The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ของสมาคมอัสสัมชัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สมาคมอัสสัมชัญ, 2021-11-30 06:08:57

นามอัสสัมชัญ

วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ของสมาคมอัสสัมชัญ

Keywords: วารสาร,assumption

น า ม อั ส สั ม ชั ญ

นามASSUMPTION

ACA NEWSLETTER ปที ี่ 1 ฉบบั ท่ี 1 พ.ย. - ธ.ค. พ.ศ. 2564

88th ANNIVERSARY
BIRTHDAY

BRO. LOUIS
CHANEL

นาม ASSUMPTION INSIDE STORY

PANDEMIC
CHANGES
THE WORLD

2 นาม ASSUMPTION

สารจากภราดาหลุยส์

แด่บรรดาอสั สมั ชนกิ ท่ีรกั

บราเดอรม์ คี วามยินดมี ากทท่ี ราบว่า สมาคมอสั สมั ชัญ โดย นายศริ ทรงวิทย์ จิรธนาโศภิน
ที่จะผลิตวารสารข้ึนโดยให้ช่ือว่า “นามอัสสัมชัญ” ซึ่งจะผลิตเป็น e-Book โดยจะโหลดขึ้นแพลท
ฟอร์มของ AnyFlip.com และจะผลติ เปน็ สิง่ พิมพ์ โดยกาหนดออก 3 เดือน/1 เล่ม เพ่ือง่ายต่อการ
แจกจา่ ยใหก้ บั อัสสัมชนกิ ดว้ ยกนั และผ้ปู กครองของนกั เรียนท้ังสองแผนกของโรงเรียนอกี ด้วย

บราเดอร์ที่เขียนว่า มีความยินดีมาก เพราะได้เคยกระตุ้นสมาคมอัสสัมชัญหลายครั้ง
(ไมม่ ีผล) ใหผ้ ลติ วารสารเผยแพรก่ จิ การตา่ งๆ ของสมาคมฯ ให้อสั สัมชนกิ ไดร้ บั ทราบพร้อมกับให้
บุคคลอ่ืนรับทราบด้วย โดยเฉพาะผู้ปกครองและนักเรียนท้ังสองแผนกของโรงเรียนให้ได้รับทราบ
สมาคมอัสสัมชัญของเราได้หลับไหลมานานแล้ว แต่ในปัจจุบัน โดยคณะกรรมการชุดใหม่ นาโดย
นายกสมาคมฯ พลเรอื เอก ประพฤตพิ ร อักษรมัต เร่ิมต่ืนเปิดเนตรข้ึนช่วยให้กิจการของสมาคมฯ
มชี วี ติ ชวี าเริ่มข้ึน บราเดอร์มีความเช่ือม่ันว่า สมาคมอัสสัมชัญจะเปิดหน้าใหม่ให้เป็นเป้าที่น่าสนใจ
ของอสั สัมชนิกและของบคุ คลทวั่ ไปจะได้รบั ทราบ

“ของดมี ีไว้เพื่อเผยแพร่ เก็บไวก้ ส็ ูญเปล่าไร้ค่า และหมดศกั ดิ์ศรี”
บราเดอร์ขอให้กาลังใจ ขอให้วารสาร “นามอัสสัมชัญ” นี้ผลิตออกมา เพ่ือช่ือเสียงของ
“อสั สัมชัญ” ทจ่ี ะตอ้ งเดน่ ตอ่ ไปอยา่ งไมห่ ยดุ ยั้งให้สมตามคารอ้ งในเพลง “สดดุ อี ัสสัมชญั ” วา่

“ชอ่ื อัสสัมชัญน้ันเดน่ มาช้านาน ยังมีพยานปรากฏรับรอง....”
เราอสั สมั ชนิกทุกท่าน ต้องเป็นพยาน สนบั สนุนใหว้ ารสาร e-Newsletter นี้
มีชีวิตยนื ยาวตอ่ ไปอยา่ งรุง่ เรืองตลอดไป อยพู่ ร้อมๆ กบั โรงเรียน และสมาคมฯ ดว้ ยกนั
ขอพระเจ้าไดโ้ ปรดอวยพระพรใหอ้ ัสสมั ชนกิ ที่ร่วมมือรว่ มใจใหก้ าเนดิ วารสาร
“นามอสั สมั ชญั ” น้ี จงประสบแต่ความสุขความเจรญิ ก้าวหน้าไปพรอ้ มๆ กนั ด้วยเทอญ
ขอพระแม่มารีย์องคอ์ ปุ ถมั ภ์ของ “อสั สมั ชัญ” จงปกปักรกั ษาให้อสั สัมชนิกทุกผทู้ กุ นาม
จงเจริญควบคู่กับโรงเรยี น และสมาคมฯ พร้อมๆ กันตลอดไป

ดว้ ยรกั และผูกพนั เพอ่ื “อสั สมั ชญั ” ของเรา

ภ.หลยุ ส์ วิรยิ ะ ฉนั ทวโรดม
อัสสมั ชนิก 13139

อดตี อธิการและผู้อานวยการของ “อสั สมั ชญั ”

นาม ASSUMPTION 3

สารนายกสมาคมอัสสัมชัญ

ส มาคมอัสสัมชัญมีประวัติความเป็นมาท่ียาวนาน พลเรอื เอก ประพฤตพิ ร อักษรมัต
กว่า 117 ปี (พ.ศ. 2447 – 2564) โดยเร่ิมก่อต้ัง นายกสมาคมอัสสัมชัญ
จากดาริของคุณพ่อกอลมเบต์ ด้วยการแนะนา
นักเรียนเก่าท่ีมีอาชีพ การงานมั่นคง ให้มา เหมือนอย่างเช่นการจัดทาวารสารเผยแพร่ในอดีต ซึ่งสมาคม
รวมตวั พบปะสงั สรรค์กัน เพ่ือชว่ ยเหลอื แนะนางาน อสั สมั ชญั ได้เว้นว่างจากการดาเนินการจัดทาวารสารลักษณะนี้มา
ให้กับรุ่นน้องที่เพิ่งจบการศึกษา และเร่ิมออกหางานทา จนเกิดการ นานกวา่ 30 ปี และแม้ว่าในปัจจุบันการส่ือสารสามารถทาได้ในแบบ
จั ด ต้ั ง เ ป็ น ‘ ส โ ม ส ร นั ก เ รี ย น เ ก่ า อั ส สั ม ชั ญ ’ ข้ึ น ใ น วั น ท่ี ดิจิทัลบนสื่อออนไลน์ก็ตาม แต่วารสารที่เป็นตัวกระดาษก็ยังคง
1 มิถุนายน พ.ศ. 2447 บนอาคารไม้ 2 ช้ัน เยื้องตึกเก่าโรงเรียน มีเสน่ห์ สามารถส่งสารเจาะจงถึงมือผู้รับสารได้ตามโอกาส
อัสสัมชัญ สโมสรที่จัดต้ังข้ึนน้ี เป็นท่ีรวมตัวของอัสสัมชนิกในการ และสถานท่ีต่างๆ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผมจึงได้ขอให้
ทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันเป็นเวลานานหลายปี จากจานวนสมาชิก คุณศิรทรงวิทย์ จิรธนาโศภิน (AC89) กรรมการสมาคมฯ ซ่ึงเป็น
ที่เพ่ิมข้ึนทาให้ต้องย้ายออกไปเช่าพ้ืนที่ภายนอกเป็นสถานที่รวมตัว ประธานคณะทางานด้านส่ือสารองค์การและประชาสัมพันธ์ ช่วย
จนในท่ีสุดกลุ่มอัสสัมชนิก รุ่นพี่รุ่นน้องได้อาสาลงขันร่วมกันจัดซื้อ รื้อฟ้ืนการจัดทาส่ือวารสารของสมาคม โดยได้มอบหมายให้
ท่ีดินเพื่อสร้างให้เป็นสถานที่รวมตัวถาวรแทนการเช่า เราจึงได้เห็น คุณพรพฤติกร อักษรมัต (AC124) กรรมการในคณะทางาน
อาคารสมาคมอสั สัมชญั ทีถ่ กู ออกแบบไว้อย่างสง่างาม ถูกสร้างข้ึน ทาหน้าท่ีเป็นบรรณาธิการวารสาร และได้เรียนเชิญ คุณทวีพร
บนผืนท่ีดินริมถนนพระราม 4 ในปี พ.ศ. 2510 สถานท่ีนี้นับว่า ธีรลักษณ์ (AC89) อัสสัมชนิกผู้ศึกษาเรื่องราวของนิตยสาร
เกิดข้ึนจากวิสัยทัศน์ของพ่ีๆ คณะกรรมการสมาคมอัสสัมชัญทุก “ วรี ธรรม ” ในอดตี มีประสบการณ์ในการทาวารสาร “ อัสสัมชัญ
ชุดในอดีต ซ่ึงได้ทิ้งไว้เป็นมรดก ให้ถือเป็นกรรมสิทธ์ิ ของ สาส์น ”, “ อุโฆษสาร ” ฯลฯ ซึ่งเคยเป็นวารสารยอดเย่ียมและ
อสั สมั ชนิกทุกคนสามารถเขา้ มาใช้ทากิจกรรมสังสรรค์ตา่ งๆ ทรงคุณค่าของโรงเรียนอัสสัมชัญในครั้งเก่าก่อน มาร่วมเป็นที่
ปรึกษา ในการจัดทาวารสาร นามอัสสัมชัญ ในคร้ังนี้ด้วย โดยมี
สมาคมอัสสัมชัญในวันน้ียังคงดารงวัตถุประสงค์ตามที่พี่ๆ กาหนดออกวารสาร 1 ฉบับในทุก 3 เดือน และจะดาเนินการออก
คณะกรรมการสมาคมฯ ในอดีตได้วางไว้ คือเป็นศูนย์กลางในการ อย่างต่อเน่อื ง
รวมตัวของอัสสัมชนิกทุกรุ่นที่จบจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ในการ
จัดทากิจกรรมระหว่างหมู่คณะ การประสานการช่วยเหลือเก้ือกูล ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนรวมทาให้ วารสาร
การแลกเปล่ียนข่าวสาร การจัดทาโครงการและกิจกรรมให้กับ “ นามอัสสัมชัญ ” ที่ท่านถืออ่านอยู่ขณะน้ี ออกมาสวยงาม
โรงเรียนอัสสัมชัญ โดยเฉพาะความห่วงใยในด้านพัฒนาการศึกษา สมบูรณ์แบบ มีเน้ือหาสาระที่เป็นประโยชน์ ทั้งน้ีหากท่านใดมีสาร
เสรมิ กบั หลกั สูตรของโรงเรียนเพื่อให้น้องๆ มีความรอบรู้ และความ ท่ีจะสื่อไปถึงประชาคมอัสสัมชัญ หรือต้องการเสนอแนะรูปแบบ
เป็นเลิศด้านวิชาการต่างๆ มากขึ้น มีการจัดกิจกรรมให้กับ การทางานท้ังต่อกองบรรณาธิการหรือต่อ คณะกรรมการ
คุณครูปัจจุบัน และคุณครู ท่ีเกษียณอายุแล้ว รวมท้ังการ อานวยการสมาคมในเรื่องต่างๆ กรุณาส่งเป็นข้อความ หรือ
ประสานความร่วมมือกับตัวแทนผู้ปกครองในชั้นต่างๆ ในกิจกรรม เ อ ก ส า ร ผ่ า น ทุ ก ช่ อ ง ท า ง ก า ร ติ ด ต่ อ ข อ ง ส ม า ค ม อั ส สั ม ชั ญ
ท่ีเกี่ยวข้องกับนักเรียน ซึ่งจัดโดยสมาคมฯ โดยงานท้ังหมดท่ีกล่าว ผมและกรรมการอานวยการสมาคมฯ ทุกท่านยินดีที่จะประสาน
มานี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารกิจกรรม หรือโครงการ เร่ืองต่างๆ เพ่ือให้เกิดสิ่งท่ีดีงาม และเป็นประโยชน์กับประชาคม
ได้ผ่ านการประชาสัมพันธ์ บนสื่อดิจิทัลออนไลน์ ท้ัง ทาง อสั สัมชญั ตอ่ ไป.
เว็บไซต์ เฟซบุ๊คเพจ และไลน์ของสมาคมฯ รวมถึงสื่อบนแผ่น
หนา้ กระดาษล่าสุดของสมาคมอัสสัมชัญในชอ่ื ‘นามอัสสมั ชัญ’

วารสาร (Newsletter) “ นามอัสสัมชัญ ” ฉบับปฐมฤกษ์
ซึ่งออกในวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 นี้ได้ออกตรงกับ
วันคล้ายวันเกิด 88 ปีของ บราเดอร์หลุยส์ ชาแนล ซึ่งเป็นที่เคารพ
รักยง่ิ ของพวกเรา ดว้ ยมูลเหตุท่ีว่า วารสารน้ีมาจากแรงกระตุ้นของ
ท่าน บราเดอร์หลุยส์เอง ท่ีต้องการเห็นข่าวสารกิจกรรมต่างๆ
ของสมาคมอัสสัมชัญ และข่าวสารกิจกรรมของอัสสัมชนิกทุกรุ่น
ให้ได้เผยแพร่ออกไปสู่ประชาคมอัสสัมชัญ อันหมายถึงอัสสัมชนิก
นักเรียนปัจจุบัน ผู้ปกครอง และคุณครู ทั้งที่สอนอยู่ หรือที่เกษียณ
ไปแลว้

4 นาม ASSUMPTION

นาม ASSUMPTION 5

6 นาม ASSUMPTION

COVER STORY

บราเดอร์หลยุ สค์ ชาาสแดนดุลี ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ.2014) สมาคมอัสสัมชัญ
เนอ่ื งในโอกาส2ว6นั พเกฤดิ ศคจริกบารยอนบ28586ป4ี โดยการเสนอของภราดาหลุยส์ วิริยะ ฉันทวโรดม ซึ่งท่านได้
ปิ ยะบตุ ร ชลวิจารณ์ ถูกเรียนเชิญให้เป็นประธานการคัดเลือก และมีการจัดต้ัง
อสั สมั ชนิกดีเดน่ กรรมการแต่ละปีเพื่อคัดเลือกอัสสัมชนิกดีเด่น เพ่ือประกาศ
อสช 20314 AC82 ยกยอ่ งในงานคืนสู่เหย้า 16 กุมภาพันธ์ ของทุกปี ต่อเน่ืองมา
ประธานชมรมอสั สมั ชนิกดเี ดน่ จนถึงปจั จุบัน
อดตี นายกสมาคมอสั สมั ชญั
ท่านบราเดอร์หลุยส์ ในฐานะประธานการคัดเลือก
บ อดตี รมช.กระทรวงอตุ สาหกรรม อัสสัมชนิกดีเด่น ได้มีเจตนารมณ์ต่อไปว่า “เมื่อมี อัสสัมชนิก
ราเดอร์หลุยส์ ชาแนล เป็นอดีตอธิการ และเป็นพระ ดีเด่นแล้ว ก็ควรมีโอกาสพบปะสังสรรค์และฟังแนวความคิด
ในดวงใจของชาวศิษย์โรงเรียนอัสสัมชัญ ท่านสอนให้ศิษย์ทุกคน จากท่านเหล่านั้น เพื่อรวมพลังให้การสนับสนุนด้านแนวคิด
ขยันหมั่นเพียร ใฝ่ความรู้ มีวินัย ละบาป มีศีลธรรมจรรยาบรรณ และเพื่อได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากอัสสัมชนิกดีเด่น เป็น
เป็นคนดีและเปน็ คนเก่งของชาติ ประจาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพการ
ทา่ นบราเดอร์ มีบุคลกิ นกั เลง พูดจาตรงไปตรงมา ชอบย่ัวแหย่ เรียนการสอนของคุณครูและนักเรียน” โดยเฉพาะด้าน
ให้ความเปน็ กันเอง ใจดี ใจกวา้ ง มีเมตตากับทกุ คน
ในวยั 88 ปี ซึ่งคนสว่ นใหญจ่ ะเกษยี ณแล้ว แตบ่ ราเดอร์หลุยส์ การอา่ น การเขยี น และ 
ยังคงทางานรับผิดชอบเป็นประธานมูลนิธิบราเดอร์หลุยส์ ชาแนล
ซ่ึงท่านเป็นห่วงคุณครูท่ีเกษียณอายุให้มีรายได้ เพราะยังมีร่างกาย
แขง็ แรงและสมองทสี่ ามารถสอนในวิชาทถ่ี นดั ใหก้ บั โรงเรียนที่ขาดครู
เป็นท่ีปรึกษามูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ ท่ีมีแผนจะช่วยผลิตส่ือ
(เป็นภาพยนตร์ Animation) การเรียนการสอนตามแนวทาง
“ดรุณศึกษา” โดยเฉพาะเรื่องการส่งเสริมภาษาไทย เช่น การเขียน
เรียงความ การคัดลายมือ เป็นต้น รวมท้ังเรื่องจริยธรรมและ
ความกตัญญูกตเวที
บราเดอร์หลุยส์ ไม่เคยขาดการไปร่วมงานเลี้ยงครูเกษียณ
เพ่ือแสดงน้าใจและแสดงความขอบคุณคุณครูที่ทุ่มเทชีวิต เสียสละ
เพ่ือสอนศิษย์ รวมถึงงานรวมรุ่นสมานมิตรซ่ึงเป็นผู้สูงวัย (รวมถึง
คณุ ครสู ูงวยั ด้วย) ให้ได้มโี อกาสมาพบปะสังสรรค์กนั
การคัดเลอื ก การจัดตงั้ ชมรม
และกองทุนชมรมอัสสัมชนิกดเี ด่น
เมื่อโรงเรียนอสั สมั ชญั ครบรอบการก่อตั้ง 108 ปี พ.ศ. 2536
(ค.ศ.1993) ในสมัย พลอากาศเอก นายแพทย์ประกอบ บุรพรัตน์
เป็นนายกสมาคมอัสสัมชัญขณะน้ัน ท่านได้ริเริ่มให้มี การ
ยกยอ่ งอสั สัมชนิกดีเด่นขึ้น ท้ังน้ีเพราะได้เห็นคุณค่าและคุณความดี
ในการประพฤติตนช่วยเหลือสังคม โดยไม่ได้หวังผลตอบแทนใด ๆ
เป็นบคุ คลตวั อย่าง สาหรบั ศษิ ยร์ ุ่นหลังจะไดป้ ฏิบัตติ าม
หลังจากน้ัน ได้มีการประกาศรายช่ืออัสสัมชนิกดีเด่น และจัด
พธิ ีประกาศเกยี รติคุณใหอ้ ัสสมั ชนิกดเี ด่น จานวน 108 ทา่ น

นาม ASSUMPTION 7

เรอ่ื งจากปก

ความเข้าใจโจทย์ (Language Literacy) STEM (Science,
Technology, Engineering and Mathematics) และศึกษาวิชา
สมัยใหม่ เชน่ Robotic, Coding และโภชนาการ เปน็ ตน้

นอกจากนั้น กรรมการชมรมฯ ไดเ้ ข้าพบท่านผู้อานวยการ
โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ภราดา ดร.ทักษบุตร ไกร
ประสิทธ์ิ เพ่ือฟังแนวทางการปรับ การเรียนการสอนสมัยใหม่
โดยนาหลักสตู รมาตรฐานโลก ดังเช่นท่ใี ช้ในประเทศสิงคโปร์ เพ่ือ
พัฒนาครูและเด็กนักเรียน รวมถึงมีระบบการวัดผล โดยมี
เครอื่ งมอื ACP iPSLE มาเปน็ ตวั วัด ซง่ึ ชมรมฯ เห็นว่าเปน็ วิธีท่ี
มีประสิทธิภาพ อันจะนาไปสู่การเพ่ิมศักยภาพการเรียนการ
สอนในแนวทาง PISA ของ OECD ได้ในทส่ี ุด

สมาคมอัสสัมชัญ น้อมรับแนวดาริของบราเดอร์หลุยส์
และได้เรียนเชิญอัสสัมชนิกดีเด่นมาร่วมหารือในงานคืนสู่เหย้า
วันท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2563 เพื่อก่อต้ังชมรมและกองทุน
ชมรมอสั สัมชนกิ ดีเดน่ ซงึ่ มีคณะกรรมการชดุ แรก ดังน้ี

21.. ภภผนรรอู้าาายาดดนปาาวิยหยดะบลกรยุตุ .าศสรรกั์ ชโดวรลงิราวเยิ รสจิ ะยี ากฉนรนันณอธทสั ว์ วสฒัเปโัมรน็นชดป์ญั มรเะเปธปน็า็นนททชี่ปป่ีมรรรกึกึมษษอาาัสสัมชนกิ ดีเด่น เนื่องในโอกาสวันเกิดครบรอบ 88 ปี ของ
3.
4. ศาสตราจารย์ ดร.เกือ้ วงศบ์ ญุ สนิ เป็น กรรมการ บราเดอร์หลุยส์ ชาแนล ในนามของชมรมอัสสัมชนิก
567... พนนลาายยเรสอือภงเอวยั นกชนรปัถมรก์ะวพาชั รฤรโตสกพิินวิทธรุ์ เเอปปกั น็น็ ษกกรรรมรรตั มมเกกปาา็นรรกแแรลลระะมเเหลกรขาัญารนญกุ ากิ ร ดีเด่น และลูกศิษย์บราเดอร์ทุกคน ขอพระเจ้า และส่ิง
ศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลายในสากลโลก ดลบันดาลให้บราเดอร์
และเพอ่ื ให้มีการหารอื วางแผนการดาเนนิ งาน และกจิ กรรม หลุยส์ มีสุขภาพพลานามยั แข็งแรง สขุ สดช่ืน และอยู่เป็น
ของชมรมอัสสัมชนิกดีเด่น ให้เกิดประโยชน์ต่อโรงเรียนและ ร่มโพธ์ิรม่ ไทรของศิษย์ทกุ คนตราบนานเทา่ นาน.
สมาคมอัสสัมชัญ รวมถึงแนวทางการระดมทุนเข้ากองทุน
ชมรมอัสสัมชนิกดีเด่น จึงได้ร่างระเบียบชมรมฯ และได้ผ่านมติ
ท่ีประชุ มสมาชิกชมรมฯ เรียบร้อย เมื่อปี 2563 แล้ ว
คณะกรรมการจึงได้ยึดเอาวันที่ 26 พฤศจิกายน ของทุกปี ซึ่ง
ตรงกับวนั เกิดบราเดอรห์ ลุยส์ เปน็ วันประชุมใหญ่สมาชกิ ชมรมฯ

ท่านบราเดอร์หลุยส์ ชาแนล เป็นปูชนียบุคคลของโรงเรียน
อัสสมั ชญั และของสมาคมอสั สมั ชญั ทสี่ นับสนนุ สง่ เสริมศิษย์เก่า
และศิษย์ปัจจุบัน เป็นผู้ใหญ่ใจดี รักศิษย์ รักสถาบัน ส่งเสริม
ศาสนาโดยถ่ายทอดคาสอนของบราเดอร์ฮีแลร์ ปฏิบัติตนอยู่ใน
ศีลธรรม เป็นตัวอย่างท่ีศิษย์ทุกคนควรนามาประพฤติปฏิบัติ
ตาม

ศ.ดร.นพ.ประสทิ ธิ ์วฒั นาภา
คณบดแี พทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล ม.มหดิ ล

พรอ้ มอดสั ว้สยมั อชสันสิกมั ดชเี ดนน่กิ ดปเี ดระน่ จรานุ่ ปีA2C58599
ในงานวนั ชมรมอสั สมั ชนกิ ดเี ด่น

และวนั เกดิ บ2ร6าเดพอฤรศห์ จลกิ ุยาสย์นชา2แ5น6ล3

8 นาม ASSUMPTION

INSIDE STORY

PANDEMIC ผ้อูภารนาดวยากดารร.ศโรกั งดเรายี สนกอนัสสธวมั ัฒชญั น์

CHANGES โควิด-19
THE เปน็ ความทา้ ทาย
และสร้างจิตสานกึ
WORLD ของความรบั ผดิ ชอบ

นับตั้งแต่วันแรกที่เช้ือไวรัสโคโรนา (Coronavirus) สร่วมกัน
ถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้สร้างความ
หรือโควิด19 (COVID-19) อุบัติข้ึนและแพร่ระบาดไปทั่วทุก ทา้ ทายและเปน็ ตวั เร่งทีม่ าขับเคลอื่ นการเปลีย่ นแปลงทางการศึกษา
มมุ โลก สรา้ งความเสียหายในทกุ ภาคส่วนและคร่าชีวิตผู้คน ไม่ว่าจะเป็น การปรับตัวของระบบการศึกษา การปรับเปล่ียน
ไปเป็นจานวนมาก มียอดผู้ติดเชื้อสะสมท่ัวโลกกว่า 250 แนวคิดการยกระดับคุณภาพการศึกษา การปลดล็อคระบบ
ล้านคน และยงั กลบั มาระบาดใหม่ได้อกี แม้ในพื้นทที่ ีฉ่ ีดวัคซนี การศึกษาในหลายมติ ิเพือ่ เปลีย่ นระบบการศึกษาใหเ้ ป็น Education
ครบโดสแบบยุโรป เป็นต้น กล่าวได้ว่าการระบาดคร้ังน้ี Agility การบริหารการเปลี่ยนแปลง การปรับเปล่ียนรูปแบบการ
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คน และเปลี่ยนโฉมหน้าโลก เรียนรเู้ พอ่ื ให้เกิดความเหมาะสมกบั สถานการณ์ การปรับสร้าง
ทนี่ ่าอยใู่ บน้ไี ปอยา่ งสิน้ เชิง การศึกษาข้ึนใหม่ให้ทันต่อความเปล่ียนแปลง การปรับตัวรับ
โควดิ -19 กบั วิถชี วี ติ ทเ่ี ปลย่ี นไป ความเป็นจริง และการใช้ชีวิตแบบ New Normal การปรับวิธีคิด
(Mind Set) ทางการศึกษาใหเ้ ป็นการศึกษาในโลกที่เปน็ จริง
Inside story ฉบับปฐมฤกษ์น้ี ได้รับเกียรติจาก
2 ผู้บริหารสถานศึกษาและ 2 ผู้บริหารในองค์กรชั้นนา โ ด ย ต้ อ ง ป รั บ วิ ธี คิ ด จ า ก เ ดิ ม คื อ จ า ก ยึ ด เ อ า ตั ว เ อ ง เ ป็ น
ที่จะมาบอกเล่าถึงผลกระทบจากโควิด-19 ได้เปลี่ยนโฉม ศูนย์กลางมาเป็นมุมมองแบบเครือข่ายและมุมมองแบบพึ่งพา เพ่ือ
หน้าโลกการเรียน โลกการเงิน โลกการส่งออก และโลก เช่ือมตัวเองสู่โลก และการเรียนรู้โลกแห่งความเป็นจริง รวมทั้ง
การค้าปลีกอย่างไรบ้าง รวมถึงแนวทางการรับมือกับการ โควิด-19 ยังเป็นตัวเร่งถึงความสาคัญของทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษท่ี 21 (3R8C) และเปน็ โอกาสสาคัญ ในการสรา้ งสมรรถนะ
ระบาดใหญ่ในคร้ังน้ี ของนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นการปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์
ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น มองเห็นความต้องการและความแตกต่าง
มี global mindset ที่มองตัวเองเป็นพลโลก มีทักษะและ
ความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์ปัญหา มีทักษะด้านดิจิทัล
ทกั ษะการสอ่ื สารและการรู้เท่าทันส่ือ มีทักษะการจัดการตัวเองและ
การทางานร่วมกับผู้อื่น การมองประเด็นความเสี่ยง วัฒนธรรม
การเผ่ือเหลือเผื่อขาด และเป็นโอกาสในการฝึกคุณธรรม
จริยธรรม ความรับผิดชอบ ความมีวินัย ความตรงต่อเวลา และ
การกล้าแสดงออกของนักเรยี น

ความท้าทายท่ีสาคัญอกี ประการหน่งึ คือ ยคุ Post Pandemic
ทท่ี ุกคนตอ้ งมีจิตสานึกของความรับผดิ ชอบรว่ มกัน โดยมาร่วมกัน
ออกแบบอนาคตของการศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถนะนักเรียนให้มี
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 ท่ีย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับ
การเรียนรู้ของนักเรียน ความถนัด ความสนใจและศักยภาพของ
นักเรียน การเรียนรู้ ท่ีเช่ือมโยงกับโลกความเป็นจริงและความ
ท้าทายใหม่ ๆ การเรียนรู้เพ่ือสุขภาพ การเรียนรู้เพื่ออาชีพในโลก
อนาคต และการสร้างปฏิสัมพันธ์ทีด่ ตี อ่ กัน.

ภาพนกั เรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนอัสสมั ชญั เข้ารบั การฉดี วคั ซนี ไฟเซอร์ เข็ม 2

นาม ASSUMPTION 9

เร่ืองประจาฉบบั

โควิด-19 เช้ือรา้ ยทม่ี าเปลี่ยนโลก เปล่ยี นเรา

ภราดา ดร.ทกั ษบุตร ไกรประสิทธิ์
ผอู้ านวยการโรงเรียนอสั สมั ชญั แผนกประถม

นกั เรยี นอสั สมั ชญั แผนกประถม ผ่านประสบการณก์ าร ทกุ วัน ทางบรษิ ทั Microsoft (Thailand) ไดเ้ ขา้ มามีบทบาท
เรียนแบบออนไลน์มาอย่างยาวนาน ท้ังคณะครูได้ ที่สาคัญน้ี การพัฒนาครูทุกวัยให้ใช้สื่อเทคโนโลยีให้
กวดขันติดตาม ส่ิงสาคัญคือการอบรมด้วยการ คล่องแคล่ว เป็นเร่ืองที่หินพอสมควร ซึ่งรวมทั้งการเก็บ
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ให้มีความรับผิดชอบ ข้อมูลความพร้อมด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์, การ
มี ค ว า ม เ พี ย ร พ ย า ย า ม ท่ี ต้ อ ง ส่ ง ง า น ต า ม ก า ห น ด ติดตั้ง Internet ตามบ้านผู้ปกครองนักเรียน ซ่ึงหลาย
(Labor Omnia Vincit) เพราะนี่คือเอกลักษณ์ของ ครอบครัวให้ความร่วมมือ รวมถึงลงทุนซื้อหามาติดตั้ง
โรงเรียนอสั สัมชัญ เพราะขณะนั้นท่ียังมีการระบาดหนักทั่วโลกยังไม่มีวัคซีนใด
เลย คุณพ่อคุณแม่หลายท่านต้องสลับกันหยุดงาน มากากับ
วิกฤตโควิด-19 ทาให้การเรียนของนักเรียนที่โรงเรียนต้อง การเรียนของบุตรหลาน ซ่ึงต้องใช้เวลาปรับตัวกันทุกฝ่าย
แมม้ ปี ัญหาบา้ งแต่ก็ผา่ นมาด้วยดี
หยุดชะงักไปต้ังแต่ต้นปีการศึกษา 2563 อันมีผลกระทบไปถึง
เกือบทุกสถานศึกษา ทุกระดับช้ัน ต้ังแต่ชั้นอนุบาลถึงระดับ จนปัจจุบัน นักเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ได้ผ่าน
มหาวิทยาลัย ทาให้นักเรียนท่ัวประเทศต้องเรียนผ่านช่องทาง ประสบการณ์ การเรียนแบบออนไลน์มาอย่างยาวนาน ทั้ง
อ่ืนเป็นหลัก เช่น ออนไลน์ (On Line) การเรียนที่บ้านโดย คณะครูไดก้ วดขนั ตดิ ตาม แตส่ ่งิ สาคัญที่คณะครูถือปฏิบัติคือ
ผปู้ กครอง (Home School) เปน็ ต้น วกิ ฤตนีท้ าให้เกิดปัญหาที่ การอบรมนกั เรยี นด้วยการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมใน
หลากหลายท้ังคุณภาพการศึกษาท่ีมีแนวโน้มลดลง (learning เนื้อหาระหว่างทาการสอน ให้กาลังใจ ฝึกนักเรียนให้มีความ
loss) รวมถงึ พฒั นาการท่ีสาคัญในตัวของผู้เรียนที่ขาดหายไป รับผิดชอบต่อตนเอง มีความเพียรพยายามท่ตี อ้ งส่งงานตาม
เช่น การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนทั้งครูผู้สอนและเพื่อนนักเรียน, กาหนด (Labor Omnia Vincit) เพราะนี่คือเอกลักษณ์ของ
สุขภาพร่างกายท่ีได้รับผลกระทบเช่นดวงตาที่จ้องหน้าจอหรือ โรงเรียนอัสสัมชัญ ที่ต้องเพาะบ่มความเป็นสุภาพบุรุษ
ส่ือเทคโนโลยีนานๆ ในการเรียนตามหลักสูตร, ผู้เรียนรวมท้ัง อัสสัมชัญต้ังแต่เยาว์วัย ต่อเนื่องเพ่ือให้เป็นเยาวชนท่ีมี
ผปู้ กครองอาจเกดิ ปัญหาสุขภาพจติ และความเครียดสะสมจาก คณุ ภาพก่อนก้าวเข้าศึกษาต่อ เข้าสู่สังคมจริง เพราะทุกย่าง
การเรยี นออนไลน์ เป็นต้น ก้าวของเด็กอัสสัมชัญต้องเป็นย่างก้าวที่มั่นคง เหมือนกับ
รุน่ พ่ีศิษยเ์ กา่ ทีจ่ บออกไปประสบความสาเรจ็ ในชีวิตตอ่ ไป.
โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ตระหนักถึงประเด็น
ปัญหาดังกลา่ ว ต้งั แต่ชว่ งตน้ ของการระบาด ทางผู้บรหิ าร คณะ
ครู ได้ระดมความคิดหาแนวทางแก้ปัญหา ทั้งเพ่ือช่วยเหลือ
นักเรียนไม่ให้ขาดโอกาสในการเรียนรู้ ทั้งให้นักเรียนที่
จาเป็นต้องจบชั้นประโยค (ระดับชั้นประถมปีที่ 6 ต้องเตรียมตัว
ขยับขึ้นชั้นมัธยมศึกษา) รวมไปถึงนักเรียนท่ีต้องสอบวัด
มาตรฐานคุณภาพตามหลักสูตรท่ีกาหนด เช่น นักเรียน
English Program ต้องสอบตามกาหนด Cambridge
International School ประเทศอังกฤษ, นักเรียนหลักสูตร
สถานศึกษา ต้องเตรียมทดสอบตามกาหนด iPSLE ของ
ประเทศสิงคโปร์ รวมทั้งการเตรียมสอบอย่างเข้มข้นของวิชา
ภาษาจนี ในแต่ละระดบั ชัน้ เป็นตน้

การเรียนออนไลน์ก่อนอ่ืนต้องเลือกพันธมิตรท่ีจะช่วย
ฝึกอบรมคณะครูและจัดเตรียมโปรแกรมสาหรับใช้ในการเรียน
การสอน ซึ่งต้องมีคุณภาพและมีความเสถียรเพราะเราต้องจัด
สอน Live สดทุกรายวชิ า เสมอื นการเรยี นท่ีโรงเรียน

10 นาม ASSUMPTION

INSIDE STORY

กรรมการบอรสิหชพาร2ชิ 4ยัก2ลจ9ุ่มิร7าเซธAน็ ิวCทัฒร9ัลน4์

“กลมุ่ เซน็ ทรลั ธุรกิจออนไลน์ของกลุ่มเซ็นทรัลจะเติบโตอย่างมาก
ได้วางแนวทางฟนื้ ฟเู ศรษฐกจิ และเสรมิ เม่ือเทียบกับปีท่ีผ่านมา ด้วยการพัฒนาระบบออนไลน์
กาลงั ด้วยการยกระดบั พฒั นาศกั ยภาพ ต่างๆ เพื่อรองรับการใช้ ชีวิตในวิถีใหม่ด้วยการใช้จุดแข็ง
Omnichannel Platform ที่ลูกค้าสามารถเข้าถึงการซ้ือ
เพ่อื การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ อยา่ งมี สินค้าได้ง่าย และสะดวกสบาย โดยยอดขายผ่าน
คุณภาพ ม่นั คง และยงั่ ยนื ” แพลตฟอรม์ ออมนิแชแนลเพิ่มข้ึน 4 เท่าตัว เมื่อเทียบกับปี
2562 โดยปัจจุบันยอดขายผ่านออมนิแชแนลเป็นสัดส่วน
หลังการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 พฤติกรรม ถึง 20% ของยอดขายรวมท้ังหมด แต่เพื่อการรองรับ
พฤติกรรมผู้บริโภคทุกกลุ่ม เราจึงตอบสนองทั้งแบบ
ของผูบ้ รโิ ภคเปลย่ี นแปลงไปมาก ไม่เหมือนเดิม ทุกคนต้อง ออฟไลน์และออนไลน์ อาทิ Live Streaming, Chat
ปรับรูปแบบการใช้ชีวิต เข้าสู่ส่ิงท่ีเรียกว่า ความปกติใหม่ and Shop, Drive-Thru, Pick-up เป็นต้น
หรือ New Normal การทางานแบบ Work From
Home การประชุมผ่านระบบออนไลน์ หรือระบบของ อีกท้ังมุ่งบริการ Contactless Payment เช่น
การศกึ ษาก็หันมาใชร้ ะบบ e-Learning กนั มากขน้ึ บัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะวัน ท่ีมอบประสบการณ์การใช้
จ่ายผ่านเครื่อง ชาระเงินระบบไร้สัมผัส หรือระบบ
ภาคการค้าปลีก ย่อมต้องปรับกลยุทธ์ขององค์กร e-Payment ของ Dolfin Wallet รวมถงึ การใช้ช่องทาง
ให้เข้ากับสถานการณ์ โดยการก้าวไปข้างหน้า มุ่งสู่ การส่ือสารบนโลกออนไลน์ ของกลุ่มเซ็นทรัล ที่นาไป
เป้าหมายโรดแมปของการเปิดประเทศ ขับเคล่ือนธุรกิจ พัฒนาเพิ่มศักยภาพให้กับ ชุมชน เกษตรกร ในการทา
ฝ่าโควิด-19 เตรียมพร้อมพลิกฟ้ืนเศรษฐกิจท้ังระบบ การสื่อสาร และเปิดช่องทางการจาหน่ายบนช่องทาง
อย่างปลอดภัย ควบคู่กับมาตรการควบคุมโรคที่เข้มงวด ออนไลน์ พร้อมอบรมให้เกษตรกร ได้มีองค์ความรู้ใหม่
เป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้ภาคธุรกิจและบริการเดินหน้าต่อได้ อาทิ JD Central หรอื Central Tham Market
แม้จะมีสัญญาณเชิงบวกด้านการผ่อนคลายล็อคดาวน์
การกระจายวัคซีนท่ีมากขึ้น รวมถึงนโยบายเปิดประเทศ กลุ่มเซ็นทรัล เช่ือม่ันว่าธุรกิจจะมีแนวโน้มท่ีดีขึ้น
ต่อเน่ืองหลังเห็นสัญญาณบวกจากการเปิดประเทศ
กลุ่มเซ็นทรัล จึงได้วางแนวทางการฟื้นฟูเศรษฐกิจ และผลตอบรับที่ดีมากของ ผู้บริโภคที่ออกมาจับจ่าย
ด้วยการสนับสนุนประคองธุรกิจของคู่ค้า และ ช่วยลด ใช้สอย และเดินทางท่องเที่ยวกันมากข้ึน โดยเห็นได้จาก
ค่าครองชีพให้กับประชาชน ด้วยการลดค่าเช่า และตรึง บ ร ร ย า ก า ศ ก า ร ช้ อ ป ปิ้ ง ท่ี คึ ก คั ก ต้ อ น รั บ ช่ ว ง ไ ฮ ซี ซั่ น
ราคาสนิ คา้ คานึงถึงกลไกสาคัญต่อการฟื้นฟู โดยเฉพาะ และทราฟฟิกท่ีกลบั มาอย่างรวดเร็วกวา่ ที่คาด
เศรษฐกิจฐานราก ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เน้น
การสนบั สนนุ แหลง่ เงินทุน เพ่ือเป็นแรงผลักดันให้สามารถ เศรษฐกิจในปี 2564 เป็นปีท่ีท้าทายอย่างย่ิง เป็นปี
ดาเนินธุรกิจต่อได้ พร้อมกับการกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่าย ท่ีต้องเผชิญกับวิกฤตโรคระบาด และ ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ
หมนุ เวียนในระบบเศรษฐกิจของประเทศ ที่สาคัญคือ เสริม ของการปรับตัวท่ีต้องรับมือกับบริบทของพฤติกรรม
กาลังดว้ ยการยกระดับพัฒนาศักยภาพ เพอื่ แนวทางการ ผู้บริโภคท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ตามวิถีชีวิตใหม่
เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี คุณภาพ ม่ันคง และ ย่ังยืน จาเป็นต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีท่ี ก้าวกระโดด
โดยใช้ศักยภาพของทุกธุรกิจในกลุ่ม เพ่ือเป็นแนวทาง เพือ่ รองรบั และพัฒนาท้ังระบบให้เตบิ โตอย่างย่ังยืน.
ในการปรับกลยุทธ์แบบองค์รวม เพ่ิมโอกาสภายใต้บริบท
ใหม่ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปและพร้อมท่ีจะก้าวนาภายใต้
ความปลอดภยั ในการดารงชีวิต

นาม ASSUMPTION 11

เรอื่ งประจาฉบบั

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ท่ัวโลก ธีรพงศ์ จนั ศริ ิ
อสช 25203 AC97
ในตลอดระยะเวลากว่า 2 ปีท่ีผ่านมาน้ันทาให้ผู้บริโภคหัน ประธานเจ้าหนา้ ที่บรหิ าร
มาใส่ใจสขุ ภาพมากยิ่งข้ึน และพ้ืนฐานของการดูแลสุขภาพ บริษัท ไทยยูเนี่ยน กร๊ปุ จากดั (มหาชน)
ท่ีดี ก็คือการรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ ทาให้
อุตสาหกรรมอาหารเองอาจจะได้รับผลกระทบไม่มากเท่า “สาหรบั ไทยยเู นยี่ น ปรัชญา
ธรุ กิจอื่นๆ เนือ่ งจากเป็นปจั จยั พ้ืนฐาน แตอ่ ยา่ งไรก็ตามก็มี ทเี่ รานามาใชใ้ นการดูแลธรุ กจิ คอื
การปรับตัวให้สอดรับกับสถานการณ์ที่ทาให้เทรนด์การ Healthy Living, Healthy Oceans
ดูแลสุขภาพเด่นชัดข้ึน เพราะเป็นเทรนด์ท่ีมีมาในตลอด เราไดต้ งั้ เปา้ ทจ่ี ะดแู ลสุขภาพ
ระยะเวลาหลายปีก่อนหน้าโควิด-19 อยู่แล้ว ท่ามกลาง และความเปน็ อยทู่ ดี่ ใี หก้ บั ผคู้ น
การแพร่ระบาดนั้น การหันกลับมาดูแลตนเองจึงเป็นสิ่งที่ ควบคไู่ ปกบั การอนรุ กั ษ์
ทุกคนควรทา เพราะสุขภาพท่ีดีคือภูมิต้านทานท่ีดีที่สุดท่ี ทรพั ยากรทอ้ งทะเลใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์
จะทาใหเ้ ราสามารถดูแลตนเองและคนทเ่ี รารักได้ จะเหน็ ไดว้ า่ เมอ่ื เกดิ สถานการณ์
โควดิ -19 ทั่วโลก จึงทาใหเ้ รายง่ิ แนใ่ จ
สาหรับไทยยูเนี่ยน ปรัชญาที่เรานามาใช้ในการดูแล วา่ เราได้ดาเนนิ ธรุ กจิ
ธุรกิจคือ Healthy Living, Healthy Oceans เราได้ต้ังเป้า มาถกู ทางแลว้ ”
ที่จะดแู ลสุขภาพและความเปน็ อยู่ท่ีดีใหก้ บั ผู้คน ควบคู่ไปกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรท้องทะเลให้อุดมสมบูรณ์ จะเห็นได้ PANDEMIC
ว่าเม่ือเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทั่วโลก จึงทาให้เราย่ิง CHANGES
แนใ่ จวา่ เราไดด้ าเนินธุรกจิ มาถกู ทางแลว้
THE
สาหรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกับคาถามว่า
ทุกคนควรเตรียมตัวอย่างไร ไทยยูเน่ียนเองมีพื้นฐานของ WORLD
องค์กรท่ีเชื่อในการปรับเปล่ียนให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ
อยู่เสมอ เรามีการฝึกอบรมพนักงานในเรื่องของ agility ได้รับทราบเร่ืองราวที่เป็นผลกระทบ
ให้กลา้ คิดกล้าลองทาในสง่ิ ใหม่ๆ ล้มแล้วลุกได้เร็วและนามา และการปรับตัวเพ่ือรับมือกับโควิด-19 ในยุค
ปรับปรุงการทางาน เพื่อเตรียมตัวให้พร้อมกับธุรกิจและ Post Pandemic จากผู้บริหารท้ัง 4 ท่านแล้ว
โลกที่เปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว เมื่อเราต้องเผชิญกับโควิด- ในนามสมาคมอัสสัมชัญขอขอบพระคุณเป็น
19 จึงทาให้บริษัทสามารถบริหารจัดการวิกฤตและ อ ย่ า ง สู ง ส า ห รั บ ภ ร า ด า ด ร . ศั ก ด า
สถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และยังนาแนวทางการ ส ก น ธ วั ฒ น์ , ภ ร า ด า ด ร . ทั ก ษ บุ ต ร
ทางานในช่วงโควิด-19 บางอยา่ งมาปรับใชต้ อ่ ไป. ไกรประสิทธ์ิ, คุณพิชัย จิราธิวัฒน์ และคุณ
ธีรพงศ์ จันศิริ ท่ีให้เกียรติแบ่งปันเร่ืองราวที่
น่าสนใจ เชื่อว่าหลายคนจะได้มุมมอง และ
ขอ้ คดิ ดีๆ เพ่ือให้นาไปปรับใช้กับตัวเองไม่มาก
ก็น้อย แต่สิ่งที่เราทุกคนต้องเตือนตัวเองไว้
เสมอก็คอื “ไมป่ ระมาท การด์ อยา่ ตก” ก็จะทา
ให้เราใช้ชีวิตอยู่กับโควิด -19 ได้อย่าง
ไม่เครยี ดและวติ กกังวลจนเกนิ ไป

12 นาม ASSUMPTION

COVER STORY

เน่อื งในโอกขาอส2งว6ภนั รพเกาฤดดิ ศาคจหริกลบาุยรยสอน์บช2า85แ8น6ลป4ี

การที่บราเดอรห์ ลยุ ส์ ชาตศิ ิริ โสภณพนิช
เป็นศษิ ยเ์ กา่ อสั สมั ชญั
ก็เปน็ จดุ แขง็ ประการหนง่ึ ทที่ าให้ อสั สมั ชนิกดเี ดน่
วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ของอัสสัมชญั อสช 23038 AC90
กรรมการผจู้ ัดการใหญ่
ภ ได้รับการถา่ ยทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ ธนาคารกรงุ เทพ จากัด (มหาชน)
ราดาวิริยะ ฉันทวโรดม หรือ บราเดอร์หลุยส์
ชาแนล เป็นอธิการโรงเรียนอัสสัมชัญ ท่ีมีความโดดเด่น ผมถือเป็นความโชคดีอย่างย่ิงที่ได้เข้าโรงเรียน
หลายด้าน ทั้งบุคลิกภาพ วิถีการทางานและการดาเนิน อัสสัมชัญต้ังแต่ช่วงท่ีบราเดอร์หลุยส์เป็นรองอธิการอยู่
ชีวิตอันเป็นแบบอย่างที่ดี ความเป็นนักพัฒนาที่มีผลงาน 2 ปี และเป็นอธิการอีก 8 ปี ก่อนที่ท่านจะย้ายไปเป็น
เป็นท่ีประจักษ์หลายอย่าง และที่สาคัญเหนืออ่ืนใด คือ อธกิ ารท่ีศรีราชา ในช่วง 2 ปีสุดท้ายที่ผมจะจบการศึกษา
ความเป็น ‘ครู’ ที่ลูกศิษย์ทุกรุ่น ทั้งรักท้ังเกรง และเป็น ทาให้ผมได้ซึมซับสิ่งที่ท่านปลูกฝัง และได้เห็นพัฒนาการ
แบบอย่างของการยึดม่ันในความดีงามตลอดมา หากเป็น ในดา้ นตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นตลอดระยะเวลาดังกล่าว
สมัยนี้ คงต้องนับว่าท่านเป็น ‘ไอดอล’ อันดับหน่ึงในใจ
ของอสั สัมชนิกเลยทเี ดยี ว นอกจากการหล่อหลอมเยาวชนให้เป็น ‘คนดี’ แล้ว
บราเดอร์หลุยส์ เป็นท่ีรู้จักของนักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนอัสสัมชัญยังมุ่งสร้าง ‘คนเก่ง’ ออกมาเป็นกาลัง
และวงการการศึกษา ในฐานะอธิการโรงเรียนอัสสัมชัญ สาคัญของประเทศชาติอีกด้วย ซ่ึงต้องยกความดีในเรื่อง
กรุงเทพฯ ท่านแรกท่ีเป็นคนไทย อีกท้ังยังเป็นอัสสัมชนิก น้ีกับคุณครู ทั้งบราเดอร์และมาสเตอร์ ที่ทุ่มเทให้กับการ
และเข้ารับตาแหน่งขณะมีอายุเพียง 32 ปีเท่านั้น ในฐานะ สอนและการอบรมบ่มนิสัยนักเรียนอย่างเต็มท่ี การที่
อธิการ ท่านได้พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนหลาย ๆ ด้าน บราเดอร์หลุยส์ และคุณครูหลาย ๆ ท่านเป็นศิษย์เก่า
กล่าวได้ว่า ท่านมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาให้ อัสสัมชัญ ก็เป็นจุดแข็งประการหนึ่งท่ีทาให้วัฒนธรรม
โรงเรียนเจรญิ กา้ วหน้า มรี ะบบการเรียนการสอนท่ีเข้มข้น ต่าง ๆ ของอัสสัมชัญได้รับการถ่ายทอด จากรุ่นสู่รุ่น
และเกิดสัมฤทธิผลทางการศึกษาในระดับสูงอันเป็นท่ี ความเป็นเลิศทางการศึกษาและคุณธรรมที่อัสสัมชนิก
ยอมรับจนถึงปัจจุบัน ความเป็นนักพัฒนาของท่านไม่ได้ ทกุ คนไดร้ ับการปลูกฝังมา เป็นพื้นฐานสาคัญ ท้ังสาหรับ
จากดั อยู่ที่โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หากยังมีผลงาน กา รศึ ก ษา ใ นร ะ ดับ ที่สู ง ข้ึน ไ ปแ ล ะก าร ท าง า นต ล อด ม า
อย่างเปน็ รูปธรรม ทโี่ รงเรยี นอัสสมั ชญั ศรีราชา และ ซึ่งผมขอใช้โอกาสนี้ กราบขอบพระคุณ คุณครูทุกท่าน
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย กล่าวได้ว่า ท่านเป็นผู้บริหาร สาหรับความมุ่งมั่นและทุ่มเท ในการบ่มเพาะ และหล่อ
และนักพฒั นาที่มวี สิ ยั ทัศน์กวา้ งไกลอยา่ งยงิ่ ห ล อ ม ใ ห้ ลู ก ศิ ษ ย์ ทุ ก ค น ไ ด้ มี โ อ ก า ส ท่ี ดี ใ น ชี วิ ต ต า ม
ความโดดเด่นอีกประการหน่ึง คือ ท่านเป็น ‘ครู’ ศกั ยภาพของแต่ละคน
อย่างแท้จริง เพราะท่านไม่เพียงพร่าสอนให้นักเรียนยึด
มั่นในคุณธรรม หากท่านยังยึดถือและปฏิบัติให้พวกเรา ท้ังหมดนี้ สะท้อนให้เห็นถึง Dedication และ
เห็นเป็นตัวอย่างอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความซื่อสัตย์ Devotion ของบราเดอรห์ ลุยส์ ในฐานะนักบวช ทอ่ี ุทิศตน
สุจริต การมีวินัยต่อตนเองและหน้าที่ ความเสียสละและ เพ่ือพระเจา้ และมุง่ ม่ันสรา้ งประโยชนต์ ่อสาธารณชนตาม
การคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม การทางานเป็นทีม การ เจตนารมณข์ องคณะเซนตค์ าเบรยี ล
ช่วยเหลือกันและการเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ และแสวงหาความรู้
ใหม่ ๆ อยู่เสมอ นอกจากนี้ ท่านยังดูแลเอาใจใส่นักเรียน ในวาระวันคล้ายวันเกิดปีที่ 88 ของบราเดอร์หลุยส์
ทุกคนอย่างเสมอภาค ตรงไปตรงมา และเข้มงวดกวดขัน ในวันท่ี 26 พฤศจิกายน 2564 นี้ ผมขอน้อมจิตคารวะ
ใหน้ กั เรยี นมีระเบยี บวนิ ยั อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย ในพระคุณของคุณครู และขอให้พระผู้เป็นเจ้าอานวยพร
ให้ท่านจงมีสุขภาพแข็งแรง มีจิตใจปีติแจ่มใสอยู่เป็นนิจ
และอยใู่ นทา่ มกลางมวลมติ รอันเป็นที่รักตลอดไป.

นาม ASSUMPTION 13

ส่ิงที่ท้าทายท่ีสุดในขณะน้ี ไม่มีอะไรสาคัญไปกว่าเร่ืองพัฒนา เรื่องประจาฉบบั

การศึกษาในยุคของ Digital Technology Disruption จนทาให้ เหตุผลท่ี CGA One Team
Facebook ต้องเปลี่ยนช่ือเป็น Meta เพื่อรองรับ Metaverse มีกลุม่ งานดา้ นพฒั นาการศกึ ษา
(โลกเสมือน) ที่มี AI (Artificial intelligence) AR (Augmented
Reality) VR (Virtual Reality) ที่ส่งผลกระทบไปท่ัวโลก หรือที่ ดร.ธะนาชยั ธีรพัฒนวงศ์
พูดกันว่า เทคโนโลยีเปล่ียนโลก ท้ังนี้ยังรวมถึง Quantum นายกสมาพันธ์สมาคมศิษยเ์ ก่า
Technology ท่ีกาลังตามมาติด ๆ ความท้าทายของเทคโนโลยี คณะเซนตค์ าเบรยี ลแห่งประเทศไทย
ใหม่ ๆ ดังกลา่ ว จะมผี ลกระทบอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ท่ีน่าทึ่งและ CGA
ท้าทายเป็นประวัติการณ์ของมนุษยชาติยุคน้ีและยุคข้างหน้า
อุตสาหกรรมใหญ่ท่ีเราเห็นอยู่ขณะนี้จะได้ผลกระทบที่หลีกเลี่ยง
ไม่ได้ โดยเฉพาะการศึกษาที่ต้องก้าวให้ทันก่อนที่จะสายเกินไป
เป็นเรื่องท้าทายต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) คือ
ผู้บริหารและผู้กาหนดนโยบาย, ศิษย์เก่า, ศิษย์ปัจจุบัน, คณะครู
อาจารย์ อนาคตจะเดินไปทิศทางไหน จะทาการเรียนการสอน
อย่างไร จึงถึงเวลาแล้วที่จะต้องเปลี่ยนแปลงทิศทางและนโยบาย
ของ 14 สถาบนั ในเครือฯ

ทงั้ น้ี คณะบรหิ ารสมาพันธฯ์ CGA มี
ความห่วงใยและเหน็ ความสาคัญอยา่ งยง่ิ ยวด
จงึ มอบหมายให้สมาคมอัสสัมชญั ทกี่ อ่ ต้งั มา
ยาวนานกว่า 130 ปี มีศษิ ยเ์ ก่าทม่ี ชี ่ือเสียงระดับ
ชน้ั นาของประเทศมากมาย และได้มอบหมายให้
พล.ร.อ.ประพฤตพิ ร อักษรมตั นายกสมาคม
อัสสมั ชญั เป็นประธานกรรมการรับผิดชอบ
แผนงานพฒั นาการศึกษาแก่สถาบันในเครอื ฯ
โดยภารกจิ เร่งด่วน คือแผนงานตวิ ออนไลน์
เพอื่ สอบตรงเข้าสูม่ หาวิทยาลัยในฝันของ
นักเรียนระดับมธั ยมปลาย นับเป็นครั้งแรก
ของสมาพันธฯ์ CGA ท่ีได้จดั ตวิ ออนไลน์
ในชว่ งวกิ ฤตกิ ารณโ์ ควดิ -19 เพอื่ ช่วยเหลอื
นอ้ ง ๆ ให้มีโอกาสรบั การติวเข้มจากติวเตอร์
ชั้นนาของประเทศ โดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่ายใด ๆ
ทั้งสนิ้

ทั้งนี้ตอ้ งขอบคุณ พล.ร.อ.ประพฤตพิ ร
อกั ษรมัต และคณะทางาน นาโดย คณุ ศริ ทรงวทิ ย์
จริ ธนาโศภนิ , ผศ.ดร. กฤษฎา อัศวสกลุ เกยี รติ
และคณุ พิเชษฐ์ มโนพฒั นาสุนทร ทท่ี มุ่ เทแรงใจ
แรงกายในการทาโครงการนี้ทั้งเฟส 1 และเฟส 2
ขอขอบคณุ สมาคมศิษย์เก่าฯ ทุกสมาคม คณะครู
อาจารย์ทุกสถาบันที่ใหค้ วามรว่ มมืออย่างดี
และท่ีสาคญั ขอขอบคุณองคก์ รช้นั นาของประเทศ
ทเ่ี ห็นความสาคญั ของการศึกษา ร่วมเป็นผู้อุปถัมภ์
หลักของโครงการ ได้แกบ่ ริษทั ปตท.สารวจ
และผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)
และธนาคารออมสิน รวมถงึ กลุ่มบริษัท
ทรู คอร์ปอเรช่ัน จากดั (มหาชน) ผู้สนับสนนุ แพลตฟอร์ม
ออนไลน์ trueVROOM trueVLEARN ทีม่ ีส่วนสาคญั
ทาใหโ้ ครงการนีป้ ระสบความสาเร็จได้ดว้ ยดี

14 นาม ASSUMPTION

นาม ASSUMPTION 15

16 นาม ASSUMPTION  เม่ือวันท่ี 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 สมาพันธ์สมาคมศิษย์เก่าคณะ
เซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย (CGA) โดย ดร.ธะนาชัย
ACTIVITIES ACA/ CGA / AC ธีรพัฒนวงศ์ นายกสมาพันธ์ฯ ร่วมกับ มูลนิธิปลูกต้นไม้
ปลูกธรรมะโดยพระอาจารย์ ไพศาล วิสาโล ประธานกรรมการ
โครงการ ”สวนปนั บญุ อสั สมั ชญั ” มูลนิธิฯ, สมาคมอัสสัมชัญ โดย พล.ร.อ.ประพฤติพร อักษรมัต
นายกสมาคมฯ และโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยภราดา ดร.ศักดา
สกนธวฒั น์ ผอู้ านวยการโรงเรียนอัสสัมชัญ ได้ร่วมจัดทาโครงการ
“สวนปันบุญอัสสัมชัญ” เพ่ือรณรงค์ให้นักเรียนเห็นความสาคัญ
ในการปลูกต้นไม้ ผูกพันกับต้นไม้ จากประสบการณ์ตรง โดยการ
ลงมือปลูก และดูแลต้นไม้จนเติบโตด้วยตนเอง ส่งเสริม และสร้าง
ค่านิยมการทาบุญด้วยการปลูกต้นไม้สร้างป่าให้โลก และลูกหลาน
บริเวณหนา้ อาคาร Assumption 2003

 มาสเตอร์ทบ เสนีย์ ประธานชมรมครูเกษียณโรงเรียนอัสสัมชัญ
เป็นผู้แทนครูเกษียณ และครูอาวุโส รับมอบเคร่ืองอุปโภค บริโภค จาก
คุณยงยทุ ธ ธีระวทิ ยภญิ โญ เลขาธิการสมาคมอัสสัมชัญ เพ่ือมอบเป็น
กาลังใจให้แกค่ รูเกษียณ และครอู าวุโสทกุ ทา่ น จากโครงการ “ถงุ ยงั ชีพ”
ดาเนินการโดย สมาคมอัสสัมชัญ ร่วมกับมูลนิธิบราเดอร์ หลุยส์
ชาแนล และโรงเรียนอัสสมั ชญั

ขอขอบคณุ
 คุณธีระ นภาพฤกษช์ าติ อสช 24698
บจ.สยามร่วมมติ ร ผลิตภณั ฑ์คุกกี้อารเ์ ซนอล
 คณุ ภมู นิ ทร์ ธีระนสุ รณก์ จิ อสช 36509
บจ.เคซจี ี คอร์ปอเรชน่ั ผลิตภณั ฑค์ กุ ก้ี แครกเกอร์ เวเฟอร์

ถงุ ยงั ชพี ครูเกษยี ณ / ครูอาวุโส

 สมาคมอัสสัมชัญ ร่วมเป็นเจา้ ภาพ
สวดพระอภธิ รรมศพ
คณุ ศภุ กร พลกุล
อุปนายกสมาคมอสั สัมชญั
อสช 23151 AC92
เม่ือวันที่ 14 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564
ณ ศาลา 17-18
ฌาปนสถาน กองทัพอากาศ
วดั พระศรมี หาธาตวุ รมหาวิหาร

อาลยั คณุ ศุภกร พลกุล อุปนายกสมาคมอสั สมั ชญั

นาม ASSUMPTION 17

กจิ กรรมสมาคมฯ / ร.ร. อสั สมั ชญั

วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2563 สมาคมศิษย์เก่า/นักเรียนเก่า
และนักเรียนปัจจุบันในเครือจตุรมิตร ประกอบด้วยโรงเรียน
กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญ โรง รียน
เทพศิรินทร์ และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ร่วมกันจัด
กิจกรรม “จตุรมิตร ล้วนรักสามัคคี” เพ่ือถวายบังคม/สักการะ
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อน้อมราลึกใน
พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ เน่ืองในวันคล้าย วัน
เสด็จสวรรคต 13 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ณ บริเวณหน้า
พระบรมมหาราชวงั

น้อมรำลกึ ในพระมหำกรุณำธคิ ณุ รัชกำลท่ี 9

 วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2564
พล.ร.อ.ประพฤตพิ ร อักษรมตั นายกสมาคมอัสสัมชญั
และคณุ ภาณพุ ันธ์ วชิ ชปุ ระภา กรรมการสมาคมฯ
รว่ มใหก้ าลังใจนกั เรยี นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6
โรงเรียนอสั สัมชัญ เขา้ รบั การฉดี วัคซนี ไฟเซอร์ เข็ม 2
ณ โรงพยาบาลเซนต์หลยุ ส์

นกั เรียนอสั สัมชญั รับวัคซนี ไฟเซอร์ เขม็ 2

 สมาคมอัสสัมชัญ ขอขอบพระคุณ พล.อ.ต.นพ. นักเรยี นอัสสัมชญั รับวัคซีน ซิโนฟำร์ม เข็ม 2
สันติ ศรเี สรมิ โภค อัสสมั ชนกิ ดีเดน่ อสช 22444 AC90
ที่ได้มาดูแล และให้กาลังใจน้องนักเรียนโรงเรียน
อัสสมั ชญั เข้ารับวัคซีน ซิโนฟาร์ม เข็ม 2 โดยมีคุณครู
ประส านงาน มาสเ ตอร์วีรวั ฒน์ สุ วรรณศร ,
มิสเพ็ญจันทร์ ธารา-วิกรัยรัตน์, มาสเตอร์ธนสินธุ์
วิเศษศรี เม่ือวันท่ี 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา
0 9 . 0 0 -1 0 . 0 0 ณ ศู น ย์ ฉี ด วั ค ซี น ซิ โ น ฟ า ร์ ม
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ บมจ. โทรคมนาคม อาคาร 9
ถนนแจ้งวัฒนะ

AC ACA CGA

18 นาม ASSUMPTION F. HILAIRE FOUNDATION

INSIDE ASSUMPTION

ท่มี า “มลู นธิ บิ ราเดอร์ฮีแลร์” การต์ นู แอนนิเมช่ันชดุ “ยอดชายนายศขุ เล็ก กับบราเดอรฮ์ ีแลร์

นายเขตร ศรียาภัย ลูกศิษย์บราเดอร์ฮีแลร์ ซ่ึงเป็นหน่ึงในผู้แทนท่ีกล่าว
สดุดีท่านบราเดอร์เป็นภาษาไทย แสดงความเคารพท่านเป็นครั้งสุดท้ายใน
งานพิธีมหาบูชามิสซา ถึงความเป็นสุดยอดของครู ที่อัสสัมชนิกและสังคม
ทั่วไปรับรู้ คือ ความสามารถด้านภาษาไทยของท่าน สมญานาม "ปราชญ์
แห่งอัสสัมชัญ" และ "ครูฝร่ังแห่งสยามประเทศ" ได้รับการยกย่องว่าเป็น
ชาวต่างชาติท่มี คี วามรแู้ ตกฉานในภาษาไทย เนอื่ งจากท่านเปน็ ชาวฝรั่งเศสมา
แตก่ าเนิด จนเม่อื ไดม้ าอยทู่ ่ีประเทศไทย ท่านกศ็ ึกษาภาษาไทยกับครูท่ีมาสอน
ภาษาไทยให้เด็กโตจนแตกฉาน และสามารถแต่งหนังสือเรียนภาษาไทยให้
เดก็ ไทยเรียนได้นามวา่ "ดรุณศกึ ษา"

ดังนน้ั บรรดาลูกศิษยห์ ลายท่านจึงไดร้ ่วมใจก่อต้งั มูลนิธิบราเดอร์ฮแี ลร์ ดงั มีรายนามกรรมการมลู นธิ ฯิ ประกอบด้วย :
ขน้ึ มา และระยะแรก ๆ มศี ษิ ย์เก่าช่วยดาเนนิ การตอ่ อนั ประกอบดว้ ย นายเขตร
ศรียาภัย, นายประธาน ดวงรัตน์, นายเซี๊ยะกุ่ย แซ่ก๊วย, พล.ต.ต. ธีรบุล ๑. นายศภุ กิจ ลว่ิ เฉลิมวงศ์ อสช ๒๑๕๓๖ AC๘๖ ประธานมูลนธิ ิฯ
จัตตารีส์, นายพันธ์ สายตระกูล, นายสกล สามเสน, นายวิชัย มิ่งมงคลกิจ ๒. นายประภากร วทานยกลุ อสช ๒๒๐๖๖ AC๘๘ รองประธานมูลนิธิฯ
และนายสุพจน์ โกสยิ ะจินดา จึงมีแนวคดิ เพื่อเชิดชูเกยี รติ ท่านบราเดอร์ฮีแลร์ ๓. นายเกษม นทิ ศั นจารกุ ลู อสช ๒๑๖๕๗ AC๘๗ กรรมการ
ผู้ซ่ึงอุทิศตนแก่เยาวชนไทยตลอดชีวิตของท่าน และยังได้เป็นผู้สร้าง ๔. นายสงวน รถั การโกวทิ อสช ๒๒๒๗๗ AC๘๙ เหรัญญิก
แรงบันดาลใจแก่เยาวชนอัสสัมชัญในการประพฤติตนท่ีเป่ียมด้วยคุณธรรม ๕. นายยงยทุ ธ ธีระวิทยภญิ โญ อสช ๒๓๒๓๒ AC๙๐ เลขานกุ าร
และความเมตตา ท้ังยังบุกเบิกการศึกษาให้กับเยาวชนไทย จากอัสสัมชัญ ๖. นายพงศธร ทวีสิน อสช ๒๓๓๓๑ AC๙๒ กรรมการ
สู่ “ดรณุ ศกึ ษา” แบบเรยี นภาษาไทยทแ่ี ต่งโดย “ครฝู ร่งั ” ซงึ่ ไดน้ าแนวความคิด ๗. นายสมชาย ชัยธรี ะสุเวท อสช ๒๔๘๐๗ AC๙๕ รองเลขานุการ
จากสิ่งตีพิมพ์ของฝร่ังเศสบ้าง อันเป็นคุณูปการอันใหญ่หลวงให้กับเด็กไทย ๘. มาสเตอร์ ทบ เสนยี ์ ประธานชมรมครเู ษียณโรงเรียนอสั สัมชัญ กรรมการ
ท่ัวทั้งประเทศ ๙. มิสรัชนี ศริ คิ าภา ครูโรงเรียนอสั สมั ชญั กรรมการ

มูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ ตั้งอยู่ที่ สมาคมอัสสัมชัญ เลขท่ี ๔๘๑๐ ถนน ในโอกาสปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ซ่ึงเป็นโอกาสครบรอบ ๑๑๑ ปี ของการเริ่ม
พระราม ๔ แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์ พิมพ์หนังสือดรุณศึกษา หนังสือเรียนภาษาไทยเล่มแรกท่ีมีการวาดการ์ตูน
เพื่อช่วยเหลือส่งเสริมการศึกษาของนักเรียนอัสสัมชัญ ท่ีสนใจภาษาไทย ประกอบเรื่อง เพื่อราลึกถึงบราเดอร์ฮีแลร์และหนังสือดรุณศึกษา
การบริหารโดยคณะศิษย์เก่า ต่อมาศิษย์เก่ามีอายุมากข้ึนและบางท่านได้ คณะกรรมการจะผลิต การ์ตูน “ดรุณศึกษา” แอนิเมชัน จัดทาเป็นตอนส้ัน ๆ
เสียชีวิต ทาให้การบริหารงานไม่มีความต่อเน่ือง จึงในท่ีสุดได้มอบการ ตอนละ ๕ นาที และนาไปเผยแพร่ในช่องทาง social media อาทิ YouTube,
บริหารงาน มูลนิธบิ ราเดอรฮ์ ีแลร์ มาท่ีโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยมีอธิการ ดารง Line, Facebook และทางโทรทัศน์ เพ่ือเป็นส่ือการสอน อานวยความสะดวก
ตาแหนง่ ประธานของมลู นธิ ิฯ แก่ผู้ปกครอง และผู้สนใจสามารถนาไปใช้เป็นสื่อการสอนเด็ก ๆ ในการฝึกหัด
แรกเริ่มมูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ มีการบริหารงาน โดยโรงเรียนอัสสัมชัญต้ังแต่ อา่ นภาษาไทย และนาคตสิ อนใจในแต่ละเร่ืองไปใช้ในชีวิตประจาวัน เพ่ือปลูกฝัง
วาระภราดาหลุยส์ วริ ิยะ ฉันทวโรดม เป็นอธิการ ต่อด้วยภราดา ดร.เดชาชัย ให้พวกเขาเป็นคนดี เลือกคบเพ่ือน มาช่วยเหลือสังคมด้านต่าง ๆ ด้วยใจ
ศรีพิจารณ์ อดีตอธิการ (ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ประธานมูลนิธิคณะเซนต์ เสียสละ ละท้ิงความเหน็ แกต่ ัวลงบา้ ง ดงั ทมี่ ีการกล่าวกันว่า
คาเบรียลแห่งประเทศไทย) จนถึง ภราดา ดร.ศักดา สกนธวัฒน์ อธิการท่าน
ปจั จบุ นั กิจกรรมสว่ นใหญ่เป็นการส่งเสรมิ นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเด่นวิชา “ ชีวิตจะมคี ณุ คา่ ยงิ่ เมอื่ อยเู่ พอื่ ผอู้ น่ื ”
ภาษาไทย โดยจา่ ยเงนิ เป็นรางวลั ให้
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ภราดาหลุยส์ วิริยะ ฉันทวโรดม รองประธานมูลนิธิฯ ได้ เริ่มดาเนินการโดยมูลนิธิยุวพัฒน์ และมูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ ซ่ึงจะช่วย
แจง้ ต่อทป่ี ระชมุ คณะกรรมการอานวยการสมาคมอสั สัมชัญโดยมี พลเรือเอก จัดหาทุนจานวน ๑ ล้านบาท เป็นการเริ่มต้นเพื่อจัดทาการ์ตูน “ดรุณศึกษา”
ประพฤติพร อกั ษรมตั ดารงตาแหนง่ นายกสมาคมอัสสัมชัญว่า ขอมอบการ แอนิเมชัน ๓ ตอนแรก สาหรับบุคคลท่ัวไป โดยเฉพาะอัสสัมชนิกที่ยกย่อง
บริหารงานมูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ ให้สมาคมอัสสัมชัญเป็นผู้ดาเนินการต่อไป บราเดอรฮ์ ีแลร์ สามารถสนับสนนุ เขา้ บญั ชี มูลนธิ ยิ วุ พัฒน์ ธนาคารกสกิ รไทย
เพราะมูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ได้จัดต้ังข้ึนจากบรรดาอัสสัมชนิกรุ่นเก่ามาเป็น เลขทบี่ ัญชี ๐๙๕ -๒-๑๕๑๒๐-๗ เงนิ บรจิ าคนาไปลดหย่อนภาษไี ด้ ๑ เทา่
เวลาช้านาน ซึ่งท่ีประชุมสมาคมอัสสัมชัญได้พิจารณาแล้ว เห็นชอบรับ สอบถามข้อมูลได้ท่ี : ประสพสุข กอบนา้ เพ็ชร
มูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์มาบริหารงาน เพราะเป็นงานดีเด่นของศิษย์เก่าช้ินหนึ่ง โทรศัพท์ : ๐๘๙ ๑๐๗ ๑๕๕๔
ต่อไป พร้อมทั้งเรียนเสนอรายนามจานวน ๘ ท่าน และขอให้โรงเรียนร่วมกัน
พิจารณารายนามเพิ่มเติมอีกจานวน ๑ ท่าน ในการเข้าร่วมเป็นกรรมการ
ในคณะกรรมการมูลนิธิบราเดอร์ฮีแลร์ เพ่ือเข้าร่วมบริหารและเเสดงความ
คิดเหน็ ท่เี ปน็ ประโยชนใ์ หแ้ ก่มูลนิธิฯ ตอ่ ไป

นาม ASSUMPTION 19

INSIDE ASSUMPTION

ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน ผลกระทบ
จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
อัสสัมชัญ แผนกประถม ฉบับปรับปรุงปีการศึกษา
2562-2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับคุณภาพ ของไวรสั โควดิ -19
สู่ การเป็นโรงเรียนผลิตภาพและผู้นาด้านวิชาการ ตอ่ การจดั การพฒั นาผเู้ รยี น
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาและมงุ่ สู่ความเปน็ เลศิ ตามมาตรฐานสากล โดย ให้มคี ณุ ภาพ
ทางโรงเรียนเสนอโครงการ The Primary School ตามมาตรฐานการศกึ ษา
Leaving Examination (iPSLE) ของประเทศสงิ คโปร์ เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพของนักเรียนในรายวิชา Math Science และมงุ่ สู่ความเปน็ เลศิ
และ English ให้คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นรบั ทราบ ตามมาตรฐานสากล

ต่อจากนั้น ได้มีการย่ืนเอกสารขอจัดตั้งโรงเรียน 5. ทาแบบทดสอบ (Assignment) และประเมินผล
อัสสัมชัญ แผนกประถม เป็นศูนย์สอบ The Primary การเรยี นของนักเรยี นเป็นระยะ ๆ แต่ละปีจะมีการทดสอบ
School Leaving Examination (iPSLE) และได้รับการ Mock Test นักเรียนในปลายปกี ารศึกษา
อนุมตั จิ าก Singapore Examinations And Assessment 6. จัดเตรียมสถานที่สอบ และสถานที่ในการบริหาร
Board ในวันท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 จัดการข้อสอบ ตามมาตรฐานสากลของประเทศสิงคโปร์
7. ทาสรุปผลการประเมิน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา
แนวทางดาเนินการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ นักเรียนต่อไป
โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม มีคุณภาพมาตฐาน 8. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนการสอน ตาม
ในระดับสากล ได้มีการปรับเปล่ียนการจัดการเรียน หลักสตู รของสิงคโปร์ในวิชา Math Science และ English
การสอนต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับ เช่น การสอนเสริมพเิ ศษ การจัดคา่ ยการเรียนรู้ กจิ กรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ดงั น้ี เกมเพื่อการเรยี นรู้ ฯลฯ
1. วิเคราะห์หลักสูตรของสิงคโปร์ เพ่ือนามาปรับรวมกับ
หลักสูตรของโรงเรยี น โดยคุณครชู าวไทยและชาวตา่ งชาติ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส
2. อบรมครผู ู้สอนชาวไทย และชาวต่างชาติ ทั้งในประเทศ โควิด-19 ทาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนกิจกรรมในการ
และต่างประเทศ (Online) จัดการเรียนการสอนแบบ Online ใช้โปรแกรมของ
3. คุณครูเข้าสอนร่วมกันเป็น Team ท้ังคุณครูชาวไทย Microsoft Team โดยจัดตารางสอนให้คุณครูผู้สอน
ซ่ึงจบการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ชาวไทยและชาวต่างชาตเิ ข้าสอนร่วมกัน มีการ Post Clip
ภาษาองั กฤษ รว่ มกับคุณครชู าวตา่ งชาติ VDO การเรียนการสอนทุกคาบเพ่ือให้นักเรียนสามารถ
4. ใช้ตาราจากประเทศสิงคโปร์ และเอกสารอ้างอิงจาก ทบทวนได้ในภายหลัง จัดกิจกรรมสอนพิเศษให้กับ
ประเทศสิงคโปร์ อนิ เดีย ฯลฯ นักเรียนในช่วงนอกเวลาเรียนโดยคุณครูชาวต่างชาติ
และจะมีการจัดค่ายเพื่อเพิ่มทักษะในรายวิชา MATH
SCIENCE ENGLISH แบบ Online ในชว่ งนอกเวลา เพื่อ
เตรยี มความพร้อมในการสอบ iPSLE ปีการศกึ ษา 2565
อีกดว้ ย

20 นาม ASSUMPTION นายชมุ พาบาล

ศิษย์เก่าเลา่ เรอื่ ง ทดี่ ี

ภราดาหลยุ ส์ ชาแนล วิรยิ ะ ฉนั ทวโรดม วรี วิทยอ์ สเศชร2ษA2ฐC7ว38งศ79์

เ ม่อื เอย่ ถึงอธิการโรงเรียนอัสสมั ชัญ บางรัก ภาพความ ฝรง่ั เศสท่โี รงเรยี นนใี้ นช่วง ค.ศ.1980 -1982 โดยไม่ขอรับสงิ่ ตอบแทน
ทรงจาของผู้เขียนเกี่ยวกับท่านอธิการโรงเรียนท่ีมี ใดๆ ทัง้ สน้ิ ตามแนวทางของทา่ น ศ.ดร.ปว๋ ย อึ๊งภากรณ์ และ
ชื่อเสียงที่สุดในสยามปรากฎข้ึนมาหลายท่านด้วยกัน พันเอกพิเศษ เชวง เมาลานนท์
กระน้ัน มีท่านอธิการเพียง 4 ท่านเท่านั้นที่ตราตรึงใน
ความทรงจาของผูเ้ ขยี นท่ีพอจะมีวาสนาได้เขา้ ศกึ ษาใน ในส่วนของภราดาหลุยส์ ชาแนล วิริยะ ฉันทวโรดม ท่านได้
สถาบนั อนั มเี กียรตภิ มู ขิ องสยามแห่งนีใ้ นปี พ.ศ. 2507 จนถึง ดาเนินชีวิตตลอด 88 ปี ตามรอยบาทของพระอาจารย์เจ้า
พ.ศ. 2518 พระเยซูคริสตเจ้า ในฐานะนายชุมพาบาลท่ีดูแลฝูงแกะมวลนักเรียน
โดยเรียงลาดับทางกาลเวลาจากอัลฟ่าสู่โอเมกา้ อสั สมั ชญั ที่เข้ามาศึกษาในยคุ สมัยแรก และท่ีสองท่ีทา่ นกลับเขา้ มาเป็น
(Chronological Order from Alpha to Omega) อธกิ าร
ท่านอธกิ ารทา่ นแรกทผี่ ้เู ขียนนึกถงึ ได้แก่
ท่านท่ีหนึ่ง ได้แก่ ภราดาโรเบิร์ต อธิการชาวฝร่ังเศส เ มื่ อ ใ ด ก็ ต า ม ท่ี ฝู ง แ ก ะ เ ต ลิ ด อ อ ก น อ ก ลู่ น อ ก ท า ง
คนสุดท้ายของโรงเรยี นท่รี บั ผ้เู ขยี นเขา้ มาในปี พ.ศ.2507 เมอ่ื นายชุมพาบาล ศตวรรษที่ 20 ท่านนี้ก็จะการาบแกะหลงทางด้วยไม้
ผู้เขยี นเติบใหญ่ กไ็ ดท้ ราบว่า ท่านมีปัญหาภายในกับภราดา เรยี วดา้ มยาวกวา่ องคาพยพของลกู แกะ เพือ่ ใหฝ้ ูงแกะกลับมารวมหมู่
คณะเซนต์คาเบรียล ท่านได้ตัดสินใจสึกออกมาสู่เพศ อย่างเรียบร้อยในท้องทุ่งเขียวขจีภายในรอบรั้วโรงเรียนท่ีเต็มไปด้วย
ฆราวาส แต่ยังดารงชีวิตเยี่ยงสมณเพศอย่างไม่ขาดตก ต้นประดู่บาน บทบาทท่ีสาคัญต่อฝูงแกะที่ปัจจุบันกลายเป็น
บกพรอ่ ง (เชน่ เดียวกับภราดาไพฑูรย์ ม่ันใจ ที่เพ่ิงจากไปในปี อัสสมั ชนิกทีป่ ระสบความสาเรจ็ ในชีวิตทง้ั ทางโลกและทางธรรมเห็นจะ
โควดิ 19 น)้ี เมือ่ ทา่ นกลบั ไปหาพระ ศพของท่านยงั ได้รับการ ได้แก่
นามาฝงั ตามประเพณีคริสต์ที่สุสานของคณะเซนต์คาเบรียล
ภายในโรงเรยี นอสั สมั ชญั ศรีราชา จังหวัดชลบุรี 1.เมอื่ ฝงู แกะน่งั อยใู่ นหอ้ งเรียน แน่นอน ตามธรรมชาติของ
ท่านที่สองคอื ภราดาหลุยส์ ชาแนล
วิรยิ ะ ฉันทวโรดม ทีจ่ ะลงลึกในลาดับท้ายสุด ลูกแกะตัวเล็กๆ เขาย่อมซน คุยกัน เล่นกันในห้องเรียน ยามที่
ท่านท่ีสามคือ ภราดาอัลเบิร์ต ราฟาแอล วิจารณ์ มาสเตอร์ผนิ หนา้ เข้ากระดานดาเพื่อขีดเขียนสรรพวิชาลงด้วยชอล์ก
ทรงเส่ียงชัย ท่ีเปี่ยมด้วยความเป็นนักพัฒนาสังคม ตามคา ขาว (สมัยน้ีไม่มีอีกแล้ว ทั้งกระดานดา ท้ังชอล์กขาว ชอล์กสี T_T)
นิยามของ ดร.เพญ็ ภคั ตะ (นกั ประวตั ิศาสตร์ศิลปะร่วมสมัย) กระน้ัน ด้วยความเปน็ นายชมุ พาบาลทีข่ ยันขันแข็ง เอาใจใส่ในการ
ที่ว่า ความเป็นนักพัฒนามีคุณสมบัติ 7 ประการ ได้แก่ เรียนการสอน ทุกวัน ทุกเวลาที่ไม่บอกล่วงหน้า (Randomized)
1. มีมวลชนเลอ่ื มใสศรทั ธา 2. ผลงานเป็นสาธารณประโยชน์ ท่านภราดาจะออกมาเดินผ่านตามห้องเรียนต่างๆ เม่ือเงาของท่าน
เสมอ 3. ไม่ได้พ่ึงพารัฐอย่างเดียว 4. ทุกผลงานเป็นท่ี ปรากฎบนพ้ืนนอกห้องเรียน ลูกแกะข้ีเล่น ขี้คุย ท้ังหลายจะ
ยอมรบั ของประชาชน 5. คิดแตจ่ ะพัฒนาสงั คมในทุกเวลาและ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมตามสิ่งแวดล้อมใหม่ทันทีด้วยการน่ังน่ิง สงบ
ทุกสถานท่ีที่มีโอกาส 6. ไม่หวงวิชา ยินดีเผยแพร่ความรู้ให้ เรียบร้อย หยุดคุย หยุดเล่น สายตาเพ่งมองกระดานดาอย่างตั้งใจ
ประชาชนอยา่ งไมม่ ีเงอ่ื นไข 7. สรา้ งผลงานทีม่ คี ุณค่าและเกิด เพื่อรอให้ท่านอธิการหลุยส์ เดินผ่านไปก่อน จากนั้น ค่อยกลับมา
ประโยชน์เป็นปัจจุบันอย่างยิ่ง ผู้เขียนยังตราตรึงในวาทะ ออกลงิ ออกค่าง เหมอื นเดมิ 555
อมตะของบี วี (BV) ยามอบรมนักเรียนว่า
2.เมื่อฝูงแกะหลงทางรวมกลุ่มสูบยาในห้องน้าโรงเรียน มีลูกแกะ
“ความรักเกิดจากความเสียสละ ความสุขเกิดจากความ
เสยี สละ จงเสยี สละเถดิ แล้วพวกเธอจะได้รับท้งั ความสุข และ วัยรุ่นจานวนหน่ึงที่ชอบหลบไปสุมหัวสูบบุหรี่ท่ีเป็นสิ่งต้องห้ามใน
ความรกั ซึง่ เป็นยอดปรารถนาของมนษุ ยท์ กุ คน”
คาคมนี้ยงั อโุ ฆษในมโนสานกึ ของผูเ้ ขยี นตราบวันนี้ หอ้ งน้าชายของโรงเรียน ควันบุหร่ีลอยโขมงทะลตุ ะแกรงเหลก็ บนห้อง

ท่านท่ีส่ี คือ ภราดาชุมพล ดีสุดจิต นักบุญ นักพรต

ท่ีแท้ในยุคดิจิตอลที่ทุ่มเทใจกายเพ่ือแสวงหาโมกษะ (ความ
หลุดพ้นจากโลกและกิเลสตัณหาท้ังปวง) ผู้เขียนมีวาสนาได้
รู้จักทา่ นในช่วงท่ีผ้เู ขยี นกลับมาสอนหนังสอื เป็นครูภาษา

พเฉรกะเอชา่นจารย์เจา้ นาม ASSUMPTION 21

นา้ ออกมา ราวกับปล่องระบายควันของโรงงานอุตสาหกรรม ศษิ ย์เกา่ เล่าเรอื่ ง
ในเขตเทพารักษ์ สมุทรปราการ ด้วยความท่ีรู้เท่าทันฝูงแกะ
ของท่าน ท่านภราดาหลุยส์ จะค่อยๆย่อง เยื้องย่างอย่าง การตีในเย็นวันน้ันยังเจ็บถึงวันนี้ แม้กาลเวลาจะผ่านไป
เงียบๆ เข้ามาในเขตแห่งความสุขและนาทีแห่งความสุข มากกวา่ 50 ปแี ล้ว แต่ไมเ่ คยคิดเคืองแค้น อาฆาตมาดร้ายนาย
(Happiness Zone and Happiness Minutes) ของฝูงแกะ ชุมพาบาล ทแ่ี สนดีทา่ นน้ีเลยครบั ด้วยความสตั ย์จริง
ติดยา เมื่อใดก็ตามที่ฝูงแกะท่ีกาลังพี้บุหรี่อย่างเมามันใน
ห้องน้าได้ยินเสียง กรุ๋งกร๋ิงของกุญแจพวงมหึมาที่บราเดอร์ 4.เมื่อลูกแกะเติบใหญ่ ออกนอกร้ัวโรงเรียน 11 ปีเต็ม
แขวนไว้บนเอว (ทั้งท่ีท่านพยายามอย่างที่สุดท่ีจะย่องมาเงียบ
เงียบ) นั่นหมายถึง นาทีสังหารเหล่าฝูงแกะได้มาถึงแล้ว ท่าน ในรั้วโรงเรียนต้ังแต่ประถม 1 ฝร่ังเศส ถึง มศ.5 สายศิลปะ
ภราดาจะคว้ากระป๋องน้า สาดน้าเข้าไปในห้องน้าที่ควันลอย ฝรั่งเศส (โชคดี จับสลากได้พาสส์ช้ันจาก ป.1ไป ป.3 ฝ.โดยไม่
โขมง จากน้ันก็เรียกด้วยเสียงกึกก้องกัมปนาทราวอสนีบาต ตอ้ งเรียนประถม 2 ฝ.) เม่ือฝงู แกะท่เี คยผ่านการอบรม ส่ังสอน
ฟาดลงพสุธาว่า “ ออกมาเดี๋ยวนี้ พวกแก” ฝูงแกะวัยรุ่นหลง ดูแลจากนายชุมพาบาลท่ีดี ตามแบบพระเยซูคริสตเจ้าแล้ว
ผิดคิดเสพยา ก็จะก้าวเดินออกมาอย่างเซ่ืองซึม เหงาหงอย ยามใดก็ตามท่ีแกะผู้เติบใหญ่ต้องการความช่วยเหลือใดๆ
ทีละตัว ทีละตัว พร้อมกับเส้ือผ้าท่ีเปียกปอนไปหมดทั้งฝูง แกะทุกตัว ไม่เคยลืมนายชุมพาบาลท่านนี้ และหาทางวิ่ง
แล้วเดนิ ตามนายชมุ พาบาลไปห้องอธกิ ารเพ่ือรับโทษานุโทษท่ี กลบั มาหาทา่ น เพื่อขอความเมตตา กรุณาจากท่านในการส่ง
เกดิ จากการกระทาอกุศลของตนเองโดยดษุ ณี ลูกแกะเจเนเรช่ันใหม่เข้าสู่รั้วโรงเรียนอีกคราตามที่ ปู่แกะ พ่อ
แกะ เคยได้รับการอบรมมา นายชุมพาบาลท่านน้ี ก็มิเคย
3.เมอื่ แกะบางตวั เลน่ สนกุ ผดิ ที่ผดิ ทาง ในบรเิ วณหนา้ ตึกเกา่ ปฏิเสธที่จะช่วยเหลือ เกื้อกูลมวลลูกแกะท่ีท่านเคยดูแล ห่วงใย
อบรม สั่งสอน แนวทางที่ดีของชีวิตให้คนภายนอกคิดว่า
ของโรงเรยี นอัสสัมชัญ เย็นวันนั้น ระหว่างท่ีผู้เขียนกับเพ่ือน การส่งลูกเข้าโรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก ต้องใช้ เงิน
ห้องฝร่ังเศส นายรชตะ กาลังเตะตะกร้อกันอย่างสนุกสนาน หลายแสนบาท น่ันคือความคิดท่ัวไปของคนภายนอก แต่ถ้า
หน้าตึกเก่า (ท่ีรื้อท้ิงไปนานแล้ว ต้ังแต่ผู้เขียนจบประถม 3 ฝ. ท่านเป็นอัสสัมชนิก และต้องการให้ลูกแกะน้อยของท่าน ได้มี
แล้วต้องย้ายมาเรียนท่ีอัสสัมชัญ เซนต์หลุยส์ ในชั้นประถม 4 โอกาสเดินตามรอยของท่าน การมาขอพบ นายชุมพาบาล
ฝ. เป็นรุ่นแรกของโรงเรียน) ซ่ึงเป็นทางวิ่งของรถยนต์นานาที่ วิริยะ ฉันทวโรดม หลุยส์ ชาแนล คือ คาตอบสุดท้ายที่ช่วยให้
เข้ามารับลูกหลานในโรงเรียน พอดี นายชุมพาบาลหลุยส์ ลูกชายข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชาแนล เดินผ่านมาตรงจุดนั้น ด้วยความห่วงใยลูกแกะ 2 ตัว สามารถเข้ามาเรียนในโรงเรียนน้ีได้โดยไม่ต้องเสียค่าแปะเจ๊ียะ
ท่ีอาจจะถูกเศษเหล็ก 4 ล้อวิ่งได้ทับตายคายางล้อ เก๋าเจี๊ยะ อย่างมากมาย เช่นน้ันแน่นอน ดังกรณีของลูกชาย
ท่านเอ่ยวาจาดว้ ยเสียงเปี่ยมอานาจตามแบบฉบับของท่านว่า ผเู้ ขียนเอง (ด.ช. นวโชค เศรษฐวงศ์ เลขประจาตวั 47754)
“แกสองคน ตามฉันมา” ท้ังผู้เขียนและรชต แสงสุธรรม
ทราบดวี ่า ถึงเวลาประหารของเราทัง้ สองแล้ว พอถึงห้องท่าน ผู้เขียนจักไม่มีวันลืมเลือนพระคุณมหาศาล ที่นาย
อธกิ าร ท่านหยิบไมเ้ รียวยาวกว่าโอ่งท่ีบรรจุ (โอ่งสูงมากกว่า ชุมพาบาลท่ีแสนดี แสนดุ (แต่ภายนอก แต่ภายใน ใจดีมาก
1.50 เมตร สาบาน) แล้วสั่งว่า “นอนลงไปบนพ้ืน” แล้วท่าน ที่สุด) นาม ภราดาวิริยะ ฉันทวโรดม หรือ หลุยส์ ชาแนล มีต่อ
ก็ บ ร ร จ ง ห ว ด ไ ม้ เ รี ย ว ล ง บ น ก้ น ข อ ง ลู ก แ ก ะ ส อ ง ตั ว น้ั น ครอบครวั ของผเู้ ขียน และตอ่ ครอบครัวของลูกแกะในเจเนเรชั่น
อยา่ งมพี ลัง เป็นครัง้ แรกและครั้งเดยี วในชีวิตที่ผู้เขียนถูกท่าน กอ่ นหนา้ และหลังของผูเ้ ขยี น ขอพระผู้เป็นเจา้ พระมหาเยซูเจ้า
อธิ การอัสสั มชั ญตี ด้ว ยค ว ามห่ว งใ ยใ นส วัส ดิภาพ และพระแม่มารีย์ ทรงอวยพระพรให้บราเดอร์ นายชุมพาบาล
ความปลอดภัยในชีวิตของลูกแกะสองตัว ผู้เขียนเพิ่งมาได้คิด ที่เดินตามรอยบาทของพระอาจารย์เจ้า มีอายุยืนยาวอย่าง
ภายหลังจากการถูกตีว่า ท่ีนายชุมพาบาลส่ังให้นอนลงบน น้อย หน่ึงร้อยปี ด้วยเทอญ ผู้เขียนแอบหวังอยู่ลึกๆ ในใจว่า
พื้นก่อนลงมือหวดนั้นก็เพราะว่า ถ้าลูกแกะอย่างผู้เขียน และ ภราดาคณะเซนตค์ าเบรียลจะสามารถผลติ นายชุมพาบาลท่ีดี
รชตะอยู่ในท่ายืน เราจะสามารถผ่อน (alleviate) แรงกระทบ เย่ียงภราดาท่านน้ีออกมาเร่ือยๆ อย่างไม่มีวันส้ินสุดตลอดไป
จาก ไม้เรียวด้วยการเอนกายตามแรงไม้ไปข้างหน้าได้ (ไม่ ในกระแสธารประวตั ศิ าสตร์การศึกษาของสยาม.
อยากใช้คาว่า krad.. 555) แต่ถ้าอยู่ในท่านอน ลูกแกะทั้งสอง
ตวั ไม่มสี ทิ ธผิ อ่ นแรงตก แรงกระทบใดๆตามหลักกลศาสตร์ได้
เลย

22 นาม ASSUMPTION ทวีพอรสธชีรล2A2กั C5ษ81ณ94์

ศษิ ยเ์ กา่ เลา่ เร่ือง วีรธรรม รายสัปดาห์ จาหน่าย

แต๋งแต๋ง (Tintin) หรือ ตินติน ฉบับละ 1.50 บาท (28 หน้า) บรรจุ
ข่าวสาร สารคดี นิยาย สอนภาษา
การ์ตนู ฟรังโก-เบลจี (Franco-Belge) และเกมสนุก ๆ แล้ว หน้าการ์ตูนฝรั่ง
เรอื่ งโด่งดงั กาเนิดปี ค.ศ.1930 ปจั จบุ ัน อย่างน้อย 3 เร่ือง (6 หน้า) จะมีให้
มอี ายตุ อ่ เน่ืองมา 92 ปีแลว้ แมไ้ มม่ ีเรื่อง ติดตามอย่างเพลิดเพลิน ไม่เฉพาะ
ใหม่ ๆ ออกมา หลังจาก เออร์เจ เด็กอัสสัมชัญ และโรงเรียนในเครือฯ
(Hergé) ผเู้ ขียนชาวเบลเยี่ยมได้จากไป เทา่ นนั้ ที่ไดเ้ คยอ่าน แต๋งแต๋ง นักเรียน
ร่วม 38 ปี (ปี ค.ศ.1983) แล้วก็ตาม โรงเรียนไทยอื่น ๆ ก็มีโอกาสได้รู้จัก
เร่ืองราวการผจญภัยของนักข่าวหนุ่ม แต๋งแต๋ง ด้วยเช่นกัน เพราะวีรธรรม
พรอ้ มสนุ ัขค่ใู จทัง้ 23 ตอนอัลบ้ัม (รวม ถูกจัดจาหน่ายไปตามโรงเรียนต่างๆ
เลม่ สุดท้ายที่เขียนไม่จบเป็น 24) ยังถูก ทัว่ ประเทศ รวมทงั้ แผงหนังสือทั่วไป
พิมพจ์ าหน่าย และแปลเปน็ ภาษาต่าง ๆ
มากมายทั่วโลก ท้ังเด็ก และผู้ใหญ่ หูแหว่ง (L'Oreille Cassée)
(อายุ 7-77 ปี) ยังหาซื้อมาอ่านกันได้
อยู่ ในเมืองไทย เดก็ ๆ เริ่มรูจ้ กั แต๋งแต๋งก็ เป็นคาแปลภาษาไทยท่ีเย่ียมยอด
เพราะเห็นใน วีรธรรม นิตยสารราย ตลอดกาลของวรี ธรรม หลังจากเร่ิม
สปั ดาหข์ องคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ล ง ใ น ร า ย สั ป ด า ห์ จ บ แ ล้ ว ห ล า ย ปี
เป็นผู้นาการ์ตูนเรื่องน้ีมาเผยแพร่ให้ จึงนามารวมเล่มจาหน่ายเป็นอัลบั้ม
เยาวชนไทยเป็นคร้ังแรกต้ังแต่ พ.ศ. นาร่องของ วีรธรรมฉบับการ์ตูน
2502 เรอื่ ยมา
คา ต้งั แตน่ ั้นมา
เรียก แตง๋ แตง๋ มาจากตน้ ฉบับภาษาฝร่งั เศส ซ่งึ ขณะนัน้ ฉบบั แปล
อังกฤษยังไมม่ ีทา ปรกติคาอา่ นฝรง่ั เศสจะออกเสยี งวา่ แตงแตง หรือ ตังตงั
วีรธรรมนามาเรียกว่า "แต๋งแตง๋ " คงต้องการให้เป็นคาไทยๆ อ่านงา่ ย และใช้
คาเรยี กน้ันเพยี งผู้เดียวมาตลอด 15 ปี ตอ่ มาเมอ่ื อลั บั้มฉบับแปลองั กฤษ

มอี อกจาหนา่ ยและตดิ ตลาดหนงั สอื ผู้คนกห็ ันไปเรยี กว่า “ตินตนิ ”
ตามคาเรียกแบบอังกฤษ แตไ่ ม่วา่ จะอา่ นอยา่ งไรกเ็ ขียนเหมือนกันทง้ั สอง
ภาษา สว่ นคาเรียกตวั เดนิ เร่อื งอน่ื ในเร่ืองท่มี ีต่างกันอยู่ วีรธรรมก็ต้อง

เรียกตามอังกฤษเชน่ สนุ ัขคูใ่ จของแตงแตง ฝร่งั เศสเรยี ก มีลู (Milou)
องั กฤษแปลเรียกเปน็ สโนวี่ (Snowy) คนู่ กั สืบฝาแฝด ฝรั่งเศสเรียก

ดูปง และดูปัง (Dupond et Dupont) อังกฤษเปลยี่ นเรียกเปน็
ทอมสัน และทอมป์สนั (Thomson & Thompson) ศาสตราจารย์
ฝรัง่ เศสเรียก ตรู เ์ นอซอล (Tournesol) แต่อังกฤษเรยี กเป็น แคลคูลสั
(Calculus) เป็นตน้ วีรธรรมใช้ตน้ ฉบับภาษาฝรงั่ เศสเพียง 2 ตอน
อัลบ้ัมคอื หูแหวง่ และกา้ มปทู อง จากนัน้ จงึ เปลีย่ นใชต้ ้นฉบบั อังกฤษ
แทน และเนือ่ งจากวีรธรรมแปลไทยเทยี บตน้ ฉบบั อังกฤษให้ผอู้ ่านฝกึ

เข้าใจภาษา แต่ยังคงคาเรียก “แตง๋ แตง๋ ” ไว้อยา่ งเดิม
ไมเ่ รยี ก “ตนิ ตนิ ” ตามอยา่ งองั กฤษ

หูแหว่ง เป็นเรื่องของการสืบคดีโจรกรรมเทวรูปที่หายไปจาก

พพิ ิธภณั ฑ์ เทวรปู ประหลาดมีหูแตกปริ แหว่งไปข้างหนึ่ง การแย่งชิงเทวรูป
น้ีในหมู่โจรทาให้นักข่าวหนุ่มต้องสืบค้นผจญภัยข้ามทวีป ถูกจับตัวใน
สถานการณ์ปฏิวัตซิ อ้ นของรัฐบาลท้องถิน่ จนตอ้ งถูกยงิ เปา้ ต้องเผชิญชน
เผ่าลมุ่ นา้ อะมาซอน จนเกือบเอาชีวิตไปท้ิงท่ีอเมริกาใต้ แต่ในที่สุด แต๋งแต๋ง
ก็ไขคดีได้สาเร็จ พบว่ามีของล้าค่าซ่อนอยู่ในหูท่ีแหว่งของเทวรูปน่ันเอง
ท่านที่อยากรู้ว่า แต๋งแต๋ง ในวีรธรรมมีกี่ตอน ก่ีเรื่องบ้าง กรุณาติดตาม
กนั ได้ท่ีหน้าน้ี จะทยอยเลา่ ให้อ่านกนั ครับ.

นาม ASSUMPTION 23

ครเู ก่าเล่าเรือ่ ง

ม.บรรณา กับแปน้ พิมพ์ดดี ปตั ตะโชติ

เลา่ โดย มาสเตอร์ทบ เสนีย์

เครื่องพิมพ์ดดี  ย้อนกลับไปสู่อัสสัมชัญในปี พ.ศ.2455 (ค.ศ.1912) สมัยน้ันยังไม่มี
ตึก ฟ.ฮีแลร์อย่างท่ีเห็นกันในปัจจุบัน แต่เป็นตึกเก่า 3 ช้ันในยุคแรกๆ
UNDERWOOD ของโรงเรียน บราเดอร์ฮูแบร์โต้ เป็นบราเดอร์มาจากฝรั่งเศสที่ตามมา
ในรนุ่ หลงั จากบราเดอร์ฮีแลร์ ได้เปิดวิสัยทัศน์ในการเป็นผู้นาด้านเทคโนโลยี
ด้วยการสัง่ เครื่องพมิ พด์ ีด Underwood • Remington • Smith • Premier
ซึ่งนาเข้าโดยบริษัท Underwood ผู้บุกเบิกการค้าเครื่องพิมพ์ดีด มาสอน
ในโรงเรียนอัสสัมชัญ ท่ีห้องเรียนชั้น 3 ของตึกนี้ ด้วยเล็งเห็นว่าพิมพ์ดีดน้ัน
เปน็ เครอื่ งมอื สาคัญทั้งในดา้ นการทาการคา้ และงานวิชาการ

ศิษย์เอกของทา่ นท่ที าชอ่ื เสยี งให้กบั โรงเรยี นอยา่ งมากคอื บี ชไนเดอร์ หอ้ งเรียนพิมพด์ ดี ของโรงเรียนฯ ชัน้ 3 ชว่ งกลางตกึ เก่า
(Bernard Schneider) และ เฉลิมวงศ์ ปีตะรังสี (ต่อมาคือมาสเตอร์
บรรณา ชโนดม ครูใหญ่ของโรงเรียน และ มาสเตอร์เฉลิมวงศ์ ปีตะรังสี  ในปี พ.ศ. 2513 ได้มีการทุบตึกเก่า นักเรียน
นายทะเบียนของโรงเรียน) ซ่ึงได้เข้าร่วมการแข่งขันพิมพ์ดีดระดับชาติ อัสสัมชัญ “รุ่นทบุ ตึก” (AC 87- การนบั รนุ่ จะนบั ท่ีการ
จดั ขน้ึ โดยบรษิ ทั Underwood ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ.1929) สามารถคว้า จบช้ัน มศ.3) จึงต้องย้ายท่ีเรียนไปอยู่ท่ีตึก กอลมเบต์
รางวัลชนะเลิศและรองตามลาดับด้วยอัตราเร็วในการพิมพ์ถึง 60 คา และตึกสวุ รรณสมโภชเปน็ การชั่วคราว และจาเป็นต้อง
และ 50 คา ตอ่ นาที แทบจะพรอ้ มสมั พันธก์ บั การพดู เลยทีเดียว จัดการเรียนการสอนเป็นสองผลัดอีกด้วย “รุ่นสอง
ผลัด” (AC 88) คือรุ่นต่อมา และท้ายสุดเม่ือตึก
ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ.1930) เมื่อมีการทาแป้นพิมพ์ภาษาไทย ฟ.ฮีแลร์ เสร็จส้ินลงในปี พ.ศ.2515 หลังจากการ
ขนึ้ บราเดอร์ฮูแบรโ์ ต้ และมาสเตอรบ์ รรณา ชโนดม จึงไดเ้ ปิดสอนพิมพ์ดีด ฉลองตึกใหม่แล้ว ก็เป็นเวลาที่บราเดอร์หลุยส์ ชาแนล
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และจัดให้มีการแข่งขันอยู่เนือง ๆ ซ่ึงเป็นอธิการต่อเนื่องมาจนตึกสร้างเสร็จ แม้ว่าจะ
เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ นั ก เ รี ย นตื่ น ตั ว แ ล ะ ก ร ะ ตื อ รื อ ร้น ที่ จ ะ ฝึ ก ฝ น ตั ว เ อ ง กั น ครบวาระก่อนหน้าน้ี ก็ถึงเวลาท่ีจะต้องอาลาไปปฏิบัติ
ตลอดเวลา ทาให้นักเรียนท่ีจบจากโรงเรียนอัสสัมชัญไปแล้วมีศักยภาพ ภารกิจที่อื่น “รุ่นหลุยส์อาลา” (AC 89) จึงเป็นรุ่นแรก
ในการทางานด้านจดหมายโต้ตอบในทางการค้า งานเอกสารทางวิชาการ ที่เริ่มมีการย้ายเข้ามาเรียน ท่ีตึก ฟ.ฮีแลร์ และห้อง
ตลอดจนรายงานการประชุม และงานวิจัยต่าง ๆ ได้เป็นอย่าง ดี พมิ พด์ ีดจึงได้มาอยทู่ ่ปี กี ตึกช้ัน 5 ด้านท่ีแยกจากที่พัก
มีความกา้ วหนา้ ในหนา้ ท่ีการงานอยา่ งรวดเรว็ ของนกั บวช

เม่อื อสั สัมชนิกคอื นายรังสี อุดมผล (อสช 15023) เริ่มนาเข้า
พิมพ์ดีด Olympia ในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ.1957) จากประเทศเยอรมนี
สมยั นน้ั แป้นพมิ พ์ภาษาไทยจะมีแป้นเหย้า หรือแป้นหลักท่ีใช้ในการวางนิ้ว
เป็นตวั อกั ษร ฟ ห ก ด หรือท่ีเรียกกันว่าแป้นแบบเกษมณี ซ่ึงทางโรงเรียน
ก็ได้สั่งมาให้นักเรียนได้ใช้เรียนกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 นายสฤษด์ิ
ปัตตะโชติ ได้ทาการวิจัยแล้วว่าแป้นแบบเกษมณี ทาให้การใช้นิ้วมือขวา
มากกว่าน้ิวมือซ้าย และนิ้วก้อยขวา จะถูกใช้งานมากกว่านิ้วอ่ืน ๆ จึงได้
ประดิษฐ์แป้นพิมพ์ที่แป้นเหย้าเป็นตัวอักษร ท ง ก ซ่ึงจะทาให้ใช้มือทั้งสอง
ข้างได้พอ ๆ กัน แป้นแบบนี้เรียกว่าแป้นปัตตะโชติ ซึ่งมาสเตอร์บรรณา
ไดน้ ามาใชใ้ นการเรียนการสอน และทเี่ หนือไปกวา่ นั้นคือ มกี ารผกู เชอื กโยง
จากแป้นสาหรับกดยกแคร่มาท่ีนิ้วเท้าของผู้ใช้งาน ทาให้ไม่ต้องใช้นิ้วก้อย
ซึ่งมีแรงน้อยในการกดยกแคร่ แต่ใช้การกระดกน้ิวเท้าแทน ทาให้เพ่ิม
อัตราเร็วและประสิทธิภาพในการพิมพ์ได้มากขึ้นถึงกว่า 80 คาต่อนาที
อีกทงั้ ยงั ลดอาการปวดนว้ิ กอ้ ยเนือ่ งจากการใชง้ านหนักไดอ้ กี ดว้ ย

อา่ นเร่ือง พมิ พ์ดดี Olympia รุ่น SG3 ได้ท่ี
http://assumptionmuseum.com/th-th/artifacts/แป้ นพิมพป์ ัตตะโชติ

24 นาม ASSUMPTION

ครูเก่าเลา่ เร่ือง (ตอ่ ) อพคมสรา.ศูใชสห.เ3ญต274อโ่ 3ร8ร8ง4บ์เร–รียรพนณอ.ศสัา.ส2ชัม5โช2นัญ0ดม คณะผู้จัดทา

 การเรียนการสอนพิมพ์ดีดยังคง พระไพศาล วิสาโล ซึ่งแต่งหนังสือสอน ท่ปี รกึ ษา
ต่อเนื่องเร่ือยมา โดยมีครูผู้สอนรุ่นใหม่ๆ ธรรมะไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจมากมาย ไดก้ ล่าวไว้ว่า ภราดาวริ ิยะ ฉนั ทวโรดม
ม า ส อ น ตั้ ง แ ต่ มิ ส ส ม ถ วิ ล สุ ข ส โ ม ส ร “อาตมาเป็นคนสนใจเร่ืองขีดเขียน จึงได้ใช้ ภราดา ดร.ศกั ดา สกนธวัฒน์
มิสภาณี ภิญญะพนั ธ์ มาสเตอร์ถาวน ปญั ญา วิชาพิมพ์ดีดของมาสเตอร์บรรณา ชโนดม ภราดา ดร.ทกั ษบุตร ไกรประสทิ ธ์ิ
ฯลฯ มีแนวคิดใหม่ ๆ มาให้นักเรียนได้ฝึกฝน เป็นประจา หากไม่ได้เรียนอัสสัมชัญจนถึง วัลลภ เจยี รวนนท์
การใช้พิมพ์ดีด เช่นการสร้างรูปต่าง ๆ จาก มัธยม ก็คงจะพิมพ์ดีดแบบนิ้วจ้ิม แทนท่ีจะ ปยิ ะบตุ ร ชลวจิ ารณ์
ตัวเลขและตัวอักษรด้วยพิมพ์ดีดเป็นต้น ซึ่ง พิมพ์แบบสัมผัส ซึ่งช่วยให้พิมพ์ได้เร็ว และมี พลเรอื เอก ประพฤตพิ ร อกั ษรมัต
เป็นส่วนหน่ึงในการวางรากฐานของการลง สมาธไิ ดม้ ากกว่า” สงวน รถั การโกวิท
โค้ตในการแปรอักษรในเวลาต่อมา การสอน ศริ ทรงวทิ ย์ จริ ธนาโศภนิ
พิ ม พ์ ดี ด แ บ บ แ ป้ น ปั ต ต ะ โ ช ติ ด า เ นิ น ม า ถึ ง “นี่แหละครับที่ทำให้อัสสัมชัญ ทวีพร ธีรลักษณ์
เพียงแค่ปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ.1978) เท่านั้น เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ม ำ จ น ทุ ก วั น นี้ ”
แม้ว่าผลการวิจัยจะแสดงให้เห็นว่าการพิมพ์ บรรณาธกิ าร
ด้วยแป้นปัตตะโชติจะให้อัตราท่ีเร็วกว่า และ พรพฤติกร อักษรมัต
ลดอาการปวดนิ้วได้ดีกว่าก็ตาม แต่แป้น
ปัตตะโชติ กลับไม่ได้รับความนิยมในวงการ กองบรรณาธกิ าร
อาชีพ เพราะส่วนใหญ่ได้จัดซื้อแป้นแบบ ประสพสุข กอบน้าเพชร
เกษมณไี ปแลว้ และใชก้ นั ต่อเนอ่ื งเร่ือยมา ทาให้ วัชรีย์ เปรโต
ทางโรงเรียนต้องหวนกลับมาสอนแป้นแบบ กฤษนา พันธ์ุพิพัฒน์
เกษมณีอีกครั้งหนึ่งในรูปแบบของพิมพ์ดีด ณชิ กมล ชยั วรรณ์
ไ ฟ ฟ้ า ท่ี ท า ง า น ไ ด้ เ รี ย บ ร้ อ ย ก ว่ า พิ ม พ์ ดี ด
แบบธรรมดา จนในท่ีสุด เมื่อเทคโนโลยี พิมพท์ ี่
คอมพิวเตอร์ได้ ก้าวเข้ามาสู่ประเทศไทย โรง บริษัท ร่งุ ศิลป์การพิมพ์ (1977) จากัด
เรยี นอสั สัมชญั ก็เปลย่ี นจากการสอนพิมพ์ดีด สมาคมอสั สมั ชญั
มาเป็นการสอนใช้งานคอมพิวเตอร์แทนใน กโแเลทขรขรวงุ ท.งเทพ:ี่ 4พ0ร82ะม1โ-หข03นา9ถนง0นคเ-นข1รตพ01ค6ร0ละ21รอ-1า3ง0มเต4ย
ปี พ.ศ. 2535
Website : https://www.aca.or.th
 โรงเรียนอัสสัมชัญไม่เคยหยุดย้ังการ
พัฒนาด้านการเรียนการสอน วิสัยทัศน์ของ Facebook :
บราเดอร์ในแต่ละรุ่นได้สร้างความโดดเด่น
ใหก้ ับอสั สมั ชนิกรุ่นแลว้ รุ่นเล่า ด้วยนวัตกรรม https://www.facebook.com/AC
ด้วยเทคโนโลยี และด้วย จิตวิญญาณของ .Association
ความเป็นครู ที่กระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้
สิ่งใหม่ ๆ มีความกระตือรือร้น อดทน และมี
เป้าหมายทจี่ ะแขง่ ขนั กบั ตวั เองและต่อสใู้ นสังคม
เป็น Competency based ท่ีปลูกฝังให้มี
เลือดนักสู้ และความคิดสร้างสรรค์ พร้อมไป
กับคุณธรรมและความกตญั ญู ศษิ ย์อัสสมั ชญั
จะไม่ท้งิ โรงเรียน แต่จะกลับมาทาคุณประโยชน์
ใหก้ บั โรงเรยี นอยเู่ สมอ ไม่ทางใดก็ทางหนง่ึ

เครื่องพิมพ์ดีด OLYMPIA รุ่น SG3

แป้ นเหย้าปัตตะโชติ (ลกู บิดแคร่สีครีม)
ที่นกั เรียนอสั สมั ชญั เคยเรียนพิมพ์ดีด

กบั มาสเตอร์บรรณา ชโนดม

ขอขอบคณุ


Click to View FlipBook Version