The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โมดูลการท่องเที่ยวอาเซียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supaluk24550, 2021-09-17 00:39:17

โมดูลการท่องเที่ยวอาเซียน

โมดูลการท่องเที่ยวอาเซียน

บทเรยี นมอดูล

เรือ่ ง ความหมายและความสำคัญของประชาคมอาเซยี น

วิชา การท่องเท่ียวอาเซียน รหสั วชิ า 20702 –2112

ผจู้ ัดทำ
นางสาวศุภลกั ษณ์ คล้ายศรีบญุ

ตำแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยกี ระบ่ี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



คำนำ

บทเรยี นมอดลู ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความหมายและความสำคญั ของประชาคมอาเซยี น ฉบับนี้
ขา้ พเจา้ เรีบเรียงขึ้น เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรียนรู้รายวิชา การท่องเท่ยี วอาเซียน รหัสวิชา 20702 –
2112 ชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยพยายามเขยี นใหน้ กั เรยี นเข้าใจง่าย นักเรียนสามารถศึกษาได้
ดว้ ยตนเอง เพือ่ ให้มคี วามร้พู ้ืนฐานกอ่ นท่ีจะศกึ ษาเน้ือหานน้ั จริงๆ และยังได้เพ่ิมเตมิ เนอ้ื หาบางตอน
เพือ่ ชว่ ยเสริมความรคู้ วามเขา้ ใจแก่นกั เรยี น นอกจากน้ียังได้เพิ่มใบกิจกรรมเสรมิ ให้นักเรียนมี
ประสบการณก์ ว้างขวางยิง่ ข้ึน

ผจู้ ดั ทำหวังเปน็ อย่างย่ิงว่าบทเรยี นมอดูลชุดนจี้ ะชว่ ยใหน้ ักเรยี นไดร้ ับความรคู้ วามเข้าใจ
เกีย่ วกับคำศพั ทค์ รอบครัวมากย่งิ ข้ึนและสง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นสูงขนึ้ อย่างไรก็
ตามในบทเรยี นมอดลู เลม่ น้อี าจมีบางจุดที่มีข้อบกพรอ่ งผดิ พลาด ขอใหท้ ่านผู้อ่านโปรดแจ้งให้ข้าพเจา้
ทราบด้วยจะขอบพระคุณเป็นอยา่ งยิ่ง ขา้ พเจ้ายนิ ดีรับฟังความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากท่าน และ
พร้อมทจี่ ะนำมาแก้ไขปรบั ปรงุ บทเรียนมอดลู เลม่ นีใ้ หม้ คี วามสมบูรณแ์ ละถกู ตอ้ ง



สารบญั หนา้

คำนำ ก
สารบัญ ข
คำชีแ้ จงในการใชม้ อดูลสำหรับนักเรยี น 1
สาระสำคญั 2
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 3-4
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 5-6
ความหมายและความสำคัญของประชาคมอาเซยี น 7
ประชาคมย่อย 8
กำเนดิ อาเซยี น 8
สัญลกั ษณอ์ าเซียน 9-10
ใบงานที่1 11
วัตถปุ ระสงค์หลกั ของการกอ่ ต้ังอาเซียน 12
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN CHARTER) หรือธรรมนญู อาเซียน 13
โครงสร้างและสาระสำคัญของกฎบัตรอาเซียน 14
แบบทดสอบหลังเรยี น 15-16
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 17-18

1

คำชีแ้ จงในการใช้มอดลู สำหรับนกั เรียน

การใช้บทเรียนมอดลู ให้เกิดประสทิ ธภิ าพต่อการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งสงู สุด
นักเรยี นควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. การเตรียมตัวของนักเรียน
1.1 ศกึ ษาบทเรียนมอดลู ล่วงหน้ากอ่ นทจี่ ะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ
เกย่ี วกับจุดประสงคข์ อ้ ควรปฏบิ ตั ิ
1.2 วางแผน และจัดเตรียมอปุ กรณ์ทใี่ ช้ประกอบการเรียนรขู้ องตนเองให้พร้อมสำหรบั การ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
2. ดำเนนิ การจดั กิจกรรมในแต่ละคร้ัง นักเรียนควรปฏบิ ัติ ดังน้ี
2.1 ศึกษาแนวทางในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมใหม้ คี วามเขา้ ใจอย่างถอ่ งแท้ หากพบปัญหาหรอื ไม่
เข้าใจใหส้ อบถามขอ้ มูลเพ่ิมเติมจากครู
2.2 ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ตามลำดับขั้นตอนท่ีกำหนด ดงั น้ี

2.2.1 นกั เรยี นทำแบบทดสอบภาคความรกู้ อ่ นเรยี น
2.2.2 นักเรียนศึกษาและปฏิบัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ตามลำดับข้ันตอนท่กี ำหนด
2.2.3 นักเรียนสง่ ผลงานหรือชิน้ งานในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม มสี ว่ นรว่ มในการนำเสนอ
ผลงานหรอื อภิปรายความรู้
2.2.4 นกั เรียนทำแบบทดสอบภาคความรหู้ ลงั เรียน

2

สาระสำคัญ
วตั ถปุ ระสงค์หลักของการกอ่ ต้งั อาเซียน เพ่อื ทำให้อาเซียนมตี ลาดและฐานการผลติ
เดยี วกนั และมกี ารเคล่อื นย้ายสินคา้ บรกิ าร การลงทนุ เงนิ ทุน และแรงงานมฝี ีมอื อย่างเสรี
1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดยี ว (single market and production base)
โดยจะมกี ารเคลื่อนย้ายสนิ ค้า บรกิ าร การลงทนุ และแรงงานมฝี มี ืออย่างเสรี และการ
เคลื่อนยา้ ยเงินทนุ อย่างเสรี
2) การสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจของอาเซยี น โดยให้
ความสำคัญกับประเด็นนโยบายท่ีจะชว่ ยสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการ
แขง่ ขัน การคุม้ ครองผู้บรโิ ภค สิทธใิ นทรัพยส์ นิ ทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนสง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และพลงั งาน)
3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาด
ย่อม และการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถผ่านโครงการตา่ ง ๆ
4) การบรู ณาการเข้ากบั เศรษฐกิจโลก เนน้ การปรบั ประสานนโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซียนกบั ประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อใหอ้ าเซยี นมที า่ ทรี ว่ มกันอยา่ งชดั เจน

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้

1. เพ่อื ให้รู้ประชาคมย่อยอาเซียน
2. เพ่ือใหร้ สู้ ัญลักษณ์อาเซียน
3. เพื่อใหร้ ู้วตั ถุประสงค์หลกั ของการก่อตงั้ อาเซยี น
ด้านทกั ษะ
1. อธิบายประชาคมยอ่ ยอาเซียนได้
2. อธิบายสัญลักษณอ์ าเซียนได้
3. อธิบายวตั ถุประสงค์หลักของการกอ่ ต้ังอาเซยี นได้
ด้านจิตพิสัย/คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์
1. กลา้ แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล
2. ทำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายทนั เวลา

3

แบบทดสอบก่อนเรียน

รหัสวิชา 20702 –2112 ชือ่ วชิ า การท่องเท่ียวอาเซยี น

หนว่ ยที่ 1 ช่ือหนว่ ย ความหมายและความสำคัญของประชาคมอาเซียน

ชอื่ -สกลุ ............................................................ระดบั ชัน้ ..................................รหัส...............................
คำชแ้ี จง จงตอบคำถามให้ถูกต้อง

1. ประชาคมยอ่ ยอาเซียน มีอะไรบา้ ง จงอธิบาย

2. สัญลักษณอ์ าเซียน คอื อะไร มคี วามหมายอย่างไร

4

3. วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของการกอ่ ตั้งอาเซียน คอื อะไร

5

เฉลย
1. ประชาคมยอ่ ยอาเซียน

1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มี
กรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบ
ใหมๆ่ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีความปลอดภัยและมัน่ คง

2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวย
ความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง
และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศ
อาเซยี น

3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่
ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคง
ทางสงั คม

2. สญั ลกั ษณอ์ าเซียน “ต้นข้าวสีเหลอื ง 10 ตน้ มดั รวมกันไว้”

หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10
ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่
ปรากฏในสญั ลกั ษณข์ องอาเซยี น เป็นสีท่สี ำคญั ของธงชาตขิ องแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน

- สีนำ้ เงิน หมายถงึ สันตภิ าพและความมั่นคง
- สีแดง หมายถงึ ความกลา้ หาญและความก้าวหนา้
- สีขาว หมายถึง ความบริสุทธ์ิ
- สีเหลือง หมายถึง ความเจรญิ รุ่งเรอื ง

6

3. วัตถปุ ระสงค์หลกั ของการกอ่ ตง้ั อาเซียน

เพื่อทำให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกนั และมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ
การลงทนุ เงินทุน และแรงงานมฝี ีมอื อย่างเสรี

1) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดย
จะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการ
เคลอ่ื นยา้ ยเงนิ ทนุ อย่างเสรีมากขน้ึ

2) การสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสำคญั
กับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการ
แข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการ
พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (การเงนิ การขนสง่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน)

3) การพฒั นาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
และการเสรมิ สร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ

4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซียนกับประเทศภายนอกภมู ภิ าค เพือ่ ให้อาเซยี นมที า่ ทีร่วมกันอย่างชัดเจน

7

ความหมายและความสำคญั ของประชาคมอาเซียน

“ประชาคมอาเซียน” เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่ม
อำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึง
ความสามารถในการรบั มือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดบั โลกท่ีส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซยี นเชน่ ภาวะ
โลกร้อน การก่อการร้าย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทำให้ประเทศ
สมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกใน
ครอบครวั มีสภาพความอยทู่ ่ดี ี ปลอดภยั และสามารถทำมาคา้ ขายไดอ้ ย่างสะดวกมากย่ิงขน้ึ

แรงผลักดันสำคัญที่ทำให้ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันที่จัดตั้งประชาคมอาเซียน อัน
ถือเป็นการปรับปรุงตัวครั้งใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อม
ระหวา่ งประเทศที่เปลยี่ นแปลงไปทัง้ ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจและสงั คมทีท่ ำใหอ้ าเซียนตอ้ งเผชิญกับ
ความท้าทายใหม่ๆ เช่นโรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้กับประเทศอื่นๆ
โดยเฉพาะจนี และอินเดยี

ซึ่งมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด ประชาคมอาเซียนถือกำเนิดขึ้นอย่าง
เป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม 2546 จากการที่ผู้นำอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความ
ร่วมมืออาเซียน ที่เรียกว่า “ข้อตกลงบาหลี 2” เพื่อเห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี
2563 แตต่ อ่ มาได้ตกลงร่นระยะเวลาจดั ตั้งให้เสร็จในปี 2558

8

ประชาคมย่อยอาเซียน

ซ่ึงเปรียบเสมือนสามเสาหลกั ซึง่ เกยี่ วขอ้ งสัมพันธ์กัน ไดแ้ ก่

1. ประชาคมการเมอื งและความม่ันคงอาเซียน ม่งุ ให้ประเทศในภมู ภิ าคอยรู่ ่วมกันอยา่ ง
สนั ติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มเี สถียรภาพอย่างรอบด้าน มกี รอบ
ความรว่ มมือเพื่อรบั มือกับภยั คุกคามความมนั่ คงท้ังรูปแบบเดมิ และรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้
ประชาชนมคี วามปลอดภัยและม่นั คง

2. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน มงุ่ ให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความ
สะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจรญิ มัง่ คงั่ และสามารถ
แข่งขนั กับภูมิภาคอ่ืนๆ ได้ เพื่อความอยู่ดกี นิ ดขี องประชาชนในประเทศอาเซยี น

3. ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน เพ่ือให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่
ร่วมกันภายใต้แนวคิดสงั คมท่เี ออ้ื อาทร มีสวสั ดกิ ารทางสังคมท่ีดี และมคี วามมั่นคงทาง
สังคม

กำเนิดอาเซียน

“ASEAN” เป็นคำย่อมาจาก “Association of South East Asian Nations”หรือสมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งเมื่อเดือน
กรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2510
อาเซียนไดถ้ ือกำเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชกิ เริ่มต้น 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย อนิ โดนีเซีย ฟิลิปปนิ ส์ มาเลเซีย
และสิงคโปร์ ได้มีการลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพ” หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ท่ี
พระราชวังสราญรมย์ เม่ือวนั ท่ี 8 สงิ หาคม 2510

ต่อมาในปีพ.ศ.2527 บรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยเวียดนามเข้ามาเป็น
สมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2538 ขณะที่พม่าและลาวเข้ามาเป็นสมาชิกใน พ.ศ.2540 และประเทศสุดท้ายคอื
กัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10
ประเทศ

9

สญั ลกั ษณ์อาเซียน

“ต้นขา้ วสเี หลือง 10 ตน้ มดั รวมกันไว้”
หมายถงึ ประเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง
ใต้ทง้ั 10 ประเทศรวมกันเพอื่ มิตรภาพและความเป็น
น้ำหนง่ึ ใจเดยี วกัน โดยสที ่ปี รากฏในสัญลักษณข์ อง
อาเซยี น เปน็ สีที่สำคญั ของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน

▪ สีนำ้ เงิน หมายถงึ สนั ติภาพและความมัน่ คง
▪ สแี ดง หมายถงึ ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
▪ สขี าว หมายถงึ ความบรสิ ุทธิ์
▪ สีเหลอื ง หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรอื ง

10

ธงประจำอาเซียน

คำขวญั อาเซยี น

"One Vision, One Identity, One Community"
(หนง่ึ วิสยั ทศั น์ หนงึ่ เอกลกั ษณ์ หนงึ่ ประชาคม)

อาเซยี นมปี ระเทศสมาชกิ ทงั้ หมด 10 ประเทศ

1. มาเลเซยี (Malaysia)
2. ราชอาณาจกั รกมั พชู า(Kingdom of Cambodia)
3. ราชอาณาจกั รไทย (Kingdom of Thailand)
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic)
5. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
6. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
7. สาธารณรัฐสงิ คโปร์ (Republic of Singapore)
8. สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย(Republic of Indonesia)
9. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียน์มา(Republic of the Union of Myanmar)
10. เนการา บรไู นดารสุ ซาลาม(Negara Brunei Darussalam)

11

ใบงานท่ี 1

รหัสวชิ า 20702 –2112 ชอ่ื วิชา การท่องเท่ียวอาเซยี น

หน่วยที่ 1 ชื่อหนว่ ย ความหมายและความสำคญั ของประชาคมอาเซยี น 5 คะแนน

ช่ือ-สกลุ .............................................................ระดบั ชน้ั ..................................รหสั ...............................
คำสง่ั จงจบั ค่แู ต่ละข้อให้สอดคลอ้ งกัน

.............1. มาเลเซยี ก.
.............2. ราชอาณาจักรกมั พชู า
.............3. ราชอาณาจกั รไทย ข.
.............4. สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน ค.
ลาว ง.
.............5. สาธารณรัฐฟิลิปปนิ ส์ จ.
.............6. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ฉ.
.............7. สาธารณรัฐสงิ คโปร์ ช.
.............8. สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี ป.
.............9. สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนม์ า ล.
...........10. เนการา บรูไนดารสุ ซาลาม
ส.

12

วตั ถุประสงค์หลกั ของการก่อตงั้ อาเซียน

เพื่อทำให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ
ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานใน
ดา้ นเศรษฐกจิ เพ่ือให้บรรลวุ ตั ถุ ประสงค์ 4 ดา้ น คือ

1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base)
โดยจะมีการเคล่ือนย้ายสนิ ค้า บริการ การลงทนุ และแรงงานมฝี ีมืออย่างเสรี และการ
เคลอื่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขน้ึ

2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้
ความสำคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น
นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี
และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
พลังงาน)

3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม และการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถผา่ นโครงการตา่ ง ๆ

4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซยี นกบั ประเทศภายนอกภูมิภาค เพ่อื ให้อาเซียนมีทา่ ทีร่วมกนั อย่างชดั เจน

13

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN CHARTER) หรอื ธรรมนญู อาเซียน
กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติ

บุคคล เปน็ การวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดยนอกจากจะประมวลส่ิง
ที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็น
ทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึน้ พร้อมกำหนดขอบเขต
หน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรที่สำคัญในอาเชียนตลอดจนความสัมพันธ์ในการดำเนินงานของ
องค์กรเหล่านี้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปล่ียนแปลงในโลกปัจจุบัน เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนให้
สามารถดำเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนก ารรวมตัว
ของประชาคมอาเซียน ใหไ้ ดภ้ ายในปี พ.ศ.2558 ตามท่ผี ู้นำอาเซียนไดต้ กลงกนั ไว้

ทั้งนี้ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซียน
แสดงให้เหน็ วา่ อาเซียนกำลังแสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถงึ ความกา้ วหน้าของอาเซียนทีก่ ำลังจะก้าว
เดินไปด้วยกันอย่างมั่นใจระหว่างประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็นเอกสาร
ประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็นองค์กรที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลในฐานะที่เ ปน็
องค์กรระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทั้ง 10 ประเทศแล้วเม่ือ
วนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน2551 กฎบตั รอาเซียนจึงมีผลใชบ้ ังคับตัง้ แต่วันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป

วตั ถุประสงค์ของกฎบตั รอาเซยี น
วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชน

เป็นศูนย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทำงานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนจะให้สถานะนิติ
บุคคลแก่อาเซยี นเป็นองค์กรระหวา่ งรฐั บาล (intergovernmental organization)

14

โครงสร้างและสาระสำคญั ของกฎบัตรอาเซียน
กฎบตั รอาเชยี น ประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 หมวด 55 ขอ้ ได้แก่
หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลกั การของอาเซียน
หมวดที่ 2 สภาพบคุ คลตามกฎหมายของอาเชยี น
หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ (รัฐสมาชิก สิทธิและพันธกรณีของรัฐสมาชิก และการรับ

สมาชิกใหม่
หมวดที่ 4 โครงสรา้ งองค์กรของอาเซียน
หมวดที่ 5 องคก์ รทมี่ คี วามสัมพันธก์ ับอาเซียน
หมวดที่ 6 การคมุ้ กนั และเอกสิทธ์ิ
หมวดท่ี 7 กระบวนการตดั สนิ ใจ
หมวดที่ 8 การระงับข้อพิพาท
หมวดท่ี 9 งบประมาณและการเงนิ
หมวดท่ี 10 การบรหิ ารและขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
หมวดที่ 11 อตั ลกั ษณแ์ ละสญั ลักษณข์ องอาเซยี น
หมวดท่ี 12 ความสมั พันธก์ ับภายนอก
หมวดท่ี 13 บทบญั ญัตทิ ั่วไปและบทบญั ญัติสดุ ท้าย
กฎบัตรอาเชียนชว่ ยให้อาเซียนทำงานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น เสริมสรา้ งกลไก

การติดตามความตกลงต่างๆ ใหม้ ผี ลเป็นรปู ธรรม และผลักดันอาเซยี นใหเ้ ปน็ ประชาคมเพ่อื ประชาชน
อยา่ งแทจ้ ริง

15

แบบทดสอบหลังเรยี น

รหสั วชิ า 20702 –2112 ชอื่ วชิ า การท่องเท่ียวอาเซยี น

หนว่ ยท่ี 1 ช่อื หนว่ ย ความหมายและความสำคัญของประชาคมอาเซียน 5 คะแนน

ชื่อ-สกลุ ............................................................ระดับชน้ั ..................................รหสั ...............................
คำชี้แจง จงตอบคำถามให้ถูกตอ้ ง

1. ประชาคมยอ่ ยอาเซยี น มอี ะไรบ้าง จงอธิบาย( 2 คะแนน )

2. สัญลักษณอ์ าเซยี น คอื อะไร มีความหมายอย่างไร ( 1 คะแนน )

16

3. วตั ถุประสงค์หลกั ของการกอ่ ต้งั อาเซยี น คอื อะไร ( 2 คะแนน )

17

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

1. ประชาคมยอ่ ยอาเซยี น
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มี
กรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบ
ใหมๆ่ เพือ่ ให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวย
ความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง
และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศ
อาเซยี น

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่
ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคง
ทางสังคม

2. สญั ลักษณอ์ าเซยี น “ตน้ ขา้ วสเี หลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้”

หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10
ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่
ปรากฏในสญั ลกั ษณ์ของอาเซยี น เป็นสที ี่สำคัญของธงชาติของแตล่ ะประเทศสมาชกิ อาเซียน

- สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมน่ั คง
- สแี ดง หมายถงึ ความกลา้ หาญและความก้าวหน้า
- สขี าว หมายถึง ความบริสทุ ธ์ิ
- สีเหลือง หมายถงึ ความเจริญรุง่ เรือง

18

3. วัตถปุ ระสงค์หลกั ของการก่อตั้งอาเซยี น
เพ่ือทำให้อาเซียนมตี ลาดและฐานการผลิตเดียวกนั และมกี ารเคลอ่ื นย้ายสินค้า บริการ

การลงทุน เงินทนุ และแรงงานมีฝีมืออยา่ งเสรี
1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดย
จะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการ
เคล่อื นยา้ ยเงนิ ทนุ อยา่ งเสรมี ากขึ้น
2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความสำคัญ
กับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการ
แข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการ
พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน (การเงิน การขนสง่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลงั งาน)
3. การพัฒนาเศรษฐกจิ อย่างเสมอภาค ใหม้ กี ารพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
และการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซยี นกบั ประเทศภายนอกภมู ิภาค เพ่อื ให้อาเซยี นมีทา่ ทีรว่ มกันอย่างชดั เจน


Click to View FlipBook Version