เอกสารชุด 6
วิชา งานเช่ือมไฟฟ้าเบือ้ งต้น
เร่อื ง องค์ประกอบท่ีมผี ลตอ่ แนวเชอ่ื ม
องคป์ ระกอบทมี่ ผี ลตอ่ แนวเช่อื ม
1 มมุ ลวดเชื่อม (Electrode Angle)
ในขณะเชือ่ มทศิ ทางเชอ่ื มและมมุ ท่ลี วดเชือ่ มกระทาต่อช้ินงาน จะมตี ่อผลการไหลของกระแสไฟที่สง่ ผา่ นนา้
โลหะไปยงั บอ่ หลอม ดงั น้นั ถ้าตง้ั ทามมุ ลวดเช่อื มกับชิ้นงานไม่ถกู ต้องจะมีผลทาให้แนวเชือ่ ม ไมส่ มบูรณห์ รือมี
ข้อบกพร่อง เช่น การหลอมลึกไม่สมบรู ณ์ (Incomplete Penetration) การกดั ขอบ (Undercut) และรอย
เกย (Overlap) เป็นตน้
มมุ ในการเชือ่ มโดยทัว่ ไปแบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะ คือมุมเดินลวดเชอ่ื ม (Travel Angle) และมมุ งาน (Work
Angle) โดยมีรายละเอียดดงั นี้
5.1.1 มมุ เดินลวดเชือ่ ม (Travel Angle) คือมุมเอยี งลวดเช่ือมท่ีกระทากบั ช้นิ งานในทิศทางเช่ือมหรือการ
เคลื่อนท่ีของลวดเชอ่ื ม
รปู ท่ี 3.40 แสดงลกั ษณะของมุมเดนิ ลวดเช่ือม (ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน์, 2558)
5.1.1 มุมงาน (Work Angle) คือมุมทลี่ วดเช่ือมเอยี งทามุมกบั ด้านข้างของช้ินงาน เช่น ในกรณขี องการเชอื่ ม
ท่าราบลวดเช่อื มจะทามุม 90 องศากบั ช้นิ งาน
รปู ที่ 3.41 แสดงลักษณะของมมุ งาน (ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน์, 2558)
2 กระแสไฟฟา้ เชื่อม (Welding Ampere)
การใชก้ ระแสไฟฟ้าเชอื่ ม ขึน้ อยู่กบั ชนิดของลวดเชือ่ มท่ใี ช้ว่ากาหนดใหใ้ ชก้ ระแสไฟฟ้าชนิดใด ดงั นั้นก่อน
ปฏิบตั งิ านช่างเชอ่ื มจะต้องปรบั กระแสไฟฟา้ เชื่อมใหถ้ ูกต้อง เพราะถ้าปรบั กระแสไฟฟ้าไม่ถกู ต้องแลว้ จะได้
คณุ ภาพแนวเช่ือมจะไมด่ เี ท่าท่ีควร นอกจากนี้ปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าที่ใชก้ ็ยังข้ึนอยู่กับความหนาของชน้ิ งาน
และขนาดของลวดเชือ่ มอีกด้วย เชน่ ในกรณีท่ีปรบั กระแสไฟฟ้าสงู เกนิ ไปจะทาให้บอ่ หลอมกว้าง การควบคุม
บอ่ หลวมทาได้ยากและเกิดการกดั ขอบตลอดความยาวแนวเชอ่ื ม แตถ่ า้ ปรบั กระแสไฟฟ้าตา่ เกนิ ไปจะทาให้
แนวเชื่อมกองนูนมาก และขอบแนวเชอ่ื มไมห่ ลอมรวมตัว เปน็ ตน้
ในการเลือกใชก้ ระแสไฟเช่ือม ขนาดและชนิดของลวดเชื่อมทเี่ หมาะสมกับความหนาของงานขนาดแสดง
ดังตารางท่ี 3.3
3. ระยะอาร์กในการเช่อื ม คือระยะหา่ งระหวา่ งชิ้นงานกบั ปลายลวดเชอื่ ม ระยะอารก์ มผี ลต่อการเชื่อมและ
คุณภาพของแนวเช่ือมเปน็ อย่างย่ิง กลา่ วคือ ถา้ ระยะอาร์กมากจะทาให้เกิดความร้อนกระจายท่ีชน้ิ งานมาก ทา
ให้เกิดการแตกกระเดน็ ของน้าโลหะเชื่อม (Spatter) แนวเชอ่ื มพอกเกย (Overlap) เกิดการกัดขอบ
(Undercut) มรี ูพรุน (Porosity) แนวเชือ่ มไมเ่ ป็นแนว (Waviness of Bead) ในทางตรงกนั ข้ามหากระยะอาร์
กนอ้ ยเกนิ ไปจะทาให้ลวดเช่ือมตดิ กับชน้ิ งาน แนวเชอื่ มเล็ก และมีรอยเกย (Overlap) เปน็ ตน้ โดยทัว่ ไปในการ
เช่ือมอาร์กด้วยลวดหุ้มฟลักซ์จะใชร้ ะยะอาร์กประมาณ 1.5 เทา่ ของขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง (d) ของลวด
เชื่อม ดงั รปู ที่ 3.42
รปู ท่ี 3.42 แสดงระยะอาร์กในการเชอ่ื มอารก์ ลวดเชอ่ื มหุ้มฟลักซ์ (ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน์, 2558)
4 ความเรว็ ในการเชอื่ ม (Travel Speed)
ในขณะปฏบิ ัติงานเชอื่ ม ช่างเชอ่ื มจะต้องควบคมุ ความเรว็ ของการเชื่อมให้เหมาะสมกับระยะ อาร์กและกระแส
ไฟฟ้าท่ใี ชเ้ พ่อื ใหไ้ ด้แนวเชอ่ื มท่มี ีคุณภาพและไม่มขี ้อบกพร่อง ในรูปท่ี 2.43 แสดงรปู ร่างของแนวเชอ่ื มทีเ่ กิด
จากการใช้กระแสไฟฟา้ การใชค้ วามเร็วและการระยะอาร์กทแี่ ตกต่างกนั
หมายเหตุ:
ก. กระแสไฟฟา้ เชอ่ื มต่า ข. กระแสไฟฟา้ เชือ่ มสงู
ค. ระยะอาร์กยาว ง. ความเร็วเชื่อมสงู
จ. ความเรว็ เชอ่ื มต่า
ฉ. กระแสไฟฟ้าเชอ่ื ม ความเร็วเชอื่ มและระยะอาร์กเหมาะสม
รปู ท่ี 3.43 แสดงรูปร่างของแนวเช่อื มเมอ่ื ใชก้ ระแสไฟฟ้าเชื่อม ความเรว็ เช่ือมและระยะอารก์ ต่างกนั
(ทม่ี า : Andrew D. Althouse and Others, 2012, p. 169)