The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aumpaipim Tantithakorn, 2024-01-15 00:33:31

คำกริยา

คำกริยา

ชนิดของคำ EP.3 คำ กริยา ตามหลักบรรทัดฐานภาษาไทย


คำ กริยา คือ ? คำ กริยา คือ คำ ที่แสดงการกระทำ แสดงอาการ หรือแสดงสภาพของคำ นาม หรือคำ สรรพนาม ทำ หน้าที่เป็นส่วนหลักของกริยาวลีซึ่งเป็นหัวใจของประโยค เกณฑ์การพิจารณาคำ กริยา คำ กริยาต้องปรากฏหลังคำ ว่า “ไม่” ได้ เช่น ไม่นอน ไม่กิน ไม่เดิน ไม่พูด ไม่ขับ คนไทยชำ นาญการรบด้วยดาบ คนไทยไม่ชำ นาญการรบด้วยดาบ


เกณฑ์การพิจารณาคำ กริยา คำ กริยาต้องปรากฏหลังคำ ว่า “ไม่” ได้ เช่น ไม่นอน ไม่กิน ไม่เดิน ไม่พูด ไม่ขับ เกณฑ์การวิเคราะห์นี้ทำ ให้คำ วิเศษณ์ในไวยากรณ์ดั้งเดิม คำ กริยา เรียกว่า คำ กริยาคุณศัพท์ เช่น ไม่สวย ไม่หล่อ ไม่เร็ว ไม่ดี ไม่เย็น นางแบบคนนั้นสวย นางแบบคนนั้นไม่สวย คำ กริยา คือ ?


2. กริยาทวิกรรม คำ กริยา คือ ? คำ กริยามี 2 ประเภท คือ ประเภทที่มีหน่วยกรรม และประเภทที่ไม่มีหน่วยกรรม 1. กริยาสกรรม 1. กริยาอกรรม 2. กริยาคุณศัพท์ 3. กริยาต้องเติมเต็ม 4. กริยานำ 5. กริยาตาม ประเภทที่มีหน่วยกรรม ประเภทที่ไม่มีหน่วยกรรม


2. กริยาทวิกรรม 1. กริยาสกรรม ประเภทที่มีหน่วยกรรม


1. กริยาสกรรม คือ คำ กริยาที่มีนามวลีที่ทำ หน้าที่เป็นหน่วยกรรมตามหลัง 1 ตัว เช่น กิน ฟัง อ่าน ซื้อ ลาก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - กล้ากินข้าว - ตุ๊กกี้ฟังเพลง - พ่ออ่านข่าว - แม่ซื้อเสื้อ - น้องลากเก้าอี้ จากตัวอย่าง ข้าว เพลง ข่าว เสื้อ เก้าอี้ เป็นกรรมของกริยาสกรรม


2. กริยาทวิกรรม คือ คำ กริยาที่มีหน่วยกรรมตามหลัง 2 ตัว หน่วยกรรมตัวแรก ทำ หน้าที่ กรรมตรง ส่วนหน่วยกรรมตัวที่ 2 ทำ หน้าที่กรรมรอง เช่น สอน ป้อน ให้ แจก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ครูสอนภาษาไทย₁ นักเรียน₂ - แม่ป้อนข้าว₁ น้อง₂ - เขาให้เงินเดือน₁ พนักงาน₂ - เขาแจกรางวัล₁ พนักงานดีเด่น₂ *** ตัวที่ ₁ คือ กรรมตรง ตัวที่ ₂ คือ กรรมรอง


1. กริยาอกรรม 2. กริยาคุณศัพท์ 3. กริยาต้องเติมเต็ม 4. กริยานำ 5. กริยาตาม ประเภทที่ไม่มีหน่วยกรรม


3. กริยาอกรรม คือ กริยาที่ไม่มีกรรมตามหลัง เช่น หัวเราะ ตก ขึ้น ยืน ตาย ดีใจ เสียใจ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - พ่อหัวเราะ - ฝนตก - ดาวตก - พระอาทิตย์ขึ้น - ครูยืน - นาฬิกาตาย เมื่อวานนี้ - ชาวบ้านดีใจ - เราเสียใจ - หมาว่ายน้ำ ในคลอง


4. กริยาคุณศัพท์ คือ กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมแสดงสภาพของคำ นามหรือคำ บุรุษสรรพนาม เช่น ดี สวย ว่องไว สูง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - เด็กโรงเรียนนี้ดี - รถบ้านนี้สวยทุกคันเลย - นักวิ่งพวกนี้ว่องไว - คุณสูงขึ้นมากทีเดียว


4. กริยาคุณศัพท์ กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม แสดงสภาพของคำ นามหรือคำ บุรุษสรรพนาม - คำ กริยาคุณศัพท์สามารถใช้ร่วมกับคำ ว่า กว่า ที่สุด ได้เพื่อใช้ในเชิงเปรียบเทียบ คำ กริยาคุณศัพท์มีลักษณะคล้ายคำ อกรรมกริยา แต่แตกต่างกัน ดังนี้ - คำ อกรรมกริยาใช้ร่วมกับคำ ว่า กว่า และ ที่สุด เพื่อเปรียบเทียบไม่ได้


4. กริยาคุณศัพท์ กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม แสดงสภาพของคำ นามหรือคำ บุรุษสรรพนาม เช่น - ม้าตัวนี้สวยกว่าตัวนั้น - ม้าตัวนี้วิ่งกว่าตัวนั้น - ม้าตัวโน้นสวยที่สุด - ม้าตัวนี้วิ่งที่สุด คำ ว่า สวย ใช้ร่วมกับ กว่าและที่สุดได้ เป็นคำ กริยาคุณศัพท์ ส่วนคำ ว่า วิ่ง ใช้ร่วมกับ กว่าและที่สุดไม่ได้ จึงเป็นคำ กริยาอกรรม


4. กริยาคุณศัพท์ - คำ กริยาคุณศัพท์สามารถปรากฏตามหลังคำ ลักษณนามได้ คำ กริยาคุณศัพท์มีลักษณะคล้ายคำ อกรรมกริยา แต่แตกต่างกัน ดังนี้ - คำ อกรรมกริยาไม่สามารถปรากฏหลังคำ ลักษณนามได้ต้องมีคำ เชื่อมมาเชื่อมเสมอ เช่น - แมวตัวนอนอยู่ - แมวตัวที่นอนอยู่ คำ ว่า อ้วน ปรากฏหลังคำ ลักษณนามได้จึงเป็นคำ กริยาคุณศัพท์ ส่วนคำ ว่า นอน ปรากฏหลังคำ ลักษณนามไม่ได้จึงเป็นคำ กริยาอกรรม - แมวตัวอ้วน


5.กริยาต้องเติมเต็ม คือคำ กริยาที่ต้องมีนามวลีมาทำ หน้าที่หน่วยเติมเต็มตามหลังเสมอ ได้แก่ มี เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ ใช่ เกิด ปรากฏ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - เธอเหมือนแม่มาก - เขาเป็นตำ รวจอยู่กรุงเทพฯ - แมวหน้าตาคล้ายเสือ - ปีนี้เกิดภาวะโรคระบาด คำ ว่า ตำ รวจ แม่ เสือ ภาวะโรคระบาด ที่ตามหลังคำ กริยา เป็น เหมือน คล้าย เท่า เกิด ไม่ได้ทำ หน้าที่เป็นกรรม แต่ทำ หน้าที่เป็นหน่วยเติมเต็ม


5.กริยาต้องเติมเต็ม **คํากริยาต้องเติมเต็ม ใช้ร่วมกับคําว่า ถูก ไม่ได้ คำ กริยาต้องเติมเต็ม มีลักษณะคล้ายคำ กริยาสกรรม แต่ต่างกันที่ คำ กริยาต้องเติมเต็มจะใช้ร่วมกับคำ ว่า ถูก ไม่ได้ เพราะนามวลีที่ตามหลังไม่ได้ถูกกระทำ ส่วนคำ กริยาสกรรมนั้นใช้ได้ เช่น ฉันเป็นครู - ครูถูกเป็น ใช้ไม่ได้ - เป็น จึงเป็นคำ กริยาต้องเติมเต็ม ฉันกินข้าว - ข้าวถูกกิน ใช้ได้ - กิน จึงเป็นคำ กริยาสกรรม


6. กริยานำ คือ คำ กริยาที่ต้องปรากฏหน้าคำ กริยาอื่นเสมอ เช่น ชอบ พลอย พยายาม อยาก ฝืน หัด ตั้งใจ ห้าม ช่วย กรุณา วาน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - น้องฝืนกินข้าวจนหมด - พี่หัดร้องเพลงทุกเช้า - คุณช่วยเปิดหน้าต่างให้ทีค่ะ - กรุณาจอดป้ายหน้าด้วยค่ะ


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ อาจปรากฏหลังคำ กริยาโดยตรงหรือปรากฏหลังกรรมของกริยาก็ได้ กริยาตามบางคำ มีรูปเหมือนกริยาอกรรม เช่น ไป เข้า มา ออก ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - เขาส่งการบ้านไปแล้ว - ตั้งใจเข้าจะได้เรียนเก่ง - เราเพิ่งไปซื้อของกันมา - เขาขยันออก


7. กริยาตาม อาจปรากฏหลังคำ กริยาโดยตรงหรือปรากฏหลังกรรมของกริยาก็ได้ กริยาตามบางคำ มีรูปเหมือนกริยาสกรรม ไว้ เสีย ให้เอา ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ขอเตือนไว้ก่อนจะได้ไม่พลาดเหมือนครั้งที่แล้ว - เขาพูดเสียขนาดนี้จะยืนนิ่งอยู่ทำ ไม - เขาหยิบปากกาให้ฉันเมื่อสักครู่นี่เอง - แกะไม่ออก ก็ใช้มีดงัดเอา คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ


7. กริยาตาม แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เขานั่งลง - ยกปากกาขึ้นอีกนิด - แม่ขึ้นมาเชียงใหม่เมื่อวาน - พี่ส่งจดหมายไปต่างจังหวัด 1. คำ กริยาตาม ไป มา ขึ้น ลง ตามหลังคำ กริยาแสดงการเคลื่อนไหว จะแสดงทิศทางของกริยานั้น เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ลูกน้ำ ผอมลงแล้ว - แมงปอสวยขึ้นมาก 2. คำ กริยาตาม ขึ้น ลง แสดงความหมายว่าเพิ่มขึ้นหรือน้อยลงจากเดิม เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ข้ามถนนควรระวัง เดี๋ยวรถเฉี่ยวเอา - เดี๋ยวมีคนมาเห็นเข้า 3. คำ กริยาตาม เข้า เอา มีความหมายว่าอาจเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่ไม่คาดคิด เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - รีบ ๆ เข้า เดี๋ยวไม่ทันเวลา - เร่งมือเข้า เวลาใกล้หมดแล้ว 4. คำ กริยาตาม เข้า มีความหมายว่าให้เร่งทำ เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ตกลงกันเสียทีสิว่าจะดูหนังเรื่องอะไร - กินเสียหน่อยจะได้มีแรง 5. คำ กริยาตาม เสีย ออกเสียงไม่ลงน้ำ หนัก เป็น /เซีย/ หรือ /ซะ/ แสดงอาการ คะยั้นคะยอและแสดงความรำ คาญ เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ละครกำ ลังสนุก กลับตัดเข้าโฆษณาเสียก่อน - จานใบนี้ร้าวเสียแล้ว 6. คำ กริยาตาม เสีย มักมีคำ ว่า แล้ว ได้ ตามมา แสดงความหมายว่า ผู้พูดไม่คิดว่า จะเป็นเช่นนั้น และไม่อยากให้เป็น เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เสียงโทรศัพท์ดังไม่หยุด ฉันจึงปิดเครื่องเสียเลย - ฉันรำ คาญ จึงลุกไปเสียเลย 7. คำ กริยาตาม เสีย มักมีคำ ว่า เลย ตามมา แสดงความหมายว่า ได้ทำ อย่างใด อย่างหนึ่งไปด้วยความรำ คาญหรือขัดใจ เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เขาเดินออกนอกบ้านไป - กระโปรงยืดออก 8. คำ กริยาตาม ออก มีความหมายแสดงการเพิ่มขนาดขึ้นหรือเคลื่อนพ้นไปจากสถาน ที่ที่เคยอยู่เดิม เช่น


7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ดาราคนนี้นิสัยดีออก ไม่ได้เป็นแบบที่ออกข่าวเลย - เด็กคนนี้ขยันออก ไม่ได้ขี้เกียจอย่างที่คุณคิด 9. คำ กริยาตาม ออก ออกเสียงไม่เน้นหนัก จึงมักออกเสียงสระเป็นสระเสียงสั้น คือ /อ๊อก/ ใช้เมื่อแสดงความเห็นแย้ง เช่น


แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - ชิมดูก่อน แล้วจะติดใจ - ลองเล่นดู ไม่ยากหรอก 10. คำ กริยาตาม ดู มีความหมายว่าตัดสินใจลองทำ เช่น 7. กริยาตาม คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ


แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เธอส่งยิ้มให้ แต่ผมแกล้งไม่เห็น - ดื้อขนาดนี้ เดี๋ยวตีให้หรอก 11. คำ กริยาตาม ให้ แสดงความหมายว่า ทำ อย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ใดผู้หนึ่ง เช่น คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ 7. กริยาตาม


แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เราคุยกันเพลินไปเลย - ฉันเผลอหลับไปงีบหนึ่ง 12. คำ กริยาตาม ไป แสดงความหมายว่า ได้ทำ กริยานั้น ๆ ไปแล้ว เช่น คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ 7. กริยาตาม


แม้คำ กริยาตามจะมีรูปเหมือนคำ กริยาอกรรมและคำ กริยาสกรรม แต่คำ กริยาตามมี ความหมายไม่เหมือนกับคำ กริยาอกรรมกับคำ กริยาสกรรม ดังนี้ - เล็ง ๆ ไว้ จะซื้อโทรศัพท์รุ่นนี้ - เงียบไว้แหละดีแล้ว 13. คำ กริยาตาม ไว้ แสดงความหมายว่า ได้ทำ กริยานั้น ๆ อยู่ในขณะใดขณะหนึ่ง เช่น ** คำ กริยาตามไม่ปรากฏอยู่ตามลำ พังแต่ต้องปรากฏร่วมกับคำ กริยาอื่น ๆ และปรากฏในโครงสร้างกริยาเรียงเสมอ คือ กริยาที่ต้องปรากฏหลังคำ กริยาอื่นเสมอ 7. กริยาตาม


Click to View FlipBook Version