เอกสารชดุ 3
วิชา งานเชื่อมไฟฟ้าเบอื้ งต้น
เร่ือง อุปกรณ์งานเชอื่ มไฟฟ้า
หวั จับลวดเช่ือม (Electrode Holder)
หวั จบั ลวดเช่อื ม คอื อุปกรณ์ท่ีใช้จับลวดเช่อื ม เป็นตัวนากระแสไฟฟ้าจากสายเชอื่ มผา่ นไปสู่ลวดเช่อื มเพ่อื ให้
เกดิ การอาร์กและเป็นมือถือขณะทาการเชอื่ ม โครงสร้างภายนอกท่ีใชม้ อื จบั ห่อหมุ้ ไวด้ ว้ ยฉนวนไฟฟ้าเพื่อ
ป้องกนั ไฟฟ้าและความร้อนขณะเช่อื ม ปากจับทาด้วยทองแดงสามารถจับลวดเช่อื ม ทามุมตามต้องการได้
รูปที่ 3.14 แสดงสว่ นประกอบของหวั จบั ลวดเชื่อม
(ที่มา : ปราโมทย์ อุทัยวัฒน,์ 2558)
คมี จบั สายดิน (Ground Clamp)
คีมจบั สายดนิ เป็นอุปกรณ์ท่ใี ช้จบั ยึดชน้ิ งานหรอื โตะ๊ เช่อื ม เพือ่ ให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรได้สะดวก ในการ
ตดิ ตง้ั สายดนิ จะต้องยึดใหแ้ น่นเพราะถา้ สายดนิ หลวมจะทาให้เกดิ ความต้านทานของกระแสไฟฟ้าสูง ทาใหเ้ กดิ
การสญู เสียของพลงั งานในขณะเชอ่ื มบรเิ วณรอยต่อเกดิ ความร้อนสูงและอาจเป็นอันตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
รปู ที่ 3.15 แสดงลักษณะของคีมจบั สายดนิ
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน,์ 2558)
สายไฟเชือ่ ม (Cable for Welding)
สายไฟเช่อื มทาหน้าท่ีนากระแสไฟฟ้าท่ีผลิตจากเคร่อื งเช่ือมไปสบู่ ริเวณของการอาร์ก โครงสร้างดา้ นใน
ประกอบดว้ ยเสน้ ลวดทองแดงเล็กๆ ทีพ่ นั รวมกนั จานวนมากและใชเ้ ส้นใยพนั รอบไวอ้ ีกรอบเพ่ือรักษารูปทรง
ของลวดทองแดง ส่วนด้านนอกทาดว้ ยยางทเ่ี ป็นฉนวนไฟฟ้าห่อหมุ้ ไว้ การท่สี ายเชอื่ มทาดว้ ยทองแดงเส้นเลก็ ๆ
พนั รวมกันไว้ก็เพื่อใหส้ ะดวกต่อการใช้งานและสามารถโค้งงอได้
สายเชื่อมแบง่ ออกเป็น 2 สาย คอื สายเช่อื มและสายดนิ โดยสายเชอ่ื มตอ่ เขา้ กับหัวจบั ลวดเชื่อมส่วนสายดนิ ตอ่
เขา้ กบั คีมจบั ชนิ้ งาน ในการเลือกสายเช่อื มต้องให้มีความเหมาะสมกับกระแสเช่ือม ตวั อย่างเช่น ถ้าเครอ่ื งเช่อื ม
ขนาดกระแสไฟฟ้า 250 แอมแปร์ กค็ วรเลือกสายไฟเชื่อมทใี่ ชก้ บั กระแสไฟฟา้ ขนาด 250 แอมแปรเ์ ป็นอย่าง
น้อย เป็นตน้
(ก) สายเชื่อม (ข) สายดนิ
รูปท่ี 3.16 แสดงลกั ษณะโครงสรา้ งของสายเช่ือม
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน,์ 2558)
อุปกรณเ์ บด็ เตลด็
.1 หน้ากากเช่อื ม (Welding Helmet) เปน็ อุปกรณ์ที่ใช้เพ่ือป้องกันใบหนา้ และดวงตาจากรังสอี ลั ตราไวโอ
เลต็ รังสีอนิ ฟาเรด ความร้อนและสะเกด็ โลหะร้อนจากการเชือ่ ม โดยใช้ควบคูก่ ับกระจกกรองแสง หน้ากาก
เชือ่ มทาจากวัสดุทีม่ นี า้ หนักเบาและทนความรอ้ นสูง หนา้ กากเชอื่ มที่นยิ มใช้โดยท่วั ไปมี 2 ชนิดดังนี้
1. หนา้ กากเชื่อมชนดิ สวมหัว (Helmet) หนา้ กากเช่ือมชนดิ นม้ี ีสายรัดหัวเขา้ กบั หน้ากากดว้ ยกนั เมือ่ สวมหัว
แลว้ ดา้ นหนา้ ของหนา้ กากสามารถเปิด-ปดิ ได้ ช่วยป้องกนั ศรี ษะและใบหน้าขณะใชง้ าน
2. หนา้ กากเช่อื มชนดิ มือถอื (Hand Shield) หน้ากากชนิดน้ีมีโครงสร้างเหมือนกับแบบสวมหัว แตกต่างกนั ที่
แบบมือถอื จะใชม้ ืออีกด้านหนึ่งจับเพ่ือยกข้นึ ปิดใบหน้าขณะเชอ่ื ม
รูปที่ 3.17 แสดงลกั ษณะของหน้ากากเชอ่ื มชนิดสวมหวั
(ทีม่ า : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน,์ 2558)
รปู ที่ 3.18 แสดงลักษณะของหนา้ กากเช่ือมชนดิ มือถือ
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ัยวัฒน,์ 2558)
นอกจากหน้ากากเชื่อมทัง้ สองชนดิ ทีก่ ล่าวมาแลว้ ขา้ งต้นยังมหี นา้ กากเชือ่ มชนดิ ทส่ี ามารถป้องกนั ควนั พิษได้
ขณะเชื่อมดังแสดงในรปู ท่ี 3.19
รูปที่ 3.19 แสดงลักษณะหน้ากากป้องกนั ควนั พิษ
(ทม่ี า : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น,์ 2558)
2.6.2 กระจกกรองแสง (Filter Lens) ใช้กรองแสงจากการเช่อื มท่ีจะกระทบกบั ดวงตาและใบหน้า การใช้
งานจะใชก้ ระจกใสวางซ้อนอีกชน้ั เพอ่ื ป้องกนั สะเกด็ โลหะกระเด็นติดกระจก การเลอื กกระจกกรองแสงสา
หรบั การเชอื่ มอาร์กลวดหมุ้ ฟลักซ์จะต้องมีความเข้มตามความเหมาะสมกบั ขนาดของลวดเชอ่ื มหรอื
กระแสไฟฟา้ ที่ใชเ้ ชอ่ื ม ดังตารางท่ี 3.1
รปู ท่ี 3.20 แสดงลักษณะของกระจกใสและกระจกกรองแสง
2.6.3 คอ้ นเคาะสแลก (Chipping Hammer) ส่วนปลายของหวั ค้อนเคาะสแลกมรี ูปทรงแตกต่างกัน คอื
ดา้ นหน่ึงแบนใช้เคาะสแลกและเม็ดโลหะกระเด็น (Spatter) ส่วนอีกดา้ นหน่งึ เรียวแหลมใชเ้ คาะสแลกท่ีอยู่
รวมกนั เปน็ กลุ่มเล็กๆ ทีต่ ดิ อยู่บนแนวเชอ่ื มและช้นิ งาน
รปู ท่ี 3.21 แสดงลกั ษณะของคอ้ นเคาะสแลก
(ที่มา : ปราโมทย์ อทุ ยั วัฒน,์ 2558)
2.6.4 แปรงลวด (Wire Brush) ด้ามทาดว้ ยไม้ สว่ นขนแปรงทาด้วยเหลก็ ที่จัดเปน็ แถวฝังตดิ กับดา้ มไม้ ใช้สา
หรับขดั ทาความสะอาดสิ่งสกปรก เช่น สนมิ และคราบน้ามนั ออกจากช้นิ งานทัง้ กอ่ นเชื่อมและหลงั เชอื่ ม
รูปที่ 3.22 แสดงลักษณะของแปรงลวด
(ท่ีมา : ปราโมทย์ อุทยั วฒั น,์ 2558)
2.6.5 คมี จับยึดงานเช่ือม (Pliers) ใชจ้ บั บีบ ยดึ และลอ็ คชิน้ งาน คมี จับยึดงานเช่ือมแบ่งออกเป็นหลายชนดิ
ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน ดังแสดงในรปู ที่ 3.23 - 3.24
รปู ที่ 3.24 แสดงลักษณะของคีมจบั งานร้อน
(ทมี่ า : ปราโมทย์ อทุ ัยวฒั น,์ 2558)