ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้
Super Farm
Model
การใชห้ ลกั เศรษฐกจิ หมุนเวยี นในการจดั การเศษวสั ดุทางการเกษตรในไร่อ้อยนาํ ไปสู่
“ไร่อ้อยคาร์บอนตาํ ”
ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้
Super Farm
Model
การใชห้ ลกั เศรษฐกจิ หมุนเวยี นในการจดั การเศษวสั ดุทางการเกษตรในไร่อ้อยนาํ ไปสู่
“ไร่อ้อยคาร์บอนตาํ ”
ทมี นกั วจิ ยั โครงการ
“การพฒั นาและส่งเสรมิ พชื พลังงานเพอื เศรษฐกิจหมนุ เวียน จังหวัดสระแก้ว”
ทมี นกั วจิ ยั โครงการ
“การพฒั นาและส่งเสรมิ พชื พลังงานเพอื เศรษฐกิจหมนุ เวียน จังหวัดสระแก้ว”
ศูนยก์ ารเรยี นรู้ “Super Farm Model”
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์, 2565
Researchers of the project
“Developments and Promotions of Energy Plant for
Biological Circular Economy in Sa Kaeo Province”
“Super Farm Model” Learning Center
Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal
Patronage, 2022
ส า ร บัญ 1
9
1. ประวัติศนู ยก ารเรยี นรู Super Farm Model 13
2. องคค วามรูจ ากงานวิจยั โครงการวจิ ัยยอ ยท่ี 1 17
3. องคค วามรูจากงานวิจยั โครงการวจิ ยั ยอยที่ 2 25
4. องคค วามรูจากงานวจิ ัยโครงการวจิ ัยยอ ยที่ 3 29
5. องคค วามรูจากงานวิจยั โครงการวจิ ัยยอยท่ี 4
6. องคค วามรูจ ากงานวิจยั โครงการวจิ ัยยอยท่ี 5
1
ป ร ะ วั ติ ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้
Super Farm Model
ป ร ะ วั ติ ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้
Super Farm Model
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ มเี ขตพนื ที
บรกิ ารทางวชิ าการทสี าํ คญั อยู่ในบรเิวณสจี งั หวดั หลกั ตามพนื ทบี รกิ ารทมี หาวทิ ยาลยั
มที ตี งั ได้แก่เขตจงั หวดั กรุงเทพมหานคร จงั หวดั ปทุมธานี จงั หวดั สระแก้ว และ
จงั หวดั อุทยั ธานี ทางมหาวิทยาลยั ได้มคี วามร่วมมอื กบั ทางภาครฐั หน่วยงาน
ปกครองส่วนท้องถนิ ภาคเอกชน รวมถงึ ภาคประชาสงั คม ประชาชน ในการรบั ฟั ง
ปญั หาทเี กิดขนึ เพอื นําปญั หาทเี ป็นความต้องการจากชุมชนเพอื มาแก้ไขปญั หา
ดงั กล่าว การวจิ ยั ครงั นไีด้ดาํ เนนิ การในเขตพนื ทจี งั หวดั สระแกว้
ปญั หาทเีกดิ ขนึ ภายในจงั หวดั สระแก้วและถูกสงั สมมาหลายปี คอื ปญั หาทาง
สงิ แวดลอ้ มทเีกดิ จากการปล่อยมลพษิ จากการเผาในไร่อ้อยก่อนการเกบ็ เกยี ว (อ้อย
ไฟไหม)้ ใบอ้อยแหง้ เป็นเชอื เพลงิ อย่างดี ส่งผลให้เกดิ ความร้อนสูง เกดิ เขม่าควนั และ
ฝุ่นละอองขนาดเลก็ ซงึ สามารถลอยตวั กระจายในอากาศได้สูงถงึ 2,250 เมตร และ
กระจายไปไดไ้ กลถงึ 16 กโิลเมตร ทาํ ให้เกดิ มลภาวะทางอากาศ และความราํ คาญใหก้ บั
ประชาชนส่งผลให้เกดิ ปญั หาทางสงั คมตามมา
2
สาเหตุหลกั ในการเผาใบอ้อยก่อนการเกบ็ เกยี วเนอื งจาก ใบอ้อยเป็นอุปสรรค
ในการเกบ็ เกยี ว เพราะมคี วามแหลมคม ทาํ ให้แรงงานไม่สามารถตดั อ้อยได้สะดวก จงึ
ทาํ การเผาใบออ้ ยเพอื ทาํ การเกบ็ เกยี วผลผลติ ได้สะดวกขนึ
ในปจั จุบนั ทงั ภาครฐั หน่วยงานต่างๆ รวมถงึ โรงงานนาํ ตาลส่งเสริมให้
เกษตรกรลดการเผาในไร่อ้อยโดยมาตรการต่างๆ เช่น การส่งเสริมให้ใช้
เครอื งจกั รกลในการเกบ็ เกยี ว เนอื งจากปญั หาการขาดแคลนแรงงาน การกาํ หนด
ราคารบั ซืออ้อยไฟไหม้ในราคาทตี ํา และการส่งเสริมในการรบั ซือใบอ้อยเพอื ทํา
เชอื เพลงิ ในโรงงานนาํ ตาล
อย่างไรกต็ าม เกษตรกรยงั มคี วามจาํ เป็นต้องเผาในบางพนื ทเีนอื งจาก
เป็นพนื ทลี าดชนั ทเี ครืองจกั รขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้าถงึ ได้ อ้อยทลี ้มไม่สามารถใช้
เครอื งจกั รในการเกบ็ เกยี วได้ และปญั หารถเกบ็ อดั ใบอ้อยมรี าคาแพง ในการซ่อมแซม
รถเกบ็ อดั ใบอ้อยทตี ้องสงั ซอื อะไหลจ่ ากต่างประเทศในราคาทแี พงเช่นกนั
3
นอกจากปญั หาทางด้านสงิ แวดล้อมแล้ว ยงั มี ปญั หาทางด้านเศรษฐกจิ
โดยราคาผลผลติ อ้อยตกตาํ และราคาต้นทุนการผลติ ทสี ูงขนึ เช่น ราคาปุ๋ย ราคา
นาํ มนั ราคาค่าแรง และผลผลติ มคี วามเสยี หายจากสภาพอากาศแปรปรวน ทาํ ให้ฝน
ไม่ตกตามฤดูกาล เกดิ ปญั หานาํ แลง้ ในบางพนื ที และนาํ ท่วมในบางพนื ที ทาํ ให้เกษตรกร
ชาวไร่อ้อยมรี ายได้ลดลง แต่มรี ายจา่ ยเพมิ มากขนึ ส่งผลให้เกษตรกรหลายราย เลกิ
การทาํ ไร่อ้อย หนั ไปปลูกพชื ชนดิ อนื แทน เช่น มนั สําปะหลงั อนิ ทผลมั ยูคาลปิ ตสั
พนื ทปี ลูกอ้อยจงึ มแี นวโน้มลดลง ดงั นนั ผลกระทบทตี ามมา คอื ผลผลติ อ้อย
ลดลงทาํ ให้ราคานาํ ตาลเพมิ สูงขนึ ส่งผลกระทบต่อผูบ้ รโิ ภคนาํ ตาล
4
จากประเดน็ ปญั หาทผี ูว้ จิ ยั ได้รบั และจากการศกึ ษาเพมิ เตมิ ทาํ ให้คณะผูว้ จิ ยั จงึ
เลง็ เหน็ ความสาํ คญั ของปญั หาดงั กลา่ วทมี ผี ลกระทบต่อสุขภาวะชุมชน ผลผลติ ตกตาํ
เนอื งจากปจั จยั การผลติ ทไี ม่เหมาะสม ขยะจากวสั ดุเหลอื ทงิ จากอ้อย และรายได้ไม่
แนน่ อน ดงั นนั การวเิคราะห์ปจั จยั ทเีหมาะสมต่อการเพาะปลูกอ้อยและวธิ กี ารเกบ็ เกยี วที
ลดปญั หามลพษิ สงิ แวดลอ้ ม การสร้างจติ สาํ นกึ ทดี ใี นการทาํ การเกษตรแบบ การนาํ
วสั ดุเหลอื ทงิ จากอ้อยมาใช้ประโยชน์ และการพฒั นานวตั กรรม จงึ เป็นแนวทางหนงึ ใน
การแก้ปญั หาและเพมิ ขดี ความสามารถของชุมชนท้องถนิ ในการพฒั นาพงึ ตนเองและ
จดั การตนเองบนฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกดิ เป็นนวตั กรรมชุมชนเพอื ยกระดบั
รายได้ให้กบั ชุมชน และชุมชนนวตั กรรมมคี วามสามารถในการพงึ ตนเองและจดั การ
ตนเอง เพอื นาํ ไปสู่สงั คมคาร์บอนตาํ
5
ดงั นนั จงึ เป็นทมี าของการจดั ทาํ โครงการวจิ ยั หวั ข้อเรือง “การพัฒนาและ
ส่งเสริมพชื พลังงานเพอื เศรษฐกิจหมุนเวียน จังหวัดสระแก้ว” เพอื แก้ไขปญั หา
ดงั กลา่ ว โดยประกอบด้วยโครงการย่อย จาํ นวน 5 โครงการ ได้แก่
1 นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การระบบการเพาะปลูกและเกบ็ เกยี วอ้อยจงั หวดั สระแกว้
2 นวตั กรรมการขนึ รปู ผลติ ภณั ฑ์ทใีช้ในครวั เรอื นอย่างงา่ ยจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
3 การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทเีป็นมติ รกบั สงิ แวดลอ้ มจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
4 การพฒั นาพลงั งานทางเลอื กจากวสั ดุเหลอื ใชจ้ ากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
5 การพฒั นารูปแบบการจดั การ “ไร่อ้อยอนิ ทรยี ์ต้นแบบ”
6
ศูนย์การเรยี นรู้ Super Farm Model เป็นส่วนหนงึ ของ
โครงการวจิ ยั ย่อยที 5 เป็นโครงการวจิ ยั ปลายนาํ ทรี วบรวมองค์ความรู้จาก
โครงการวจิ ยั ต้นนาํ ทงั 4 โครงการยอ่ ย มาถ่ายทอดสู่เกษตรกรชาวไร่ออ้ ย
“Super Farm Model” คอื Sugarcane in high
Performance Farm Model ซงึ เป็นการรวบรวมองค์ความร้ใู นการ
จดั การเศษวสั ดุจากการทาํ ไร่อ้อยโดยใช้หลกั การเศรษฐกจิ หมุนเวยี น (Circular
Economy) เพอื ทาํ ให้เศษวสั ดุทมี รี าคาตาํ เป็นผลติ ภณั ฑ์ทมี มี ูลค่าสูงขนึ เป็น
แรงจูงใจในการนาํ มาใช้ประโยชน์สร้างรายได้ ลดการเผาในไร่อ้อย นาํ ไปสู่การทาํ ไร่อ้อย
คาร์บอนตํา เนอื งจากลดการเผาทมี กี ารปลดปล่อยฝุ่นละอองและก๊าซชนดิ ต่างๆ
รวมถงึ ก๊าซเรอื นกระจกทสี ่งผลใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อนและสภาพภูมอิ ากาศแปรปรวน ลด
ปญั หาทางสงิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม
7
ศูนย์การเรยี นรู้ Super Farm Model ได้รบั ความร่วมมอื จาก
สมาคมชาวไร่อ้อยวงั นาํ เยน็ อาํ เภอวงั นาํ เยน็ จงั หวดั สระแก้ว ในการจดั ตงั ศูนย์การ
เรยี นรู้ ตงั แต่ปี พ.ศ. 2564 พธิ เี ปิดอย่างเป็นทางการโดยนายกสมาคมชาวไร่อ้อย
วงั นาํ เยน็ นางอโนทยั เนยี มสาํ โรง วนั ที 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
การอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้มกี ารจดั แบบ online และ on-site
เพอื ให้ผูท้ สี นใจได้เขา้ ร่วมอบรมแบบ new normal ในสภาวะทยี งั คงมกี ารแพร่
ระบาดของเชอื ไวรสั โคโรน่า (Covid-19) โดยได้รบั ความสนใจจากเกษตรกร
ชาวไร่อ้อยเป็นอย่างมาก
8
2
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 1
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 1
1 นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การระบบการเพาะปลูกและเกบ็ เกยี วอ้อยจงั หวดั สระแก้ว
การวเิ คราะห์คุณภาพดนิ ในแปลงเพาะปลูกอ้อย บรเิ วณพนื ทอี าํ เภอวงั นาํ เยน็
จงั หวดั สระแกว้ เพอื พจิ ารณาความเหมาะสมในการปลูกอ้อย และความเป็นพษิ จากโลหะ
หนกั ในดิน พบว่า คุณสมบตั ขิ องดนิ มคี วามเหมาะสมต่อการปลูกอ้อย โดยมคี ่า
ความชนื น้อย มคี วามเป็นกรดเลก็ น้อย ไม่เคม็ มรี ะดบั ปริมาณอนิ ทรยี ์วตั ถุในดนิ ตาํ
ปรมิ าณในโตรเจนในดนิ ตาํ ปรมิ าณฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี มสูง และมรี ะดบั สารโลหะ
หนกั ทมี คี วามเป็นพษิ ในดนิ อยู่ในระดบั ตาํ กว่าเกณฑ์มาตรฐานซงึ มคี วามปลอดภยั ใน
การนาํ ผลผลติ จากการเกษตรบรเิ วณนมี าบรโิ ภค
นอกจากนี ยงั มกี ารวเิ คราะห์คุณภาพนาํ และวเิ คราะห์ปรมิ าณธาตุอาหารและ
การสะสมสารพษิ ในอ้อย พบว่า มคี วามเหมาะสมและปลอดภยั ต่อผูบ้ รโิ ภค
10
เครอื งสางใบอ้อยแบบขบั เคลอื นด้วยตวั เอง ความสามารถในการทาํ งานจรงิ ที
เกยี ร์เดนิ หน้าความเรว็ รถ 3 กโิ ลเมตรต่อชวั โมง ทคี วามเร็วรอบของเครอื งยนต์
3,000 รอบต่อนาที ความเร็วรอบของเพลาลูกสาง 1,000 รอบต่อนาที ทาํ ให้
ความสามารถในการทาํ งานจรงิ เท่ากบั 1.406 ไร่ต่อชวั โมง
นวตั กรรมเครอื งสางใบอ้อยสามารถช่วยแก้ปญั หาการขาดแคลนแรงงาน โดย
กาํ จดั ใบอ้อยออกก่อนตดั ทาํ ใหเ้ กบ็ เกยี วได้งา่ ยขนึ ช่วยลดการใชเ้ ชอื เพลงิ ในเครอื งจกั ร
ขนาดใหญ่ซงึ ต้องใชง้ าน จาํ นวน 3 เครอื ง ได้แก่ เครอื งตดั อ้อย เครอื งกวาดใบอ้อย
และเครอื งอดั ใบอ้อย ซงึ มตี ้นทุนในการลงทุน และการบาํ รุงรกั ษาทสี ูง งานวจิ ยั นชี ่วย
ลดการใช้พลงั งานจากเชอื เพลงิ และช่วยลดการปล่อยคาร์บอนจากการเผาไหม้
เชอื เพลงิ อกี ด้วย
11
12
3
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 2
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 2
2 นวตั กรรมการขนึ รปู ผลติ ภณั ฑ์ทใีชใ้ นครวั เรอื นอย่างงา่ ยจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
นวตั กรรมการขนึ รูปผลติ ภณั ฑ์ทใี ช้ในครวั เรอื นอย่างง่ายจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทาง
การเกษตรเป็นการนาํ ใบอ้อยมาทาํ ผลติ ภณั ฑ์ทเี ป็นความต้องการของเกษตรกรชาวไร่
อ้อยในการเพมิ มูลค่าใบอ้อย ในปจั จุบนั มกี ารขายใบอ้อยเพอื เป็นพลงั งานเชอื เพลงิ ใน
โรงงานอ้อยในราคาถูก เนอื งจากใบอ้อยเป็นวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
โคมไฟจากใบออ้ ยมคี ุณสมบตั พิ เิศษในการทนความร้อนได้ดี มคี วามโปร่งแสง และ
มลี วดลายในตวั ซงึ สามารถนาํ มาตกแต่งเพมิ เตมิ ด้วยการเจาะเป็นรูปต่างๆ และสามารถ
ลงสไีดง้ า่ ย ซงึ ใช้วสั ดุอุปกรณ์ และมขี นั ตอนการทาํ ดงั นี
วสั ดุ: วสั ดุและอุปกรณ์
1. ใบอ้อย 2. โซดาไฟ 3. นาํ
4. โซเดยี มไฮดรอกไซด์เขม้ ขน้ 10%
อุปกรณ์:
1. กรรไกร 2. เครอื งปนั 3. หมอ้ ต้ม
4. กระชอน 5. ตะแกรง 6. มุง้ ลวด
7. เครอื งขนึ รปู โคมไฟ 8. สอี ะครลิ คิ
14
ขนั ตอนการทาํ โคมไฟจากใบออ้ ย
1. เกบ็ ใบออ ยจากไรอ อ ย
2. คดั แยกใบออ ยและกา น
3. ดดั ยอ ยใบออ ยและกาน
4. ตม ในโซดาไฟ 10%
5. ลา งใหสะอาดและกรอง
6. ตากแหง
7. ขนึ้ รปู ดวยเครอ่ื งขน้ึ รปู
15
16
4
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 3
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 3
3 การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทเีป็นมติ รกบั สงิ แวดลอ้ มจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทเีป็นมติ รกบั สงิ แวดลอ้ มจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
ทาํ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทใีชส้ าํ หรบั วสั ดุก่อสร้าง โดยสามารถใช้ทงั ใบอ้อยและชานอ้อยใน
การทาํ คอนกรตี บลอ็ กอย่างง่าย แต่มคี วามคงทนแขง็ แรงมกี ารทดสอบตามมาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑ์ มอก. 58 ซงึ มคี ุณสมบตั พิ เิศษในการดูดซบั เสยี งได้ดี จากการเตมิ เศษยาง
รถลงไปในส่วนประกอบ ซงึ ใชว้ สั ดุอุปกรณ์ และมขี นั ตอนการทาํ คอนกรตี บลอ็ ก ดงั นี
วสั ดุ: วสั ดุและอุปกรณ์
1. ชานอ้อย 2. เศษยางในรถยนต์ 3. นาํ
4. โซเดยี มไฮดรอกไซด์เขม้ ขน้ 10% 5. ปูนซเีมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที 1
6. หนิ ฝ่ ุน 7. นาํ มนั
อุปกรณ์:
1.ถาดรองอบ 2.ภาชนะใส่นาํ 3. กระบะผสมปูน 4.โหลแกว้ 5.แปรงทานาํ มนั
6. เครอื งชงั แบบละเอยี ด 7. เกรยี ง 8.แมพ่ มิ พค์ อนกรตี บลอ็ กแบบตาํ มอื
9. อ่างบ่มคอนกรตี 10. ตู้อบควบคุมอุณหภูมิ 11. เครอื งปนั
18
เตรยี มเส้นใยชานอ้อย
1. ลางนา้ํ สะอาด
2. ตากแดดใหแหง
3. บรรจใุ สถ ุง
4. ตดั เปนช้นิ เลก็ ๆ
ประมาณ 2 เซนติเมตร
19
การปรบั ปรงุ เสน ใยธรรมชาตดิ ว ย
โซเดยี มไฮดรอกไซด
5. เสน ใยชานออย 100 กรมั
6.แชโ ซเดยี มไฮดรอกไซด
เขม ขน 10% โดยนา้ํ หนกั
เปน เวลา 24 ช่ัวโมง
7. ลางใหส ะอาด
8. อบแหง ทอี่ ณุ หภูมิ 80
องศาเซลเซยี ส 24 ชัว่ โมง
20
เตรยี มเศษยาง
9. ลา งนา้ํ สะอาด
10. ตดั เปน ช้นิ เลก็ ๆ
ประมาณ 2 เซนตเิ มตร
21
การเตรยี มสวนผสมข้นึ รูป
คอนกรีตบลอ็ ก
11. ทานํ้ามนั แบบพมิ พ
คอนกรตี
12. ผสมแหงสว นผสมหนิ
ฝนุ ปูน ชานออย 1%
เศษยาง 3% โดยนํา้ หนกั
13. เตมิ น้ําทลี ะนอยๆ
จนสว นผสมเขากนั
14. กรอกสว นผสมลงแบบพมิ พ
อัดใหแนน และปาดใหเรียบ
22
15. ถอดแบบพมิ พคอนกรีต
บลอ็ ก เมือ่ แหง
16. แชน า้ํ 14 วนั
17. ตากแดดใหแหง
18. ผลิตภณั ฑอ ฐิ บล็อก
มาตรฐาน มอก. 58 ดดู ซับ
เสยี งไดด ี
23
24
5
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 4
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 4
4 การพฒั นาพลงั งานทางเลอื กจากวสั ดุเหลอื ใชจ้ ากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
งานวจิ ยั นมี วี ตั ถุประสงค์เพอื ศกึ ษาศกั ยภาพการเพาะปลูกพชื พลงั งาน
ทดแทนและพฒั นาพลงั งานทางเลอื กจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร จดั ทาํ ต้นแบบ
การผลติ พลงั งานทางเลอื ก คอื ก๊าซชวี ภาพจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
สาํ หรบั ชุมชน และวเิ คราะห์ต้นทุนและความคุ้มค่าของโครงการผลติ พลงั งาน
ทางเลอื กจากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตรสาํ หรบั ชุมชน ซงึ การผลติ ก๊าซชวี ภาพจาก
วสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตรนนั นาํ ไปสู่การบูรณาการการพฒั นาเศรษฐกจิ ทงั 3 มติ ิ
คือ 1) เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เป็ นการมุ่งเน้นการใช้
ทรพั ยากรชวี ภาพอย่างคุ้มค่า สร้างมูลค่าเพมิ ใหก้ บั ทรพั ยากรชวี ภาพ นนั คอื การ
สร้างมูลค่าให้ใบอ้อย ทดแทนการเผาในไร่ อ้อย 2) เศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy) เป็นการนาํ ทรพั ยากรกลบั มาใช้ประโยชน์ เพอื ไม่ให้
เกดิ การขาดแคลน และสร้างมูลค่าเพมิ ซงึ ในงานวจิ ยั นถี อื ได้ว่าสามารถเพมิ มูลค่าใบ
อ้อยทีเป็นวสั ดุเหลือทิงทางการเกษตรได้เป็ นอย่างดี และเศรษฐกิจสีเขียว
(Green Economy) นนั เป็นการลดก๊าซเรอื นกระจก และยกระดบั คุณภาพ
ความเป็นอยู่ ลดความเสยี งทางด้านสงิ แวดล้อม ซงึ ในงานวจิ ยั นสี ามารถลดได้
เนอื งจากเมอื ใบอ้อยมมี ูลค่าเพมิ และสามารถผลติ พลงั งานทดแทน พร้อมทงั นาํ ไปใช้
ในครวั เรอื นได้ (รูปที ) จงึ ทาํ ให้ลดการเผาไร่อ้อยทกี ่อให้เกดิ ปญั หาสําคญั คอื
มลพษิ ทางอากาศได้เป็นอย่างดี นาํ ไปสู่การนาํ องค์ความรู้ทไี ด้จากงานวจิ ยั ไปต่อ
ยอดความเข้มแขง็ ของประเทศ เป็นการพฒั นาอย่างยงั ยนื ในระดบั ชุมชน และสามารถ
ขยายผลต่อไปในระดบั ทใีหญ่ขนึ
26
Bio Circular
economy economy
Green
economy
การพฒั นาพลงั งานทางเลอื กจากวสั ดุเหลอื ใชจ้ ากวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตร
ใช้ใบอ้อยผสมมูลววั ในอตั ราส่วน 1:1 ในการหมกั ก๊าซชวี ภาพ ทาํ การปรบั สภาพ
ทางกายภาพเพอื ให้ใบอ้อยมขี นาดเลก็ ลง และมกี ารเตมิ แคลเซียมคาร์บอเนต
(CaCO3) 16 กรมั ต่อลติ ร เพอื รกั ษาค่าpH และสภาพด่างในระบบให้
เหมาะสมสําหรบั จุลนิ ทรีย์ภายในระบบ โดยสามารถรกั ษาสภาพด่างให้อยู่ในช่วง
1,480 ถงึ 4,640 mg CaCO3 L-1 และค่า pH มคี ่าอยู่ในช่วง 6.95
ถงึ 7.15 ซงึ เป็นค่า pH ทเีหมาะสมสาํ หรบั การทาํ งานของจุลนิ ทรยี ์
การทดสอบศกั ยภาพการผลติ แก๊สชวี ภาพจากการหมกั ร่วมระหว่างใบอ้อย
และมูลววั พบว่า เปอร์เซน็ ต์มเี ทนสูงสุด มคี ่า 65.11% ± 0.30% ปรมิ าณก๊าซ
ชวี ภาพรวมสะสมทงั หมดสูงสุด คอื 1,978 ± 3.54 มลิ ลลิ ติ ร และปริมาณ
มลิ ลลิ ติ รมเีทนสะสมทงั หมด 1,148 ± 5.00 มลิ ลลิ ติ ร ตามลาํ ดบั จากงานวจิ ยั นี
แสดงใหเ้ หน็ ว่าการนาํ ใบอ้อยหมกั ร่วมกบั มูลววั สามารถผลติ ก๊าซชวี ภาพได้เป็นอย่างดี
ดงั นนั ใบอ้อยซงึ เป็นวสั ดุเหลอื ทงิ ทางการเกษตรสามารถเป็นวสั ดุสาํ หรบั การผลติ
พลงั งานทางเลอื กในชุมชน
19
28
6
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 5
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ง า น วิ จั ย
โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ย่ อ ย ที 5
5 การพฒั นารูปแบบการจดั การ “ไร่ออ้ ยอนิ ทรยี ์ต้นแบบ”
การพฒั นารูปแบบการจดั การ “ไร่อ้อยอนิ ทรยี ์ต้นแบบ” ทาํ การรวบรวมองค์
ความรู้ของนกั วจิ ยั ทุกโครงการย่อย นาํ ไปถ่ายทอดสู่กลุ่มเกษตรกรชาวไร่อ้อย ผา่ นการ
จดั ตงั ศูนย์การเรียนรู้ Super Farm Model ซงึ ย่อจาก
Sugarcane in high Performance Farm Model
เพอื ให้ประชาชนทุกเพศทุกวยั ได้เรยี นรู้ โดยมผี ูช้ ่วยวจิ ยั ซงึ เป็นเกษตรกรชาวไร่อ้อยและ
ดาํ รงตาํ แหน่งเลขาธกิ ารสมาคมชาวไร่อ้อยช่วยในการถ่ายทอดต่อเพอื ความยงั ยนื ของ
โครงการ โดยมรี ายละเอยี ดประวตั คิ วามเป็นมาของการจดั ตงั ศูนยก์ ารเรยี นร้ใู นบทที 1
30
31
Super Farm Model
มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถมั ภ
เชขที่ 1 หมูท่ี 20 ถนนพหลโยธนิ ตําบลคลองหนึง่ อาํ เภอคลองหลวง จัวหวัดปทุมธานี 13180
เบอรโ์ ทรตดิ ตอ่ : 0-2529-3850 ตอ่ 161