The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียน เรื่อง องค์ประกอบของระบบนิเวศ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุลดา ศรีเชียงสา, 2023-09-25 03:40:32

องค์ประกอบของระบบนิเวศ

หนังสือเรียน เรื่อง องค์ประกอบของระบบนิเวศ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Keywords: ระบบนิเวศ,องค์ประกอบของระบบนิเวศ,ECOSYSTEM COMPONET,ECOSYSTEM,วิทยาศาสตร์

2023 วิทวิยาศาสตร์แร์ละเทคโนโลยี องค์ปค์ ระกอบของระบบนิเ นิ วศ ECOSYSTEM COMPONET สุลสุดาศรีเรีชียชีงสา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1


ECOSYSTEM COMPONET


คำ นำ E-book เรื่อง องค์ประกอบของระบบนิเวศ (ecosystem componet) เล่มนี้ จัดทำ ขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมี เนื้อหาประกอบไปด้วยองค์ประกอบของระบบนิเวศที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเพื่อให้นักเรียนสามารถ อธิบายมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศได้ ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า E-book จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่กำ ลังศึกษาเนื้อหา เรื่อง องค์ประกอบของระบบนิเวศ (ecosystem componet) และ ช่วยให้นักเรียนสามารถ เรียนรู้อย่างเข้าใจและเป็นสื่อการเรียนที่ดีเพื่อช่วยให้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นงสาวสุลดา ศรีเชียงสา ผู้จัดทำ


จุดประสงค์การเรียนรู้ องค์ประกอบของระบบนิเวศ องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต แบบฝึกหัด เฉลยแบบฝึกหัด เอกสารอ้างอิง ประวัติผู้จัดทำ องค์ประกอบที่มีชีวิต อนินทรีสาร อินทรีสาร สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ สารบัญ CONTENTS 01 02 03 07 12 14 15 16


จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ ที่ได้จากการสำ รวจ 01 สำ รวจและบอกลักษณะทางกายภาพและชีวภาพของ ระบบนิเวศภายในโรงเรียน 02 จำ แนกองค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการ สำ รวจ 03 01


องค์ประกอบของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (ecosystem) สภาพแวดล้อมบนโลกในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน บางพื้นที่มีสภาพ เป็นป่าไม้ บางพื้นที่มีสภาพเป็นทะเลทราย บางพื้นที่ มีสภาพเป็นทะเล หรือบางพื้นที่มีสภาพเป็นภูเขา ซึ่ง ในแต่ละพื้นที่ จะพบทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ มาอาศัยอยู่รวมกันเป็น ระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมบนโลกมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู่ตลอด เวลา บางบริเวณเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จึงไม่ส่งผลก ระทบต่อความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต แต่บางบริเวณเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันและรุนแรง อาจส่งผล กระทบต่อ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีอิทธิพลต่อสมดุลของระบบนิเวศ ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีอิทธิพลต่อสมดุล ของระบบนิเวศ 02


เป็นแก๊สที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจ ของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปสิ่งมีชีวิตจะหายใจเอา แก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย ยกเว้นแบคทีเรียบางชนิด แล้วปล่อย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลับคืนสู่ สิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันพืชจะนำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนออกทางปากใบ นอกจากนี้ พืชบางชนิดอาศัยแบคทีเรียช่วยตรึง แก๊ส ไนโตรเจนในบรรยากาศให้กลายเป็นสารประกอบไนโตรเจน เพื่อให้พืชสามารถนำ ไปใช้ประโยชน์ได้ พืชและสัตว์แต่ละชนิดมีความต้องการแร่ธาตุต่าง ๆ ในปริมาณที่แตกต่างกัน เช่น พืช ต้องการธาตุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ในปริมาณมาก ในขณะที่ธาตุแคลเซียม แมกนีเซียม กำ มะถัน เป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่ขาดไม่ได้ หากขาดแร่ธาตุเหล่านี้ พืชจะเป็นโรคและตายในที่สุด แร่ธาตุ 1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic component) เป็นส่วนที่ทำ ให้ระบบนิเวศเกิดความสมดุล ซึ่งมีอิทธิพลต่อ การดำ รง ชีวิตและการกระจายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ หากขาดองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตเหล่านี้ สิ่งมีชีวิต จะไม่สามารถดำ รง ชีวิตอยู่ได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. อนินทรียสาร (inorganic substance) เป็นสารที่ได้จากธรรมชาติ มีดังนี้ แก๊สต่างๆ น้ำ เป็นปัจจัยกำ หนดสภาพแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ ลักษณะและชนิดของระบบนิเวศ สิ่งมี ชีวิต ทุกชนิดล้วนจำ เป็นต้องอาศัยน้ำ ในการดำ รงชีวิต เนื่องจากน้ำ เป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น ปลาอาศัยอยู่ในน้ำ ยุงใช้น้ำ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และสิ่งมีชีวิต ต้องการน้ำ เพื่อใช้อุปโภคและบริโภค 03


1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต อินทรียสาร (organic substance) เป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ซึ่งได้ จากการเน่าเปื่อยและผุพังของซากพืชซากสัตว์ แล้วทับถมกลายเป็นฮิวมัส 2. อินทรียสาร (organic substance) 04


ความเป็นป็กรด-เบสของดินดิและน้ำ สภาพความเป็นป็ กรด-เบสในดินดิหรือรืน้ำ แต่ลต่ะแห่งห่จะมีค่มีาค่ ไม่เม่ท่าท่กันกัขึ้น ขึ้ อยู่กัยู่ บกั ปริมริาณแร่ธร่าตุต่ตุาต่ง ๆ ที่อ ที่ ยู่ใยู่ นดินดิ โดยสิ่ง สิ่ มีชีมีวิชีตวิแต่ลต่ะชนิดนิ ต้อต้งอาศัยศัอยู่ใยู่ นสภาพที่มี ที่ คมีวามเป็นป็กรด-เบสที่เ ที่ หมาะสม จึงจึ จะดำ รงชีวิชีตวิอยู่ไยู่ด้ เช่นช่พืชพืส่วส่นใหญ่เญ่จริญริ ได้ดีด้ใดีนดินดิที่มี ที่ มี สภาพเป็นป็กลาง แสงสว่าง 1. องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต 3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment) ทำ ให้สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม และ มีอิทธิพลต่อการกระจายของสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเช่น แสงจากดวงอาทิตทิย์เย์ป็นป็แหล่งล่พลังลังานสำ คัญคัของโลก โดยพืชพืสามารถเปลี่ย ลี่ นพลังลังานแสง ให้กห้ลายเป็นป็พลังลังาน เคมีใมีนรูปรูของอาหารด้วด้ยกระบวนการสังสัเคราะห์ด้ห์วด้ยแสง และได้แด้ก๊สก๊ออกซิเซิจนซึ่ง ซึ่ จำ เป็นป็ต่อต่กระบวนการหายใจของ สิ่ง สิ่ มีชีมีวิชีตวินอกจากนี้ แสงยังยัเป็นป็ตัวตักำ หนดพฤติกติรรมของสิ่ง สิ่ มีชีมีวิชีตวิอีกอีด้วด้ย เช่นช่การหุบหุและบานของดอกไม้ การเปิดปิ- ปิดปิปากของใบพืชพื ความเป็นกรด-เบสของดินและน้ำ 05


ความเค็มของดินและน้ำ กระแสลม ความเค็มของดินและน้ำ ความเค็มมีอิทธิพลอย่างมากกับสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณผิวน้ำ ตัวอย่างเช่น ป่าชาย เลนเป็นบริเวณชายฝั่งทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดเวลา ในเวลาน้ำ ลงระดับความเค็มของดิน ในป่าชายเลน จะมากขึ้น และจะลดลงเมื่อมีน้ำ จากแม่น้ำ ไหลมาปะปนกับน้ำ ทะเล พืชที่เจริญในดินเค็มหรือ ดินที่มีค่าการนำ ไฟฟ้าของ สารละลายที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวด้วยน้ำ มากกว่า 2 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะส่งผลให้พืชมี ลำ ต้นแคระแกร็น ใบไหม้ และตายในที่สุด กระแสลม มีอิทธิพลต่อการผสมพันธุ์ของพืช การแพร่กระจายพันธุ์พืช และการคายน้ำ ของพืช ความชื้น อุณหภูมิ ความชื้น ชื้ เป็นป็ ปริมริาณไอน้ำ ที่มี ที่ อมียู่ใยู่ นอากาศ ซึ่ง ซึ่ แตกต่าต่งกันกัไปตามแต่ลต่ะพื้น พื้ ที่ข ที่ องโลก เช่นช่พื้น พื้ ที่ที่ ที่ อ ที่ ยู่ ในเขตร้อร้นจะมีคมีวามชื้น ชื้ สูงสูเนื่อ นื่ งจากเป็นป็บริเริวณที่มี ที่ มี ฝนตกชุกชุในขณะที่พื้ ที่ น พื้ ที่อ ที่ ยู่ใยู่ นเขตหนาวจะมีคมีวามชื้น ชื้ ต่ำ โดยความชื้น ชื้ มีผมีลต่อต่การระเหยของน้ำ ในร่าร่งกาย ของสิ่ง สิ่ มีชีมีวิชีตวิทำ ให้สิ่ห้ง สิ่ มีชีมีวิชีตวิมีกมีารปรับรัตัวตัเพื่อ พื่ รักรัษา สมดุลดุของน้ำ ภายในร่าร่งกาย เช่นช่กระบองเพชรใน ทะเลทรายลดรูปรูจากใบกลายเป็นป็หนาม อุณอุหภูมิภูมิเป็นป็ ปัจปัจัยจัที่ค ที่ วบคุมคุการเจริญริเติบติโต การสืบสืพันพัธุ์ และการแพร่กร่ระจายของสิ่ง สิ่ มีชีมีวิชีตวินอกจาก นี้ อุณอุหภูมิภูยัมิงยัมีผมีลต่อต่การปรับรัตัวตัทั้ง ทั้ ด้าด้นโครงสร้าร้งและ พฤติกติรรมของสิ่ง สิ่ มี สิงสิมีชีมีวิชีตวิเช่นช่การปรับรัตัวตัของสิ่ง สิ่ มี ชีวิชีตวิในทะเลทราย การจำ ศีลศีของ สัตสัว์บว์างชนิดนิในช่วช่งฤดู หนาว 06


7 2. องค์ประกอบที่มีชีวิต องค์ประกอบที่มีชีวิต (biotic component) ได้แก่ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศนั้น เช่น พืช จุลินทรีย์ สัตว์ โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นและสิ่งแวดล้อม จากภาพ จะเห็นว่า ป่าแอฟริกาใต้ประกอบ ไปด้วยองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตและองค์ประกอบที่มีชีวิต โดยองค์ประกอบที่มีชีวิตต่างมีบทบาทและหน้าที่ ที่แตกต่างกัน บางชนิดมีบทบาทเป็นผู้ผลิต บางชนิด มี บทบาทเป็นผู้บริโภค และบางชนิดมีบทบาทเป็น ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ 07


1. ผู้ผลิต (producer) คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถ สร้างอาหารเองได้ ได้แก่ พืชและจุลินทรีย์บางชนิด เช่น แพลงก์ตอนพืช ไซยาโนแบคทีเรีย ผู้ผลิตมี บทบาท สำ คัญมากต่อระบบนิเวศ ทำ หน้าที่เปลี่ยน พลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานเคมีใน รูปของอาหารด้วย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง แล้วถ่ายทอดพลังงาน ไปสู่ผู้บริโภคผ่านการกินกัน เป็นทอด ๆ 2. ผู้บริโภค (Consumer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ ไม่สามารถ สร้างอาหารได้เอง จําเป็นต้องมีการบริโภค สิ่งมีชีวิต ชนิดอื่น แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ ไซยาโนแบคทีเรีย แพลงก์ตอนพืช ผู้บริโภคพืช (herbivore) ผู้บริโภคสัตว์ (carnivore) ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (omnivore) ผู้บริโภคซากสัตว์ (Scavenger) 08


01 02 03 04 แสดงความเห็น เสนอแผนงาน ประเมินสถิติ ปรึกษา/หารือ วิเคราะห์แผนงาน สิ้นสุดการประชุม เริ่มต้นการประชุม ผู้บริโภคพืช (herbivore) เป็นผู้ บริโภคที่กินพืช เป็นอาหาร เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย กวาง ผู้บริโภคสัตว์ (carnivore) เป็น ผู้บริโภคที่กิน สัตว์เป็นอาหาร เช่น สิงโต เสือ ฉลาม ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore) เป็นผู้บริโภคที่กินทั้งพืช และสัตว์เป็น อาหาร เช่น มนุษย์ ไก่ เป็ด ผู้บริโภคซากสัตว์ (Scavenger) เป็นผู้ บริโภคที่กิน ซากสัตว์เป็นอาหาร เช่น แร้ง ไส้เดือน 09


7 3. ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ (decomposer) คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง ต้องอาศัย การย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตอื่น โดยผลิตเอนไซม์ออกมาย่อยซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารชีวโมเลกุลขนาด เล็ก แล้วดูดซึมนำ ไปใช้เป็นอาหาร อีกส่วนหนึ่งปล่อยกลับคืน สู่ธรรมชาติ ตัวอย่างผู้ย่อยสลายสาร อินทรีย์ เช่น รา แบคทีเรีย ปัจจุบันมนุษย์ได้นำ ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์มา รับประทานเป็นอาหาร เช่น เห็ดชนิดต่าง ๆ หรือนำ แบคทีเรียบางชนิดมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม การผลิตอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต น้ำ ส้มสายชู นอกจากนี้ สารบางชนิดที่ผลิตได้จากรามีฤทธิ์เป็นยา เช่น เพนิซิลลินผลิตได้จากราเพนิซิล เลียม แต่ผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์บางชนิดก่อให้เกิดอันตราย เช่น ทำ ให้อาหารเน่าเสีย ทำ ให้เกิดโรค ในมนุษย์ ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 10


แบบฝึกหัด


กิจกรรม ACTIVITIES 6 1. สนามหญ้าจัดเป็นระบบนิเวศหรือไม่ อย่างไร ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 2. แสงจากดวงอาทิตย์สำ คัญต่อระบบนิเวศอย่างไร ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 3. องค์ประกอบของระบบนิเวศประกอบด้วยอะไรบ้าง ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 4. ผู้บริโภคซากสัตว์แตกต่างจากผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์อย่างไร ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 5. ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์มีความสำ คัญต่อระบบนิเวศอย่างไร ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... แบบฝึกหัด คำ ชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำ ถามต่อไปนี้ คำ ชี้แจง : พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด โดยทำ เครื่องหมาย ถูกผิด ลงในช่องว่าง 1. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเท่านั้น 2. สัตว์ที่กินอาหารได้มากกว่า 1 ชนิดจะอยู่รอดได้มากกว่าสัตว์ที่กินอาหารเพียงชนิดเดียว 3. สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบการกินกันเป็นอาหาร 4. ดอกไม้ไม่ได้ประโยชน์จากผึ้งที่มาดูดกินน้ำ หวานจากเกสร 5. กล้วยไม้ช่วยดูดซึมธาตุอาหารให้กับต้นไม้ใหญ่ ส่วนต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา 12


เฉลย


กิจกรรม ACTIVITIES 6 1. สนามหญ้าจัดเป็นระบบนิเวศหรือไม่ อย่างไร เป็น เพราะ สนามหญ้าก็มีสิ่งมีชีวิตบางตัวอาศัยอยู่ และ เกิดการกินกันเป็นทอดๆ 2. แสงจากดวงอาทิตย์สำ คัญต่อระบบนิเวศอย่างไร มีความสำ คัญต่อระบบนิเวศ เพราะทำ ให้เกิดการถ่ายเทธาตุต่าง ๆ ในระบบนิเวศได้ 3. องค์ประกอบของระบบนิเวศประกอบด้วยอะไรบ้าง องค์ประกอบที่มีชีวิต ได้แก่ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ เช่น พืช สัตว์ มนุษย์ เห็ด รา จุลินทรีย์ เป็นต้น องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ สิ่งไม่มีชีวิตในระบบนิเวศ เช่น ดิน น้ำ แสง อุณหภูมิ เป็นต้น 4. ผู้บริโภคซากสัตว์แตกต่างจากผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์อย่างไร ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์จะกินและย่อยสารต่าง ๆ จากซากของสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้วผ่านกระบวนการภายใน ส่วนสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้สลายสารอินทรีย์จะสามารถดูดซึมสารอาหารได้โดยตรงผ่านกระบวนการทางเคมีและชีววิทยา โดยไม่ต้องผ่านการย่อยสลาย 5. ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์มีความสำ คัญต่อระบบนิเวศอย่างไร ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสำ คัญในการทำ ให้เกิดการหมุนเวียนของสารเป็นวัฏจักร เช่น วัฏจักรคาร์บอน เฉลยแบบฝึกหัด คำ ชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำ ถามต่อไปนี้ คำ ชี้แจง : พิจารณาข้อความตามความเข้าใจของนักเรียนว่าถูกหรือผิด โดยทำ เครื่องหมาย ถูกผิด ลงในช่องว่าง 1. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเท่านั้น 2. สัตว์ที่กินอาหารได้มากกว่า 1 ชนิดจะอยู่รอดได้มากกว่าสัตว์ที่กินอาหารเพียงชนิดเดียว 3. สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบการกินกันเป็นอาหาร 4. ดอกไม้ไม่ได้ประโยชน์จากผึ้งที่มาดูดกินน้ำ หวานจากเกสร 5. กล้วยไม้ช่วยดูดซึมธาตุอาหารให้กับต้นไม้ใหญ่ ส่วนต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา 14


REFERNECE อ้างอิง สุธารี คำ จีนศรี และภคพร จิตตรีขันธ์. (2566). ระบบนิเวศ. ใน วราภรณ์ ท้วมดี (บ.ก.), หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พิมพ์ครั้งที่ 8). (น. 1-12). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. 15


ข้อมูลส่วนตัว ความสามารถ ประวัติการศึกษา EDUCATION ข้อมูลการติดต่อ ชื่อ-สกุล : นางสาวสุลดา ศรีเชียงสา รหัสนักศึกษา : 65120603110 เกิด : 10 เมษายน 2541 อายุ : 25 ปี สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ชื่อเล่น : ใบเฟิร์น สาขา : วิทยาศาสตร์ศึกษา งานฝีมือ วาดภาพ ร้องเพลง เล่นกีฬาวอลเลย์บอล โทร : 0933461403 Facebook : สุลดา ศรีเชียงสา ที่อยู่ : บ้านห้วยปลาโด บ้านเลขที่ 27 หมู่ที่ 5 ตำ บลบ้านดุง อำ เภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี รหัสไปรษณีย์ 41190 อีเมล : sulada.fern10@gmail.com 3 ประวัติส่วนตัว ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับปริญาตรี ระดับปริญาโท โรงเรียนบ้านดุงวิทยา สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี กำ ลังศึกษาหลักสูตร ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เกรดเฉลี่ยสะสม : 3.66 สำ เร็จปีการศึกษา : 2564 2554 2557 2560 2566 เกรดเฉลี่ยสะสม : 3.31 สำ เร็จปีการศึกษา : 2560 เกรดเฉลี่ยสะสม : 3.18 สำ เร็จปีการศึกษา : 2557 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา 16


0933461403 65120603110@udru.ac.th @Sulada Srichiangsa


Click to View FlipBook Version