันเปน็ แบบไฮโดรลิก แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบดรัมเบรก และ
แบบดิสเบรก ระบบเบรก ทั้งสองระบบมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งผู้ผลิตรถยนต์ได้มีการพัฒนาปรับปรุง
อยู่ตลอดเวลา เพ่ือใหก้ ารใช้งานตรงกบั ความต้องการของผใู้ ช้รถมากท่ีสุด
1. ระบบเบรกแบบดรัมเบรก (Drum Brake) ดรัมเบรกจะตดิ ต้ังแน่นกับลูกลอ้ เบรกจะทางาน
เมื่อมีการถา่ งก้ามเบรกใหเ้ สยี ดสีกบั ตัวเบรกซงึ่ ครมั เบรกจะทาให้ลอ้ หยดุ ดรัมเบรกใช้มากในรถบรรทกุ
ท้ังขนาดใหญ่และเล็ก รวมท้งั รถยนต์ส่วนบคุ คลบางร่นุ รถบางรุ่นอาจใชร้ ะบบนเ้ี ฉพาะล้อหลัง
ข้อดี มีความสามารถในการหยุดรถได้เร็ว เพราะก้ามเบรกและดรัมเบรกถูกยึดติดกับดุมล้อ
เม่ือเหยยี บเบรก คนขบั ใชแ้ รงกดดันเบรกนอ้ ย รถบางรุ่นไมจ่ าเปน็ ต้องใชห้ มอ้ ลมเบรกชว่ ยในการเบรก
ข้อเสีย ความร้อนที่เกิดจากการเสียดสี ระหว่างผ้าเบรกในดรัมเบรกนั้น ไม่สามารถถ่ายเท
ความร้อนไดด้ ี บางคร้งั ทาใหผ้ า้ เบรกมีอุณหภูมสิ งู มากมผี ลทาใหป้ ระสิทธภิ าพการเบรกลดลง
2. ระบบเบรกแบบดิสก์เบรก (Disc Brake) เป็นระบบเบรกระบบใหม่ท่ีนิยมกันมาก เบรกจะ
ทางานโดยดันผา้ เบรกให้สมั ผสั กบั จานเบรกเพื่อให้รถหยดุ รถยนตบ์ างรุ่นใชด้ สิ กเ์ บรกท้งั 4 ล้อ บางรนุ่
ใช้เฉพาะล้อหน้า
ขอ้ ดี ลดอาการเฟด (เบรกหาย) เนอ่ื งจากอากาศไดเ้ ทความร้อนไดด้ ีกว่าดรัมเบรก นอกจากน้ัน
เม่ือเบรกเปียกนา้ ผ้าเบรก จะสลัดนา้ ออกจาก ระบบได้ดี ในขณะทด่ี รมั เบรกน้าจะขังอยภู่ ายใน และใช้
เวลาถา่ ยเทคอ่ นข้างช้า
ขอ้ เสยี ไม่มีระบบ Servo action หรือ multiplying action เหมือนกับดรัมเบรก ผูข้ ับจึงต้อง
ออกแรงมากกว่า จงึ ต้องใช้ระบบเพม่ิ กาลัง เพ่ือเป็นการผ่อนแรงขณะเหยยี บเบรกทาใหร้ ะบบดสิ เบรก
มีราคาคอ่ นขา้ งแพงกว่าดรมั เบรก
ล้อ และ ยางรถยนต์
มีความสาคัญต่อการเคล่ือนท่ีบนท้องถนน ของรถยนต์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะต้องใช้ทั้ง
ของเรื่องการเดินทาง และขนส่งสินค้าไปยังสถานท่ีต่างๆ ดังน้ัน ล้อ และยางรถยนต์ จึงทาหน้าที่
ดงั ต่อไปนี้
1. รองรับนา้ หนักตัวรถบรรทุก
2. ลดแรงส่ันสะเทือนจากพ้ืนผิวถนน ป้องกันความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึนต่อถนน และ ตัวรถยนต์
ตลอดจนนา้ หนักส่ิงของรถบรรทุก
3. ถา่ ยทอดกาลงั ขับเคล่อื น และต้านทานการหยุดของตัวรถ (แรงเสียดทาน)การเบรก)
4. เปลย่ี นทศิ ทางการเคลือ่ นที่ของตวั รถ (การบงั คับเล้ยี ว)
ยางรถยนต์ (Pneumatic Tire)
ยางรถยนต์ คือชิ้นส่วนท่ีประกอบด้วย ยาง, ผ้าใบ, เหล็กกล้า, สารเคมี, และวัสดุอื่นๆ เมื่อ
ติดต้ังเข้ากับกระทะล้อ และสูบลมเข้าไปจะทาให้สามารถรองรับน้าหนัก และทาให้รถเคล่ือนท่ีไปได้
เม่อื มแี รงฉดุ ลาก