รัฐทวารวดี
ผู้สอน นางสาวพรสุดา จันทร์แสนตอ
• รัฐทวารวดีปรากฎในบันทึกของ
หลวงจีนเหี้ยนจาง โต-โล-โป-จี้
ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง
• ตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร
และอาณาจักรอิศานปุระ
ทวารวดีเป็นชื่ อที่ใช้เรียกอาณาจักรทางแถบ
ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง เป็นอาณาจักรที่
ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ล วั ฒ น ธ ร ร ม จ า ก ศ า ส น า พ ร า ห ม ณ์
จ า ก อิ น เ ดี ย เ ป็ น แ ห ล่ ง ชุ ม ช น ข น า ด ใ ห ญ่ มี
เมืองนครปฐม เป็นศูนย์กลาง หลวงจีนอี้จิง
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ
พระเหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง
ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเอดส์
สมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ
เป็นบุคคลกลุ่มแรกที่กำหนดชื่อดินแดนที่เมืองโบราณ
รวมทั้งศิลปกรรมดินแดนแห่งทวารวดี
พงศาวดารจีนสมัยราชวงศ์ฮั่น ได้กล่าวถึงดินแดน
แห่งนี้ว่า สามารถเดินเรือจากเมืองกวางตุ้งถึง
อาณาจักรทวารวดี
ขุดค้นทางโบราณคดีที่เมืองนครชัยศรี รัฐทวารวดี
จังหวัดนครปฐม ได้พบหลักฐาน
สมัยทวารวดีจำนวนมาก เช่น
ธรรมจักรศิลา พระพุทธรูปศิลาขาว
ขนาดใหญ่ นั่งประทับนั่งห้อยพระบาท
พบเหรียญจารึกภาษาสันสกฤต
" ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ “
แปลว่า การบุณย์ของพระเจ้าศรีทวารวดี
รัฐทวารวดี
อ า ณ า จั ก ร ท ว า ร ว ดี ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ปึ ก เ เ ผ่ น ไ ม่ มี ก ษั ต ริ ย์
ที่เข้มแข็งเป็นศูนย์อำนาจ แต่เป็นการอยู่แบบ
" บ้านใครบ้านมัน ’’
ความเจริญรุ่งเรืองของทวารวดี
หลังพ.ศ.1100 บริเวณที่ราบสูงโคราช ทิวเขาพนมดงรัก
และย่านโขงชีมูล ค่อยๆรับวัฒนธรรมทวารวดี
ทำให้ทวารวดีเจริญรุ่งเรือง เพราะได้รับอารยธรรมอินเดียทำให้
มีการติดต่อค้าขายกับอินเดีย ที่แพร่ผ่านเมืองใกล้ทะเลเข้ามา
ทวารวดีได้รับอิทธิพลจากอินเดียหลายอย่าง
เช่น ด้านการปกครองรับความเชื่อเรื่อง
การปกครองโดยกษัตริย์ สันนิษฐานว่าการ
ปกครองทวารวดีแบ่งเป็นแคว้น มีเจ้านายปกครอง
ตนเอง การแบ่งชนชั้นในสังคม เป็นต้น
รัฐทวารวดีได้รับอิทธิพลทางด้านศาสนาจาก
อินเดีย ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และ
พระพุทธนิกายเถรวาท จึงกลายเป็นอาณาจักร
ชาวพุทธ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ชุมชนเมืองสมัยทวารวดีภาคเหนือ
พบที่เมืองจันเสน เมืองบึงโคก เมืองศรีเทพ เมืองหริภุญชัย และเมืองบน
ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ท า ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ที่
สำ คั ญ ใ น ส มั ย ท ว า ร ว ดี
คือ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
พระปฐมเจดีย์
จ.นครปฐม
หลักฐานประติมากรรม และปฎิมากรรม
เจดีย์วัดกู่กุด จ.ลำพูน ธรรมจักรและกวางหมอบ
พบที่พระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม
สภาพสังคมทวารวดี
ไม่เป็นอาณาจักร คงเป็นเมืองต่างๆซึ่งพัฒนา
ขยายตัวจากสังคมครอบครัวและสังคมหมู่บ้าน
เป็นชุมชนเล็กๆล้อมรอบ มีหัวหน้าปกครอง
เศรษฐกิจของอาณาจักรทวารวดี
ป ร ะ ช า ช น ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง เ ก ษ ต ร
เ ลี้ ย ง สั ต ว์ แ ล ะ ง า น ฝีื มื อ ต่ า ง ๆ
เ ป็ น แ ห ล่ ง ที่ มี ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์
ใ น บ ริ เ ว ณ ลุ่ ม แ ม่ น้ำ สำ คั ญ
•เทคโนโลยีก้าวหน้าจากการจัด
ระบบชลประทานทั้งภายในและ
ภายนอกเมือง มีการขุดคลอง
สระน้ำทำให้ถ่ายทอดสู่สมัย
ลพบุรีและสมัยอาณาจักรสุโขทัย
การคมนาคม
มีการสัญจรทางน้ำและทางบก
ร่องรอยของคันดินซึ่งสันนิษฐาน
ว่าเป็นถนนเชื่อมระหว่างเมือง
การแต่งกายทวารวดี
•ผู้ชายผมยาวมุ่นเป็นมวย และมี
เครื่องประดับศีรษะนุ่งผ้า
•ผู้หญิงไว้ผมยาว เกล้าผม ไว้กลาง
3 กระหม่อมเครื่องประดับคล้ายกับ
ผู้ชาย
ความเสื่อม
อ า ณ า จั ก ร ท ว า ร ว ดี มี ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง
ประมาณ200 ปีจึงค่อยๆเสื่อมลง พวกขอมคณะนั้น
เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ก็ ถื อ โ อ ก า ส ตี เ มื อ ง ท ว า ร ว ดี
อิ ท ธิ พ ล ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร
เ ผ ย แ พ ร่ เ ข้ า ม า ยั ง ภ า ค ก ล า ง
ทำ ใ ห้ ท ว า ร ว ดี ที่ เ ค ย เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง
ถู ก เ ข ม ร ค ร อ บ งำ จ น ล่ ม ส ล า ย ล ง
สิ้ น สุ ด อ า ณ า จั ก ร ท ว า ร ว ดี
ปัจจุบันร่องรอยเมืองโบราณ รวมทั้งศิลปะโบราณ
วั ต ถุ จ า รึ ก ต่ า ง ๆ ใ น ส มั ย ท ว า ร ว ดี พ บ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก
ม า ก ม า ย แ ล ะ พ บ ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค
ภาคเหนือที่ อ.สังคโลก จ.สุโขทัย อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบทุกจังหวัด ในแต่ละจังหวัดพบ
มากกว่า 1 แห่งขึ้นไป
ภาคตะวันออก จ.ปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว และชลบุรี
แม่น้ำป่าสัก แม่น้ำเจ้าพระยา
ภาคใต้ จ.ปัตตานี แม่น้ำท่าจีน
ภ า ค ก ล า ง ก ร ะ จ า ย อ ยู่ ภ า ค
ก ล า ง ก ร ะ จ า ย อ ยู่ แ ม่ น้ำ แม่น้ำแม่กลอง
สำ คั ญ ต่ า ง ๆ
แม่น้ำเพชรบุรี แม่น้ำท่าจีน
แม่น้ำแม่กลอง แม่น้ำป่าสัก
แ ม่ น้ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า
สรุป
อาณาจักรทวารวดีตั้งขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่
11 ศูนย์กลางอาณาจักรทวารวดียังไม่สามารถสรุปได้
ชัดเจน แต่สันนิษฐานว่าอาจอยู่ที่นครปฐม ราชบุรี หรือ
สุพรรณบุรี เนื่องจากทั้ง 3 แห่งนี้มีซากเมืองโบราณ
โบราณสถาน โบราณวัตถุแบบทวารวดีเหมือนๆ กัน
สรุป
อ า ณ า จั ก ร ท ว า ร ว ดี เ ริ่ ม เ สื่ อ ม อำ น า จ ล ง ตั้ ง แ ต่
พุทธศตวรรษที่ 16 เมื่ออาณาจักรขอมเริ่ม
ข ย า ย อำ น า จ เ ข้ า ม า ศิ ล ป ก ร ร ม ที่ จั ด เ ป็ น ศิ ล ป ะ
ส มั ย ท ว า ร ว ดี ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า