รายงานผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 (Practicing 2) นางสาวทิพวัลย์ สิงหา รหัสนักศึกษา65111562027 ชั้นปีที่2 ห้อง1 สาขา การศึกษาปฐมวัย ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
นางสาวทิพวัลย์ สิงหา นักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 รายงานนี้เป็นรายงานส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 (Practicum 2) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ที่ได้จากการสังเกตการณ์สอน ในสถานศึกษาที่สนใจจะไปสังเกตการณ์ ประจำ สาขาวิชาของตนเองได้แก่ เป็นการสังเกตการณ์สอนการมีจิตอาสาช่วยงานในโรงเรียนการเก็บรวบรวม ผลงานข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา การทำ แฟ้มสะสมงานและการนำ เสนอข้อมูลซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความรู้จากการฝึกวิชาชีพครู ผู้จัดทำ ต้องขอขอบคุณครูพี่เลี้ยงและผู้มีประสบการณ์ในโรงเรียนผู้ให้ความรู้และ แนวทางการปฏิบัติตน ผู้จัดทำ หวังว่ารายงานเล่มนี้จะให้ความรู้และประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่าน หากมีข้อผิดพลาดประการ ใดผู้จัดทำ ต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คำ นำ
ตอนที่1 ข้อมูลสถานศึกษา 1.ชื่อโรงเรียน 1 โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก สังกัด สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ที่ตั้ง หมู่ที่7 ซอย – ถนน – ตำ บลท่าตะโก อำ เภอ ท่าตะโก จังหวัด นครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ 60160 โทรศัพท์ 0-5624- 9386 E-mail: [email protected] 2.ชื่อผู้อำ นวยการ ผศ.ดร.มงคล ศัยยกุล นายชูชาติ โพธิ์เพ็ชร รองผู้อำ นวยการ นายสุวิจักขณ์ เหมือนโพธิ์ นายปกรณ์ เฟื่องจันทร์ ฝ่ายวิชาการ นางสายสมร โพธิ์อ่อง ฝ่ายปกครอง นางสาวพิมพ์ชนก นาคจำ รูญ ฝ่ายธุรการ นางสาวณปภัส กองดารา ฝ่ายบริหาร นางสาวพารริน ถวายทรัพย์ ก.ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
นายดุสิต สนมวัฒนะวงศ์ประธานกรรมการนางธีรนาฏ แก่นบุญกรรมการผู้แทนผู้ปกครองนางสายสมร โพธิ์อ่องกรรมการผู้แทนครูนายอิทธิพัทธ์ พงษ์สาโรจน์กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชนนางช่อเอื้อง จตุพรวัฒนเจริญกรรมการผู้แทนองค์กรส่วนท้องถิ่นนายธนบดินทร์ ล้อพูลศรีกรรมการผู้แทนศิษย์พระครูนิภาธรรมสิริกรรมการผู้แทนองค์กรศาสนานางสมนึก โพธิ์อ่องกรรมการผู้แทนองค์กรศาสนานายวินัย ศรีปิยะรัตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินางนิดา วนิชไพบูลย์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิร้อยตำ รวจตรีชนะชัย กล่อมเกลี้ยง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินางสุภาภรณ์ วงษ์สุวรรณ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินายสมศักดิ์ กฤษดีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒินางสุกุมา วงษ์สุวรรณ์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลท่าตะโกกรรมการและเลขานุการ3.รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษา 2
4.ปรัชญาของโรงเรียน มีวินัย ใฝ่กีฬา หาประสบการณ์ ต่อต้าน 5.วิสัยทัศน์ของโรงเรียน มุ่งสู่ระบบมาตรฐาน วิชาการก้าวหน้า สิ่งแวดล้อมงามตา รักษาวัฒนธรรมไทย ประสานใจชุมชน ทุกคนมีสุขภาพดี บนพื้นฐานวิถีความพอเพียง” 6.พันธกิจของโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก ให้บริการทางการศึกษารวมทั้งดูแลสุขภาพอนามัยรักษาสิ่งแวดล้อม สร้างเสริม คุณธรรมที่ดีงาม ปลูกฝังความรักชาติ การเสียสละและการตอบแทนบุญคุณแผ่นดินไทย บริหารงานโปร่งใส รวมใจสะสางงานต่อต้านอบายมุข ล้ำ เลิศทางวิชาการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เน้นการสอนคนไม่ใช่การสอน หนังสือ เพื่อให้นักเรียนเป็นคนดี เก่ง มีความสุขและมีวิถีชีวิตพอเพียง 7.ยุทธศาสตร์ของโรงเรียน 3 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านทุกมิติ เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และมีศักยภาพในการปรับตัว และเการแข่งขัน ในสภาวการณ์ปัจจุบัน 2. การเสริมสร้างขีดความสามารถและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรบุคคล ให้มีสมรรถนะ มีประสิทธิภาพเท่าทัน ต่อสถานการณ์ในปัจจุบันและอนาคต 3. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการ ภายใต้บริบทของการเปลี่ยนแปลง 4. การจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยกระบสนการคิด ประสบการณ์จริง สถานการณ์จำ ลองผ่านการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) โดยใช้มุมมองและการเปิดโลกทัศน์ร่วมกันระหว่างครูกับผู้เรียน 5. การธำ รงไว้ซึ่งความเข้มแข็งของการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาสู้ความเป็นเลิศ
8.อัตลักษณ์ของโรงเรียน วิชาการดี ไอทีล้ำ 4 9.ข้อมูลบุคลากร 1) ผู้บริหารและรองผู้บริหาร จำ นวน 3 คน ชาย 3 คน หญิง - คน 2) ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำ นวน 48 คน ชาย 10 คน หญิง 38 คน แยกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้ ปริญญาเอก จำ นวน - คน ปริญญาโท จำ นวน 7 คน ปริญญาตรี จำ นวน 30 คน อื่น ๆ ไม่ได้ระบุวุฒิการศึกษา จำ นวน 11 คน
5 10.ข้อมูลนักเรียน นักเรียนทั้งหมด จำ นวน 887 คน ชาย 459 คน หญิง 428 คน ชั้นอนุบาล จำ นวน 175คน ชั้นประถมศึกษาปีที่1 จำ นวน 103 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่2 จำ นวน 128 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่3 จำ นวน 105 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่4 จำ นวน 137 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำ นวน 133 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่6 จำ นวน 106 คน
11.ประวัติโรงเรียน (โดยสังเขป) โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๔ โดยหลวงศรีสิทธิรักษ์ นายอำ เภอท่าตะโก ได้รับความร่วมมือจากพ่อค้า ประชาชนและข้าราชการ สร้างอาคารเรียนชั้นเดียว หลังคามุงด้วยแฝก ตั้ง อยู่ริมคลองท่าตะโก ดำ รงอยู่ด้วยเงินรายได้ที่พ่อค้า ประชาชนบริจาคให้เป็นเงินเดือนครู จัดการสอน แบบสหศึกษาปี พ.ศ.๒๔๖๕ ได้เปลี่ยนแปลงเป็นโรงเรียนประชาบาล โดยนายอำ เภอจัดตั้งอยู่ด้วยเงิน ศึกษาพลี ปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้ย้ายจากสถานที่เดิมไปเปิดทำ การสอนที่วัดท่าตะโก เพราะอาคารชำ รุดมาก ปี พ.ศ.๒๔๗๓ ขุนอนุกูลประชากร (วงค์ พยัฆวิเชียร) นายอำ เภอท่าตะโกได้ขอความร่วมมือจาก ประชาชนในตำ บลนี้ จัดปลูกสร้างโรงเรียนเอกเทศทรงปั้นหยา ๒ ชั้น มีมุขกลางสิ้นค่าก่อสร้าง ๘,๒๐๐ บาท และเปิดสอนที่อาคารหลังนี้ เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๔๗๔ โดยย้ายเด็กที่เรียนอยู่ที่ศาลาวัด ท่าตะโก และมีโรงเรียนวัดเขาน้อย โรงเรียนวัดดอนคามาเรียนรวมกันด้วย วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๙ นายถวิล แก้วอินทร์ ศึกษาธิการอำ เภอท่าตะโก เห็นว่าโรงเรียนบ้านท่าตะโก (ท่าตะโก พิทยาคาร) กับโรงเรียนท่าตะโก (ฝ่ายมัธยม) ควรจะเป็นโรงเรียนเดียวกัน จึงเสนอเรื่องไปพิจารณา และ ได้รับความเห็นชอบให้รวมกันได้ โดยให้ครูใหญ่โรงเรียนท่าตะโกเป็นผู้รับผิดชอบเพียงผู้เดียว ทั้งนี้ตั้งแต่ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๔๙๙ เป็นต้นไป เรียกว่า โรงเรียน บ้านท่าตะโก 6
ข.ข้อมูลหลักสูตรสถานศึกษา 1.หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย 2.วิสัยทัศน์หลักสูตร “เด็กมีความกล้าแสดงออก และมีภาวะผู้นำ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือ เป็นโรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย” 3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สำ หรับเด็กอายุ 0-6 ปี กำ หนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ จำ นวน 12 มาตรฐานประกอบด้วย 1.พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธ์กัน 2.พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม 3.พัฒนาการด้านสังคม ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 6 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4.พัฒนาการดานสติปัญญา ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน คือ มาตฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย มาตฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในความรู้ มาตฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสม 7
4. สมรรถนะสำ คัญของผู้เรียน ด้านการเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย พัฒนาการด้านสังคม พัฒนาการด้าน สังคม พัฒนาการด้านอารมณ์ พัฒนาการด้านการคิดและสติปัญญา พัฒนาการด้าน ภาษา พัฒนาการด้านจริยธรรมและพัฒนาการด้านการสร้างสรรค์ 5. โครงสร้างหลักสูตร เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมายที่กำ หนด สถานศึกษาควรกำ หนดโครงสร้าง ดังนี้ 6. สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี (ที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาเอกของนักศึกษา) สาระที่ควรเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำ มาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิดหลัง จากได้รับจัดประสบการณ์ เพื่อให้บรรลุจุดหมายที่กำ หนดไว้ ทั้งนี้ไม่เน้นการท่องจำ เนื้อหา ผู้สอน สามารถกำ หนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการและความสนใจของเด็กโดยให้เด็ก ได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำ คัญ ทั้งนี้อาจยึดหยุ่นเนื้อหาได้โดยคำ นึงถึงประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม ในชีวิตจริงของเด็กดังนี้ 2.1 เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษา ร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ มีประโยชน์ในท้องถิ่น หรืออาหาร ที่เด็กควรรู้จัก การระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองจากผู้อื่น และภัยใกล้ตัว รวมทั้ง การปฏิบัติต่อผู้อื่น ครอบครัว และโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 8
การรู้จักแสดง ความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การกำ กับตนเองการเล่นและทำ สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ตามลำ พังหรือกับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภูมิใจในตนเองการ สะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึก อย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมีคุณธรรมจริยธรรม 2.2 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัวสถานศึกษา ชุมชนและบุคคลต่างๆที่เด็กต้องการเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำ วันสถานที่ สำ คัญในชุมชน ไปรษณีย์ ห้องสมุดประชาชน สถานีตำ รวจ วันสำ คัญ ได้แก่วันวิสาขบูชา วัน อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชาวัน วันแม่วันเฉลิมพระชนมพรรษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 วันลอยกระทง อาชีพของคนในชุมชน ได้แก่ ค้าขาย ทำ ไร่ ทำ สวน ทำ นา รับจ้างทั่วไปแหล่งวัฒนธรรม ประเพณีในชุมชน 2.3 ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อลักษณะส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลงและความ สัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์พืชและสัตว์ ในท้องถิ่นที่เด็กควรเรียนรู้จากได้แก่ พืชในท้องถิ่นที่เด็กควรรู้จัก ได้แก่ ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติแรงและพลังงานในชีวิต ประจำ วันที่แวดล้อมเด็กรวมทั้งการอนรักษ์สิ่งแวดล้อมและการรักษาสาธารณสมบัติภายในสถานศึกษา 2.4 สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจำ วันความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือรู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้ำ หนัก จำ นวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์การใช้งานและการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคมในชุมชนที่เด็กควร รู้จักได้แก่ เทคโนโลยีและการสื่อสารต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำ วันอย่างประหยัด ปลอดภัยได้แก่ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ แท๊ปเลตและรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนได้แก่ สนามเด็กเล่น( BBL )ห้องศูนย์ สื่อ เป็นต้น 7. คำ อธิบายรายวิชา ในกลุมสาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาของนักศึกษาการจัดการศึกษา ปฐมวัยเป็นการจัดการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการ ของเด็ก ให้เด็กมีพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัยความ สามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการสร้างรากฐานชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 9
8. โครงสร้างรายวิชา ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาของนักศึกษา 9. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรูที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาของนักศึกษา ให้นักศึกษาร่วมกับครูพี่เลี้ยง ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ที่ครูพี่เลี้ยงจะใช้สอน ในระหว่างที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 10
9 11
31ขั้นนำ 1.ครูใช้คำคล้องจองแก้วกะลาขันโอ่ง ขั้นสอน 2.อ่านคำคล้องจองวันเด็กโดยเขียนและ อ่านให้ฟัง 3.ครูและเด็กอ่านออกเสียงพร้อมกัน หน่วยการเรียนรู้ที่31วันเด็กวันครู วันเด็กวันครูคำขวัญ วันเด็ก ประจำปี รู้จักความสำคัญ และการปฏิบัติตน ในวันมาฆบูชา คำคล้องจอง เก็บเด็กแก้ว กะลาคันโอ่ง-คำคล้องจอง วันเด็ก สังเกตการ ฟังและพูด โต้ตอบเรื่อง ที่ฟัง-การอ่าน ข้อความ ด้วยการก วาดตามอง มฐ1ตบข1.3 (1.3.1) มฐ2ตบช2.1 (21.1) (2.1.2) มฐ4ตบช41(41.1 (4.1.3) มฐ8ตบช8.2 (8.2.1) มฐ9ตบช9.1 (9.1.1) มฐ10ตบซ10.1 12
ห น่ ว ย ก า รเรี ย น รู้ ที่ 31วั นเด็ ก แ ห่งช า ติ 31 วันเด็กแ ห่ง ชาติ การร ระบายสี ตัด กระดาษ ตามรููป -เด็กสามารถระบายสี ได้อย่างสวยงาม -เด็กสามารถทำงานกับ ผู้อื่น -เด็กสามารถพั ฒ นา กล้ามเนือมัดเล็กและ ประสาท สั มผัสระหว่าง ตากับ มือ ขั้ น นำ -ร้องเพลงเก็บเด็กเพลงเด็กเอ๋ยเด็กดี -สอบถาม นักเรียนก่อนว่านักเรียน มีความรู้ เกี่ยวกับวันเด็กมากน้อยเพียงใด ขั้ น สอน -ครูเขียนคำขวัญวันเด็กและอ่านให้ ฟัง1 รอบ -ครูให้ นักเรียนอ่านตอบครู2รอบ -เมื่อนักเรียนอ่านคำขวัญวันเด็กได้คล่อง แล้วให้ ทำใบงาน พร้อมระบายสี ใ บงาน คำ ข วั ญ วั นเด็ ก ดิ น ส อ สีไม้ สังเก ต การ ต อ บ คำ ถาม แ ละการ สื่ อ สาร กั บ ค รู มฐ1ตบข1.3 (1.3.1) มฐ2ตบ ช2.1 (21.1) (2.1.2) มฐ4ตบ ช41(41.1 (4.1.3) มฐ8ตบ ช8.2 (8.2.1) มฐ9ตบ ช9.1 (9.1.1) มฐ10ตบ ซ10.1 หมายเหตุ 1. นักศึกษาสามารถนำ เสนอเป็นตารางแนวนอนได้ 2. หัวข้อกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักศึกษาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยนำ เสนอรายละเอียดของแต่ละขั้นตอน อย่างสั้นๆ ส่วนรายละเอียดของแต่ละขั้นให้ขยายความในแผนการจัดการเรียนรู้ 3. อาจารย์ผู้สอนประจำ วิชาแต่ละสาขาสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม 13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
หน้าที่ พาเด็กไปเข้าแถวเคารพธงชาติหน้าเสาธง ควบคุมดูแลและจัดระเบียบเด็กในการเข้าแถว หน้าที่ ช่วยในการควบคุมให้เป็นระเบียบการพาเด็กๆขึ้นห้องเรียนของตัวเอง การศึกษาและเรียนรู้บทบาทหน้าที่ครูพี่เลี้ยง/ครูประจำ ชั้น คำ ชี้แจง ให้นักศึกษาศึกษาและปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยครูร่วมกับครูพี่เลี้ยง(ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) แล้วบันทึกข้อมูลในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. บทบาทหน้าที่ของครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) มีงานอะไรบ้าง จงอธิบายพร้อมรูปภาพ ประกอบ เช่น งานวิชาการ งานธุรการในชั้นเรียน ฯลฯ 29
หน้าที่ ช่วยในการควบคุมเด็กๆในการรับประทานอาหารกลางวัน แจกหาอาหารให้เด็กๆ หน้าที่ ช่วยแจกหนังสือให้กับเด็กๆตามรายชื่อของเด็กๆ หน้าที่ ช่วยในการควบคุมเด็กๆในการทำ งาน ทักษะต่างๆ 30
2. การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2.1 ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) มีการประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีอย่างไรบ้างครูผู้สอน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนเป็นคนดี มาโรงเรียนตรงเวลา ปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง เป็นอย่างดี มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีมารยาทยิ้มไหว้ทักทาย 2.2 ครูพี่เลี้ยง (ครูผู้สอน/ครูประจำ ชั้น) มีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ในด้าน ต่างๆ อย่างไร จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ครูผู้สอนแสดงออกซึ่งความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู คือ ชื่อตรงต่อตนเองปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่าง เต็มความสามารถ ให้ความรู้กับผู้เรียนอย่างเต็มที่ สอนและอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจเหมือนกันทุกคนไม่ แบ่งแยก ปฏิบัติหน้าที่ที่ตนได้รับมอบหมายอย่างไม่ขาดตกบกพร่อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียน จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ครูผู้สอนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียน เข้าสอนตรงเวลาอย่างสม่ำ เสมอ ใช้ น้ำ เสียงที่เหมาะสม ตั้งใจสอนอย่างสุดความสามารถและตามขั้นตอน เอาใจใส่ส่งเสริมผู้เรียนทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน สร้างแรงบันดาลใจให้กับเด็ก ๆ ทุกคน จรรยาบรรณต่อผู้รวมประกอบวิชาชีพ ครูผู้สอนมีมิตรภาพที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานทุกคน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่วม งาน เคารพความ คิดเห็นซึ่งกันและกัน จรรยาบรรณต่อสังคม ครูผู้สอนให้ความช่วยเหลือต่อสังคมเท่าที่ตนจะช่วยเหลือได้ ปฏิบัติตนเป็นคนดีของสังคม ไม่สร้างความ เดือดร้อนให้กับสังคม 32
ชื่อ-สกุล (ครูพี่เลี้ยง) พาเด็กไปเข้าแถวเคารพธงชาติหน้าเสาธงการนั่งสมาธิ การควบคุมเด็กๆดินต่อแถวในการเข้าห้องและไปที่อื่นๆ เช่น โรงอาหาร สนามกีฬา ทำ หน้าที่ในการเช็คเด็กในการมาเรียนในแต่ละวัน และทำ ความสะอาดห้องเรียน เช่น กวาดห้อง ถูห้อง ทิ้งขยะ ก่อนที่เด็กจะมาถึงโรงเรียน มีแผนการจัดประสบการณ์ในแต่ละหน่วย โดยแต่ละแผนจะมี แบบการวัดและการประเมิลผล ทำ หน้าที่ส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัย ตรวจเล็บเด็กคนไหน เล็บยาวก็จะบอกให้กลับบ้านให้ผู้ปกครองตัดเล็บให้ และ ติดตามความเรียบร้อย คอยบอกคอยสอนว่าสิ่งไหนดี สิ่งไหนไม่ดี ปลูกฝังให้เป็นเด็ก ดี มีน้ำ ใจ เอื้อเพื้อเผื่อแผ่ ปลูกฝังให้มีความสามัคคีกัน ครนางสาวปิยนุช แข็งกสิการ นางสาวทิพวัลย์ สิงหา การศึกษาปฐมวัย 65111562027 อนุบาลท่าตะโก 33 อ.3/2 094-830-0493
สรุปสิ่งที่นักศึกษาได้เรียนรู้ ได้เรียนรู้การปฏิบัติหน้าที่ของครู การควบคุมดูแลเด็ก การจัด ระเบียบวินัยเด็ก ได้เรียนรู้การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม เรียนรู้วิธีการติดตามและตรวจ สอบการมาเรียนของเด็ก เรียนรู้การติดตามและส่งเสริมด้าน สุขภาพอนามัย นางสาวทิพวัลย์ สิงหา นางสาวปิยนุช แข็งกสิการ 33 ปิยนุช แข็งกสิการ นางสาวทิพวัลย์ สิงหา
34
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 15 หน่วยที่ 31 วันครู ชั้นอนุบาลปีที่ 3/2 1. ชื่อกิจกรรม กิจกรรมสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ วันครู 3. สาระการเรียนรู้สนใจ -สาระที่ควรเรียนรู้ ความสำ คัญของวันครู -ประสบการณ์สำ คัญ การพูดอธิบายความสำ คัญต่างๆของวันครู 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ครูนำ ใบงานมาให้เด็กๆดู และอธิบายใบงานให้เด็กฟัง พร้อมบอกอุปกรณ์การทำ 2.สอนความหมายของวันครูกับเด็กๆจนเด็กๆทำ ได้ 3.ระบายสีใบงานให้เด็กๆดูเป็นตัวอย่าง 4.แจกอุปกรณ์ให้เด็กๆแต่ละคนลงมือทำ 5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ใบงานวันครู สีไม้ 6. ประเมินผลการเรียนรู้ สังเกตการตอบคำ ถามครู 7. บันทึกผลหลังการสอน - ผลการสอน ผ่านไปได้ด้วยดี มีครูพี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือ - ปัญหา/อุปสรรค แรกๆเด็กยังไม่ค่อยสนใจในการระบายสี - ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปรับเปลี่ยนการให้รางวัลสำ หรับคนที่ทำ งานสำ เร็จ 35
1. ชื่อกิจกรรม กิจกรรมสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ รู้คำ ขวัญวันเด็ก 3. สาระการเรียนรู้สนใจ -สาระที่ควรเรียนรู้ ระบายสี ตัดกระดาษตามรูป -ประสบการณ์สำ คัญ การระบายสีตามความคิดสร้างสรรค์ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ร้องเพลงเก็บเด็ก เพลงเด็กเอ๋ยเด็กดี 2. สอบถามนักเรียนก่อนว่านักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวันเด็กมากน้อยเพียงใด 5. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานคำ ขวัญวันเด็ก 6. ประเมินผลการเรียนรู้ 1. สังเกตการจับสีและดินสอได้อย่างคล่องแคล่ว 2. สังเกตการฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการระบายสี 3. สังเกตจากผลงานของเด็ก 7. บันทึกผลหลังการสอน - ผลการสอน นักเรียนส่วนมากมีความตั้งใจในการเรียน มีการให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่เป็นอย่างดี - ปัญหา/อุปสรรค นักเรียนบางคนจะยังใบงานไม่เสร็จตรงภายในเวลาและจับสีผิดวิธี - ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ครูมีส่วนร่วมในการทำ งานคำ ขวัญวันเด็กเพื่อให้ผลงานของเด็กนักเรียนออกมาสมบูรณ์ที่สุด 35 แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 11 หน่วยที่ 31 วันเด็กวันครู ชั้นอนุบาล3/2
37 10 มกราคม 2567 อ.3/2 นางสาวปิยนุช แข็งกสิการ 31 15 28 16 12 3 - ชั่วโมงที่นักศึกษาทดลองสอนกับครูพี่เลี้ยงในรายวิชา เฉพาะด้าน จำ นวน 2 ครั้ง 3.สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมในการสอนกับครูพี่เลี้ยง ได้เรียนรู้ทักษะต่างๆ ได้คำ แนะนำ จากครูพี่เลี้ยงในจุดที่เราไม่เข้าใจ เพื่อที่ จะพัฒนาตนเองมากขึ้น 4. 3 16 เป็นไข้หวัด
38 11 มกราคม 2567 อ.3/2 นางสาวปิยนุช แข็งกสิการ 31 15 31 16 15 ชั่วโมงที่นักศึกษาทดลองสอนกับครูพี่เลี้ยงในรายวิชา เฉพาะด้าน จำ นวน 2 ครั้ง 3.สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการมีส่วนร่วมในการสอนกับครูพี่เลี้ยง ได้เรียนรู้ทักษะต่างๆ ได้คำ แนะนำ จากครูพี่เลี้ยงในจุดที่เราไม่เข้าใจ เพื่อที่ จะพัฒนาตนเองมากขึ้น 4. 2 16
จัดในทิศทางที่สามารถมองเห็นเด็กๆได้ทั่วทั้ง ห้อง และมองเห็นบรรยากาศในห้องเรียนครบ ทุกมุม จัดในรูปแบบที่เด็กๆทุกคนสามารถมองเห็น จอภาพ และคุณครูสอนทุกคนเป็นโต๊ะไม้นั่ง ขนาดพอดีกับเด็กๆ แสงสว่างพอดีกับขนาดของห้องเรียน มีแสงไฟ ติดเพดานจำ นวนมากในห้องเรียน ป้ายนิเทศขนาดเหมาะ สมกับเด็กๆ มีขนาดใหญ่ ที่ เด็กๆทุกคนสามารถมอง เห็นได้ทุกคน ได้รับความรู้ในเรื่องการจัดโต๊ะ เรียนให้เด็กๆมีความสนใจในการเรียน รู้ ได้รับความรู้ในเรื่องการจัดโต๊ะใน ทิศทางที่มองเห็นเด็กๆและห้องเรียน ในมุมกว้าง ได้รับความรู้ในเรื่องการจัดแสง สว่างให้เหมาะสมกับห้องเรียนให้มี แสงสว่างทุกมุม ได้รับความรู้ในการจัดป้ายนิเทศให้ เด็กๆมองเห็นชัดเจน อ.3/2 นางสาวปิยนุช แข็งกสิการ 15 มกราคม 2567 09.00 น. นางสาวทิพวัลย์ สิงหา การศึกษาปฐมวัย 39
ผลงานนักเรียนติดตามบริเวณรอบๆ ห้องเรียน เพื่อเป็นการแสดงผลงานของ นักเรียนให้นักเรียนเห็น ตกแต่งห้องเรียนที่น่าสนใจ มีสื่อการ เรียนการสอนสำ หรับเด็กปฐมวัย สีสันสวยงาม ดึงดูดผู้เรียน มุมวิชาการมีรอบห้อง ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษการเรียนรู้ต่างๆเพื่อเป็นการให้ เด็กๆฝึกอ่าน มุมของเล่นต่างๆ จัดในรูปแบบที่เรียบร้อย ใส่ชั้นของเล่น และตระกร้าของเล่น ตาม ระเบียบเรียบร้อย ได้รับความรู้ในการจัดห้องเรียน ให้เด็กๆมีความสนใจและพร้อมที่จะ เรียนรู้ ได้รับความรู้ในให้เด็กๆได้เห็นผล งานของตัวเอง เพื่อจะได้เกิดความ ภูมิใจ ได้รับความรู้ในการจัดมุมความรู้ ให้เด็กๆได้หัดอ่าน หัดเขียน ได้รับความรู้ในสร้างเสริมพัฒนา การให้กับเด็กๆในการเล่น การเล่นก็ คือการเพิ่มพัฒนาการอย่างหนึ่ง นางสาวทิพวัลย์ สิงหา ทิพวัลย์ สิงหา 40
41
42
43
44
43