The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มหนังสั้น เรื่อง สาวกระโปรงเหี่ยน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mahinsorn Jamkrajang, 2024-02-10 04:55:06

รูปเล่มหนังสั้น เรื่อง สาวกระโปรงเหี่ยน

รูปเล่มหนังสั้น เรื่อง สาวกระโปรงเหี่ยน

หนังสั้น เรื่อง สาวกระโปรงเหี่ยน เสนอ อาจารย์ ดร. รอง ปัญสังกา โดย กลุ่ม สาวกระโปรงเหี่ยน นายนภัทร อำไพ รหัส 6622610302 นางสาวนันทิดา จำปามูล รหัส 6622610303 นายณัฐวุฒิ ฉิมมะโน รหัส 6622610308 นายพงศ์ธร ภักดีเรือง รหัส 6622610309 นางสาวดวงรัตน์ วรยศ รหัส 6622610311 นางสาวศิวาพร ทรงคาสี รหัส 6622610319 นายศิรชัช กัลยาแก้ว รหัส 6622610323 นางสาวภรภัทร โปตวัฒน์ รหัส 6622610325 นางสาวปิยะณัฐ ขาวลา รหัส 6622610326 นายนนทกร ทบหลง รหัส 6622610327 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา EA 103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ปีการศึกษา 2566


หนังสั้น เรื่อง สาวกระโปรงเหี่ยน เสนอ อาจารย์ ดร. รอง ปัญสังกา โดย กลุ่ม สาวกระโปรงเหี่ยน นายนภัทร อำไพ รหัส 6622610302 นางสาวนันทิดา จำปามูล รหัส 6622610303 นายณัฐวุฒิ ฉิมมะโน รหัส 6622610308 นายพงศ์ธร ภักดีเรือง รหัส 6622610309 นางสาวดวงรัตน์ วรยศ รหัส 6622610311 นางสาวศิวาพร ทรงคาสี รหัส 6622610319 นายศิรชัช กัลยาแก้ว รหัส 6622610323 นางสาวภรภัทร โปตวัฒน์ รหัส 6622610325 นางสาวปิยะณัฐ ขาวลา รหัส 6622610326 นายนนทกร ทบหลง รหัส 6622610327 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา EA 103 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู ปีการศึกษา 2566


คณะผู้จัดทำ กลุ่ม สาวกระโปรงเหี่ยน นายนภัทร อำไพ รหัส 6622610302 นางสาวนันทิดา จำปามูล รหัส 6622610303 นายณัฐวุฒิ ฉิมมะโน รหัส 6622610308 นายพงศ์ธร ภักดีเรือง รหัส 6622610309 นางสาวดวงรัตน์ วรยศ รหัส 6622610311 นางสาวศิวาพร ทรงคาสี รหัส 6622610319 นายศิรชัช กัลยาแก้ว รหัส 6622610323 นางสาวภรภัทร โปตวัฒน์ รหัส 6622610325 นางสาวปิยะณัฐ ขาวลา รหัส 6622610326 นายนนทกร ทบหลง รหัส 6622610327


ก คำนำ เอกสารหนังสั้น “สาวกระโปรงเหี่ยน” ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนวิชา EA103 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา หลักสูตรประกาศทางการศึกษา สาขาวิชาชีพครู ซึ่ง ประกอบด้วย วีดีโอหนังสั้น “สาวกระโปรงเหี่ยน” วัตถุประสงค์ Storyboard การนำนวัตกรรมไปใช้และ ประเมินผล รายละเอียดของเอกสารหนังสั้น “สาวกระโปรงเหี่ยน” ที่กล่าวมานี้ จะนำไปใช้เป็นนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ในการจัดการเรียนรู้ ประกอบการสอนรายวิชาสุขศึกษาและพล ศึกษาต่อไป ซึ่งผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารหนังสั้น “สาวกระโปรงเหี่ยน” จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรต่อไป คณะผู้จัดทำ


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข แผนการจัดการเรียนรู้ 1-19 Link หนังสั้น 20 Storyboard 21-34 Power Point การสอน 35-39 สรุปผลการทดสอบ 40 อ้างอิง 41


1 1. สาระสำคัญ 2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การ เรียนรู้ 3. สาระการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ที่ 3 เพศศึกษา รหัสวิชา / ชื่อรายวิชา............................................................................................. ......กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 5 ชั่วโมง ภาคเรียนที่.....................ผู้สอน........................................................โรงเรียน................................................................... การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนก่อให้เกิดปัญหามากมาย เช่น การตั้งครรภ์ การติดโรค ดังนั้นวัยรุ่นโดยเฉพาะเพศ หญิงจึงควรหลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ 1. วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอัน ควรได้ (พ 2.1 ป.6/2) 2. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอัน ควรได้ (พ 2.1 ป.6/2) ความรู้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเพศชายและเพศหญิง 2. พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 3. ผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 4. การหลีกเลี่ยงและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ ทักษะ/กระบวนการ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะกระบวนการ 3. ทักษะการแสวงหาข้อมูลและเลือกใช้ข้อมูล 4. ทักษะการตัดสินใจและแก้ไขปัญหา 5. กระบวนการทำงานกลุ่ม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น 2. มีจิตสำนึกในการดูแลและรับผิดชอบต่อสุขภาพ 3. มีความมุ่งมั่นในการทำงาน 4. มีค่านิยมที่ดีงาม 5. มีการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์


2 4. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ความสัมพันธ์ระหว่างเพศชายและเพศหญิง เวลา 1 ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบกระบวนการแก้ปัญหา) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2.ครูให้นักเรียนสังเกตภาพ ในหนังสือเรียน (หน้า 35) แล้วครูถามนักเรียนว่า ปัญหาที่เกิดในภาพ เกิดจาก สาเหตุใดบ้าง โดยครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม 1. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนมีเพื่อนต่างเพศหรือไม่ แล้วครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เพื่อนมีทั้ง เพศชายและ เพศหญิง การคบเพื่อนเป็นสิ่งที่ดี เพราะทำให้เราไม่ต้องอยู่คนเดียวในวัยของนักเรียนอาจจะคบเพื่อนหลายๆ คน แต่ต่อมาอาจมีเพื่อนต่างเพศบางคนที่สนิทสนมมากเป็นพิเศษ และสามารถพัฒนากลายมาเป็นคู่รักได้ 2. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างเพศชายและเพศหญิง ในหนังสือเรียน (หน้า 36) แล้วครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพลของสื่อมวลชนต่อการแสดงออกทางเพศว่า มีผลกระทบอย่างไรบ้าง 4. ครูถามคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียน เช่น - นักเรียนคิดว่า ความเชื่อผิดๆ เรื่องเพศมีอะไรบ้าง - นักเรียนมีเพื่อนที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้หรือไม่ - นักเรียนมีหลักในการเลือกรับสารจากสื่ออย่างไรให้ปลอดภัย ครูสรุปปัจจัยสำคัญที่ทำให้วัยรุ่นมีการคบหากันเป็นคนรัก ให้นักเรียนฟัง ดังนี้ - แรงผลักดันจากฮอร์โมน - สภาพสังคม - สื่อมวลชน - โอกาสในการคบหาเพื่อนต่างเพศ - ความเชื่อที่ผิดๆ ในเรื่องเพศ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การคบเพื่อนต่างเพศในฐานะคู่รักเป็นสิ่งที่ไม่ผิด ถ้าปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม ให้เกียรติกัน และไม่มีการชิงสุกก่อนห่าม กิจกรรมนำสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมรวบยอด


3 กิจกรรมที่ 1 พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและ ผลกระทบ เวลา 2 ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบกระบวนการคิดวิเคราะห์ วิธีการสอนแบบกระบวนการแก้ปัญหา) ชั่วโมงที่ 1 1.ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนควรคบเพื่อนอย่างไร เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน 2.ครูอ่านข่าวเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิม) ร่วมกันวิเคราะห์ว่า สาเหตุของข่าวนี้เกิดจากอะไร และเกิดผลกระทบอย่างไร 3.ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนเป็นสิ่งที่ผิด เพราะทำให้เกิดผลเสียทั้งต่อตนเอง และครอบครัว ดังนั้นผู้ที่อยู่ในวัยเรียนจึงควรยับยั้งชั่งใจไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ 1. ครูให้นักเรียนช่วยกันหาสาเหตุที่ทำให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน และบอกผลเสียที่เกิดขึ้นจากการมี เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน โดยให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติม ในหนังสือเรียน (หน้า 37) 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ในหนังสือเรียน (หน้า 37) แล้วสรุปสาระสำคัญจดลง ในสมุด 3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 ข้อ 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 38) โดยให้นักเรียนอ่าน สถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม 4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 ข้อ 3 ในหนังสือเรียน (หน้า 39) โดยให้นักเรียน อ่านบทความที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม 5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 ข้อ 1 ในหนังสือเรียน (หน้า 38) โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันคิดสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ จากนั้นนำมาแสดงบทบาทสมมุติให้เพื่อนดูที่หน้าชั้น เรียน ในชั่วโมงเรียนต่อไป กิจกรรมน ำสู่กำร เรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้


4 ชั่วโมงที่ 2 1. ครูสอบถามถึงความพร้อมในการแสดงบทบาทสมมุติ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาท สมมุติให้เพื่อนดูที่หน้าชั้นเรียน ตามความพร้อม ครูกำหนดให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้เวลาในการแสดง บทบาทสมมุติ กลุ่มละ 5 นาที โดยครูและเพื่อนนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ เสร็จแล้วบันทึกข้อมูล 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร กิจกรรมที่ การหลีกเลี่ยงและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ เวลา 2 ชั่วโมง (วิธีการสอนแบบกระบวนการสร้างความตระหนัก) ชั่วโมงที่ 1 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 คน ออกมาเล่าความรู้ที่ได้เรียนไปให้เพื่อนฟังที่หน้าชั้นเรียน เพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน 2. ครูถามนักเรียนว่า ผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ได้แก่อะไรบ้าง 1. ครูถามนักเรียนว่า เราสามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนได้อย่างไร โดยครู กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม 2. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร และการหลีกเลี่ยงและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ ในหนังสือเรียน (หน้า 40-41) แล้วสรุป สาระสำคัญจดลงในสมุด จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 2 ข้อ 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 43) โดยให้นักเรียน เขียนแผนผังความคิดแสดงผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน 4. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 2 ข้อ 3 ในหนังสือเรียน (หน้า 43) โดยให้นักเรียน บอกวิธีหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม กิจกรรมรวบยอด กิจกรรมนำสู่การเรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้


5 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6. การวัดและประเมินผล 5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 2 ข้อ 1 ในหนังสือเรียน (หน้า 42) โดยให้นักเรียนแต่ละ กลุ่ม (กลุ่มเดิม) ค้นหาข่าวเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์มาติดลงในกรอบ แล้วร่วมกัน อภิปรายสาเหตุ และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากนั้นบันทึกผล ชั่วโมงที่ 2 6. 1. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมบูรณาการสร้างสรรค์ ชิ้นที่ 2 ปัญหาทางเพศ ในหนังสือเรียน (หน้า 48) โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสถิติการเกิดปัญหาทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นจากแหล่ง ค้นคว้าต่างๆ แล้วนำสถิติที่ได้มาวิเคราะห์ว่า ปัญหาทางเพศที่เกิดกับวัยรุ่นมากที่สุด คือปัญหาอะไรบ้าง และเกิดจากสาเหตุใด ให้นักเรียนร่วมกันวางแผนป้องกันปัญหาทางเพศที่เกิดกับวัยรุ่น แล้วนำมาจัดทำเป็น รายงาน 2. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาการคิดประจำบทที่ 2 ข้อ 1-4 ในหนังสือเรียน (หน้า 44-46) ดังนี้ 1) แบ่งกลุ่ม อ่านสถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม 2) วิเคราะห์พฤติกรรมว่า ควรทำ หรือ ไม่ควรทำ แล้วขีด ✓ ลงในตารางพร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบ 3) ยกตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงและวิธีป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร มา 5 ข้อ 4) เขียนคำพูดโต้ตอบที่เหมาะสม ถ้ามีผู้มาพูดกับนักเรียนตามสถานการณ์ที่กำหนดให้ เมื่อนักเรียนทำเสร็จแล้วนำส่งครูผู้สอน 3. นักเรียนทำแบบทดสอบที่ 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 47) เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจ 1. สื่อการเรียนรู้ (ตัวอย่าง : สื่อฯ มมฐ. หลักสูตรแกนกลางฯ สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6) 2. ข่าวเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน 3. แหล่งสืบค้นข้อมูล เช่น ผู้รู้ ห้องสมุด แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 6.1 หลักฐานการเรียนรู้ (ชิ้นงานสุดท้ายที่แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้รวบยอด) 1. กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 1-4 2. ผลงานเรื่อง ปัญหาทางเพศ 6.2 วิธีการวัดและประเมินผล 1. ตรวจการทำกิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 1-4 2. ประเมินผลงานเรื่อง ปัญหาทางเพศ 3. ประเมินทักษะกระบวนการ 4. ประเมินทักษะการคิด กิจกรรมรวบยอด


6 7. กิจกรรม เสนอแนะ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 6. สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและการปฏิบัติกิจกรรม 7. สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน 6.3 เครื่องมือวัดและประเมินผล และเกณฑ์ 1. กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 1-4 (ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์) 2. แบบประเมินผลงานเรื่อง ปัญหาทางเพศ 3. แบบประเมินทักษะกระบวนการ 4. แบบประเมินทักษะการคิด 5. แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 6. แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 7. แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน 8. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน (ดูเกณฑ์ในแบบประเมิน) -


7 1.ผลการเรียนรู้ 1.1 ผู้เรียนที่ผ่านตัวชี้วัดมีจำนวน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ...................................... 1.2 ผู้เรียนที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดมีจำนวน ........................ คน คิดเป็นร้อยละ................................... 1)................................................................สาเหตุ (ถ้าทราบ)................................... .... 2)................................................................สาเหตุ........................................................ แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................ .............. ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ... 1.3 ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้แก่ 1)........................................................................ 2)............................................................. .......... แนวทางการพัฒนา / ส่งเสริม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... . 1.4 ผู้เรียนได้รับความรู้ (K)……….............................................................. 1.5 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ (P)…………........................................................ 1.6 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม (A)….............................................. 2. ปัญหาอุปสรรค (ถ้ามี) ................................................................................................................... ....... ....................................................................................................................... .................................. ......................................................................................................................................................... . ......................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) ......................................................................................................................... ................................ .................................................................................................................... .................... ลงชื่อ.......................................................... (.........................................................) 8. บันทึกผลการสอน


8 เกณฑ์ประเมินชิ้นงาน กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 1 (15 คะแนน) การอ่านสถานการณ์ที่กำหนด แล้วตอบคำถาม (มี 5 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน) - อ่านสถานการณ์ที่กำหนด แล้วตอบคำถามได้ถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน = 3 คะแนน - อ่านสถานการณ์ที่กำหนด แล้วตอบคำถามได้ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ = 2 คะแนน - อ่านสถานการณ์ที่กำหนด แล้วตอบคำถามได้ถูกต้อง เป็นบางส่วน = 1 คะแนน กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 2 (10 คะแนน) การวิเคราะห์พฤติกรรมที่กำหนด พร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบ (มี 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน) - วิเคราะห์พฤติกรรมที่กำหนดได้ถูกต้อง พร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบได้ถูกต้อง ชัดเจน = 2 คะแนน - วิเคราะห์พฤติกรรมที่กำหนดได้ถูกต้อง พร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบได้ ถูกต้อง แต่ไม่ชัดเจน = 1 คะแนน กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 3 (15 คะแนน) 1. การยกตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (5 คะแนน) (มี 5 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน) - ยกตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ถูกต้อง เหมาะสม = 1 คะแนน 2. การบอกวิธีป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย อันควร (10 คะแนน) (มี 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน) - บอกวิธีป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ถูกต้อง เหมาะสม = 2 คะแนน - บอกวิธีป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้ถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสม = 1 คะแนน กิจกรรมพัฒนาการคิด ข้อ 4 (10 คะแนน) การเขียนคำพูดโต้ตอบตามสถานการณ์ที่กำหนด (มี 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน) - เขียนคำพูดโต้ตอบตามสถานการณ์ที่กำหนดได้ถูกต้อง เหมาะสม = 2 คะแนน - เขียนคำพูดโต้ตอบตามสถานการณ์ที่กำหนดได้ถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสม = 1 คะแนน


9 ประเมิน ผลงานเรื่อง ปัญหาทางเพศ ชั้น / ห้อง......................................................................... กลุ่มที่…………………………………………………….. ชื่อสมาชิก ........................................................................................................................................ ............................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... หน่วยการเรียนรู้ที่ .................................................................... กิจกรรม…………………...…………………………………………….. คำชี้แจง:ให้ ผู้สอน ประเมินผลการทำรายงานตามประเด็นที่กำหนด โดยให้ระดับคะแนนที่ตรงกับผลงาน ของผู้เรียน (ดูเกณฑ์การให้คะแนนในหน้าถัดไป) เกณฑ์การให้คะแนน 4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง หัวข้อประเมิน คะแนน ข้อเสนอแนะ เต็ม ได้ 1. รูปเล่ม 4 2. ความสมบูรณ์ของเนื้อหา 4 3. การใช้ภาษา 4 4. การเขียนสะกดคำ 4 5. การนำเสนอผลงาน 4 รวมคะแนน 20 ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน ..................../.........................../.................. แบบประเมิน


10 เกณฑ์ประเมินผลการทำรายงาน ประเด็นที่ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) 1. รูปเล่ม - ปกสวยงาม แสดง ค ว า ม ค ิ ด ร ิ เ ริ่ ม สร้างสรรค์ รูปเล่ม แน่นหนา - ปกสวยงาม แสดงความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ รูปเล่มไม่ แน่นหนา - ปกสวยงาม แต่มีลักษณะ คล้ายคลึงกับ แบบทั่วไป รูปเล่มไม่ แน่นหนา - ปกไม่สวยงาม รูปเล่มไม่ แน่นหนา 2. ความสมบูรณ์ ของเนื้อหา - เนื้อหาสมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน ตามองค์ประกอบ ทุกประเด็น - เนื้อหาถูกต้อง ขาดไปบางหัวข้อ แ ต ่ ไ ม ่ เ ป็ น สาระสำคัญ - เนื้อหาถูกต้อง แต่ ขาดหัวข้อที่เป็น สาระสำคัญ บาง หัวข้อ - เนื้อหาไม่สมบูรณ์ ขาดหัวข้อที่เป็น สาระสำคัญ หลาย หัวข้อ 3. การใช้ภาษา - ใช้ภาษารัดกุม เข้าใจง่าย - ใช้ภาษาไม่รัดกุม แต่สื่อความหมาย เข้าใจได้ดี - ใช้ภาษาไม่รัดกุม แต่สื่อความหมาย พอเข้าใจ - ใช้ภาษาไม่รัดกุม ส ื ่ อ ค ว า ม ห ม า ย วกวน ไม่ได้ใจความ 4. การเขียน สะกดคำ - เ ข ี ย น ส ะ ก ด คำ ถูกต้องทุกคำ วรรคตอนถูกต้อง ทุกแห่ง - เขียนสะกดคำผิด 1-5 คำ วรรคตอน ผิดไม่เกิน 5 แห่ง - เขียนสะกดคำผิด 6-10 คำ วรรคตอนผิด ไม่เกิน 5 แห่ง - เขียนสะกดคำผิด 10 คำ ขึ้นไป วรรคตอนผิด ไม่เกิน 5 แห่ง 5. การนำเสนอ ผลงาน - มีการนำเสนอ ด ้ ว ย ว ิ ธ ี ก า ร ที่ แปลกใหม่ ไม่ซ้ำ แบบใคร พูดจา ชัดเจน เร้าใจให้ ติดตาม - มีการนำเสนอ ด้วยวิธีการที่ แปลกใหม่ พูดจาชัดเจน เร้าใจให้ติดตาม เป็นส่วนใหญ่ - มีการนำเสนอ ด ้ ว ย ว ิ ธ ี ก า ร ที่ คล้ายคลึงกับแบบ ท ั ่ ว ไ ป พ ู ด จ า ชัดเจนเร้าใจให้ ติดตามเป็น บางช่วง - มีการนำเสนอ ด้วยวิธีการที่ คล้ายคลึงกับแบบ ทั่วไป พูดจาไม่ ชัดเจน ไม่เร้าใจ ให้ติดตาม


11 ประเมิน ทักษะกระบวนการ วิชา ......................................................................... ชั้น ……………………………………………….………………….... หน่วยการเรียนรู้ที่ .................................................. กิจกรรม ……………….……………………….………………….... คำชี้แจง: ให้ ผู้สอน สังเกตการใช้ทักษะกระบวนการในขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยเขียนระดับคะแนน ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล รายการประเมิน รวม คะแนน สรุปผล การประเมิน ทักษะการดูแล สุขภาพ ทักษะการ แสวงหาข้อมูล และ ทักษะการ ตัดสินใจ ทักษะการสื่อสาร ด้านสุขภาพ ทักษะการปฏิเสธ ผ่าน ไม่ ผ่าน ลงชื่อ ..................................... ผู้ประเมิน .................../............................./....................... เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน 10 คะแนนขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน แบบประเมิน


12 ประเมิน ทักษะการคิด วิชา ........................................................................ ชั้น …………….……………………..………………………………….... หน่วยการเรียนรู้ที่ ...................................................... กิจกรรม/ใบงาน…….………………………………………….... คำชี้แจง :ให้ ผู้สอน ประเมินจากการสังเกตทักษะการคิดของผู้เรียนในขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยให้ ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับความสามารถในการคิดของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง เลขที่ ชื่อ – นามสกุล รายการประเมิน รวม คะแนน สรุปผล การประเมิน คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ ผ่าน ไม่ ผ่าน ลงชื่อ .......................................... ผู้ประเมิน ................../................................/........................... เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน 6 คะแนนขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน แบบประเมิน


13 เกณฑ์ประเมินทักษะการคิด ประเด็นที่ประเมิน ระดับคุณภาพ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 1. คิดวิเคราะห์ วิเคราะห์องค์ประกอบ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งได้ครบทุก ประเด็น วิเคราะห์องค์ประกอบ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งได้ ถูกต้อง แต่ไม่ครบ ทุกประเด็น วิเคราะห์องค์ประกอบ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งไม่ได้ 2. คิดอย่างมีวิจารณญาณ วิจารณ์สิ่งที่ได้เรียนรู้โดย ผ่านการไตร่ตรองอย่างมี เหตุผล วิจารณ์สิ่งที่เรียนรู้ได้ ไม่สามารถวิจารณ์ สิ่งที่ เรียนรู้ได้ 3. คิดสร้างสรรค์ สามารถสร้างความรู้ใหม่ ตามความคิดของตนได้ อย่างมีหลักเกณฑ์ สามารถสร้างความรู้ใหม่ ได้บ้าง ไม่สามารถสร้างความรู้ ใหม่ตามความคิดของตน ได้อย่างมีหลักเกณฑ์


14 ประเมิน พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม กลุ่มที่ (ชื่อกลุ่ม) .............................................................................................. .................. สมาชิกในกลุ่ม 1.............................................................2. ...................................................................... 3. ........................................................ ..4. ...................................................................... 5. ....................................................... ...6. ...................................................................... คำชี้แจง:ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน 3 2 1 1. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2. มีความกระตือรือร้นในการทำงาน 3. รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4. มีขั้นตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ 5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 พอใช้ 5-7 ปรับปรุง แบบสังเกต


15 ประเมิน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ชั้น/ห้อง ............................................................ วิชา ………….……………………………………………….... คำชี้แจง:ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนว่ามีการปฏิบัติ หรือไม่ ถ้ามีการปฏิบัติในรายการใดให้ขีด ✓ ถ้าไม่มีให้เว้นว่าง เลขที่ ชื่อ - นามสกุล คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม รวม สรุปผล การ ประเมิน เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น มีระเบียบวินัย เคารพสิทธิ กฎและกติกา มีจิตสำนึกในการดูแลและรับผิดชอบต่อ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีความซื่อสัตย์ มีความเอื้ออาทร เสียสละ และคำนึงถึง มีน้ำใจนักกีฬา เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนมีการปฏิบัติ 7 รายการขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนน : ผ่าน 7 รายการ = 1 คะแนน ผ่าน 8 รายการ = 2 คะแนน ผ่าน 9 รายการ = 3 คะแนน แบบประเมิน


16 ประเมิน สมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน คำชี้แจง :ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงใน ช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ – ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อการสร้างองค์ความรู้ 2.2 มีความสามารถในการคิดเป็นระบบ เพื่อการสร้างองค์ความรู้ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล 3.2 แสวงหาความรู้มาใช้ในการแก้ปัญหา 3.3 ตัดสินใจโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.1 ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความสัมพันธ์อันดี 4.2 มีวิธีแก้ไขความขัดแย้งอย่างเหมาะสม 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5.1 เลือกใช้ข้อมูลในการพัฒนาตนเองอย่างเหมาะสม 5.2 เลือกใช้ข้อมูลในการท างานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเหมาะสม ลงชื่อ ................................................ ผู้ประเมิน ......................../...................../.................. เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน แบบประเมิน


17 ประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน คำชี้แจง :ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัพระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น 3. มีวินัย 3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ทำงาน 6.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทำงานที่ได้รับ มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค เพื่อให้งาน สำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น 8.2 แสดงออกถึงการมีน้ำใจหรือการให้ความช่วยเหลือ ผู้อื่น 8.3 เข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส ลงชื่อ..................................................... ผู้ประเมิน .............../........................./.......................... เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน แบบประเมิน


18 กิจกรรมทบทวน 1. ครูทบทวนสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้นี้ให้นักเรียนเข้าใจ 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนผ่านไปแล้ว แต่นักเรียนยังไม่เข้าใจ หรือมีข้อสงสัย 3. ครูแจกแบบบันทึกประสบการณ์การเรียนรู้ให้นักเรียนทุกคนบันทึกข้อมูลตามความเป็นจริง และส่งคืนครู เพื่อใช้เป็นหลักฐานร่องรอยประกอบการประเมินผล การประเมินหลังเรียน 1. ครูจัดทดสอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ประจำ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ในหนังสือเรียน (หน้า 49-53) (หมายเหตุ : การจัดเวลาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ครูผู้สอน) โดยดำเนินการ ดังนี้ 1) ครูอธิบายการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของหน่วยการเรียนรู้นี้ 2) ครูแนะนำให้นักเรียนวางแผนการทำแบบทดสอบ โดยศึกษาแบบทดสอบและเละในส่วนที่สามารถ ทำได้ก่อน เพื่อให้เสร็จทันตามกำหนดเวลา 3) นักเรียนทุกคนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในหนังสือเรียน มมฐ. สุขศึกษาฯ ป.6 (หน้า 49-53) 2. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ หากใครมีข้อสงสัยเกี่ยวกับคำตอบ ให้ครูอธิบายให้นักเรียน เข้าใจถูกต้อง จากนั้นรวบรวมหนังสือส่งครูอีกครั้งหนึ่ง 3. ครูตรวจให้คะแนนการทำแบบทดสอบเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการวัดและประเมินผลการ เรียนประจำหน่วย ทบทวน/ทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว เวลา 2 ชั่วโมง


19 คำชี้แจง : 1. ครูให้นักเรียนบันทึกผลการเรียนรู้ของตนเองเมื่อเรียนจบในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 2. ครูเก็บเป็นหลักฐานเพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการวินิจฉัยความรู้ ความสามารถ และ เพื่อซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะกระบวนการเรียนรู้ได้เต็ม ศักยภาพเป็นรายบุคคล ความรู้ ใหม่ที่ได้จากบทเรียน .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... เรื่องที่ต้องการให้ครูอธิบายเพิ่มเติม .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... .................................................... กิจกรรมที่ชอบท า ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ... ผลงานที่พอใจและต้องการ เก็บเป็นหลักฐานแสดงความ ก้าวหน้า .............................. ............................................. ............................................. ............................................. ประโยชนท์ ไี่ด้จำกกำรน ำผล กำรเรียนรู้เรื่องนีไ้ปใช้ ในชีวิตประจ ำวัน .............. .......................................... .......................................... .......................................... .......................................... หน่วยกำรเรียนรู้ท.ี่............ เรื่อง แบบบันทกึประสบกำรณก์ำรเรียนรู้


20 Link หนังสั้น และ E-book 1. นายนภัทร อำไพ รหัส 6622610302 Link หนังสั้น : https://youtu.be/SFAMOsJG_YY?si=INLnR6xTOgGtNIdk Link E-book : 2. นางสาวนันทิดา จำปามูล รหัส 6622610303 Link หนังสั้น : https://www.youtube.com/watch?v=dPRw4rmheIs Link E-book : 3. นายณัฐวุฒิ ฉิมมะโน รหัส 6622610308 Link หนังสั้น : https://youtu.be/RYox2InGNvM?si=qi-m6XGtgBGJSAT3 Link E-book : 4. นายพงศ์ธร ภักดีเรือง รหัส 6622610309 Link หนังสั้น : https://www.youtube.com/watch?v=fydcDYE4L8w Link E-book : 5. นางสาวดวงรัตน์ วรยศ รหัส 6622610311 Link หนังสั้น : https://www.youtube.com/watch?v=pi7WxlO3__w Link E-book : 6. นางสาวศิวาพร ทรงคาสี รหัส 6622610319 Link หนังสั้น : https://youtu.be/vF1TvwTLSmM?feature=shared Link E-book : 7. นายศิรชัช กัลยาแก้ว รหัส 6622610323 Link หนังสั้น : https://www.youtube.com/watch?v=7N1BHKCO6fk Link E-book : 8. นางสาวภรภัทร โปตวัฒน์ รหัส 6622610325 Link หนังสั้น : https://youtu.be/GrrZCDM2xMI?si=im3CO9gCO1GhFsee Link E-book : 9. นางสาวปิยะณัฐ ขาวลา รหัส 6622610326 Link หนังสั้น : https://youtu.be/ILFxQHdQ8LY?si=cFEDp3F5q9HtvtVy Link E-book : 10. นายนนทกร ทบหลง รหัส 6622610327 Link หนังสั้น : https://youtu.be/dFRyIiIydMo Link E-book :


21 หนังสั้น “สาวกระโปรงเหี่ยน” 1. ชื่อเรื่อง “สาวกระโปรงเหี่ยน” 2.วัตถุประสงค์การเรียนรู้เพื่อ 2.1บอกถึงพฤติกรรมที่เหมาะสมในวัยเรียน 2.2เพื่อแก้ไขปัญหาท้องในวัยเรียน 3. ลักษณะผู้เรียนเหมาะสมกับวัยเรียนความสนใจระดับความรู้ทักษะ 3.1 เหมาะสำหรับอายุ ๑๓ ปีขึ้นไป 3.2 ความสนใจในเรื่องเพศตรงข้าม 3.3 มีความรู้และทักษะเรื่องเพศศึกษาที่สามารถไปบูรณาการปรับใช้กับรายวิชาต่างๆ 4. รูปแบบการเรียนการสอน 4.1 สถานการณ์จำลอง 5. ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 5.1 ขอบข่ายวิชาสุขศึกษา 6. สภาพการเรียน 6.1 ห้องเรียน 6.2 สนาม 6.3 กลุ่ม 6.4 เดียว 7. ทรัพยากรต่างๆ 7.1 โทรศัพท์ 7.2 หนังสือเรียน 7.3 กล้องถ่ายรูป 7.4 โปรแกรม Movavi video Editor 7.5 Canva 7.6 Meitu 7.7 Capcut 8. ราคานวัตกรรมที่เหมาะสม 8.1 1,000 บาท 9. ทฤษฎีหลักการออกแบบนวัตกรรม 9.1 เชื่อมโยงกับทฤษฎีการเรียนรู้ของซิกมันด์ ฟลอยด์ 10. การนำนวัตกรรมไปใช้และประเมินผล 10.1 ที่โรงเรียน 10.2 กับนักเรียน 10.3 เมื่อในชั่วโมงการเรียนการสอน 10.4 บูรณาการในการเรียนการสอนได้ทุกรายวิชา 10.5 การวัดประเมินผลใช้แบบสังเกต


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


Click to View FlipBook Version