Fertilizer Waste Bin
รายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนง่ึ ของการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์
สาหรบั นักศึกษา กศน.อาเภอปัว
ดา้ นการพฒั นานวตั กรรมดา้ นส่ิงแวดล้อมประเภทการจัดการขยะมูลฝอย
ประจาปี พ.ศ.2565
ณ หอประชุมองค์การบริหารสว่ นจังหวัดลาปาง อาเภอเกาะคา จังหวัดลาปาง
โครงงาน
เรื่อง ถังขยะสร้างปุ๋ย
จดั ทาโดย
1. นายสมพงษ์ อุดอ้าย
2. นายภูวรินทร์ ปอ้ งแก้ว
3. นางสาวสุภานน กกกลาง
ครทู ปี่ รึกษา
1. นางจารวุ รรณ จนั ตะ๊ วงค์
2. นางสาวมาลินี ญาณะคา
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอปัว
สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั นา่ น
ก
บทคัดยอ่
ช่อื โครงงาน ถงั ขยะสร้างปุย๋
ชอ่ื ผู้ทาโครงงาน
1. นายสมพงษ์ อุดอา้ ย
อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
ระยะเวลาการศึกษา 2. นายภูวรนิ ทร์ ป้องแก้ว
3. นางสาวสุภานน กกกลาง
1. นางจารวุ รรณ จันตะ๊ วงค์
2. นางสาวมาลนิ ี ญาณะคา
วันที่ 7 มกราคม -7 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
การศึกษาโครงงานเร่ือง ถังขยะสร้างปุ๋ย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือประดิษฐ์ถังขยะสร้างปุ๋ยช่วยย่อย
ขยะประเภทเศษอาหารท่ีสะดวก ประหยัดเวลา ช่วยลดกลิ่น ปัญหาสัตว์แมลงรบกวน และการสะสมของ
เชื้อโรค 2) เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของถังขยะสร้างปุ๋ย 3) เพ่ือลดเวลาในการย่อยสลายของเศษ
อาหารได้เร็วขึ้น มีวิธีดาเนินการ 3 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนท่ี 1 การประดิษฐ์ถังขยะสร้างปุ๋ย โดยมีการออกแบบ
โครงสร้างถังขยะสร้างปุ๋ยการประดิษฐ์ถังขยะสร้างปุ๋ย วิธีทาตัวถังขยะสร้างปุ๋ยและวิธีทาแกนกลางถังขยะ
สรา้ งปยุ๋ นาตัวถังขยะ แกนกลาง และฐานถงั ขยะ ประกอบกนั จากน้นั ติดตั้งชุดปั๊มอากาศ และมอเตอร์เข้ากับ
ตัวแกน ข้ันตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพถังขยะสร้างปุ๋ย ได้ดาเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของ
ถังขยะสร้างปุ๋ย จานวน 5 ครั้ง โดยใส่เศษอาหารให้ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยคร้ังละ 1 ช่ัวโมง สังเกตปริมาณของ
เศษอาหารที่ย่อยได้ บันทึกผลและหาค่าเฉลี่ย ด้านคุณภาพของเศษอาหาร ได้ดาเนินการทดสอบการย่อยเศษ
อาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย จานวน 5 ครั้ง โดยใส่เศษอาหารให้ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยคร้ังละ 1 ชั่วโมง สังเกต
ขนาดของเศษอาหารท่ีย่อยได้ บันทึกผลและหาค่าเฉลี่ย ข้ันตอนที่ 3 การปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาถังขยะ
สร้างปุ๋ย โดยนาปัญหาจากการทดสอบข้ันตอนท่ี 2 จานวน 5 คร้ัง มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นาถังขยะสร้างปุ๋ย
จนได้ถังขยะสร้างปุ๋ย(เครื่องหลังปรับปรุง) แล้วเปรียบเทียบการทดสอบประสิทธิภาพ แล้วนาผลการทดสอบ
ประสิทธิภาพถังขยะสร้างปุ๋ย(เครื่องก่อนปรับปรงุ ) กับ ถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง) ด้านปริมาณของ
เศษอาหารท่ีย่อยได้ พบว่าถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องหลังปรับปรุง) สามารถย่อยเศษอาหารได้มากกว่าถังขยะ
สรา้ งปุย๋ (เครือ่ งก่อนปรับปรุง) 1.22 เทา่ ด้านขนาดของเศษอาหารพบว่าถังขยะสร้างปุ๋ย (เครอื่ งหลงั ปรับปรุง)
สามารถย่อยเศษอาหารขนาดไมเ่ กนิ 5 เซนติเมตรไดม้ ากวา่ ถังขยะสร้างปุ๋ย (เครอ่ื งกอ่ นปรับปรุง) 1.26 เท่า
ข
กติ ตกิ รรมประกาศ
การทาโครงงานเรอ่ื งถงั ขยะสร้างปุ๋ยได้รับคาแนะนาจาก ครจู ารุวรรณ จันต๊ะวงค์ ครูมาลินี ญาณะคา
และขอขอบคุณคณะบุคลากร กศน.อาเภอปัว ท่ีให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาตลอดระยะเวลาในการดาเนิน
โครงงาน จนบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านทใ่ี ห้โอกาส สง่ เสรมิ สนบั สนุนและให้คาแนะนาในด้านต่างๆ
ของการจัดทาโครงงานครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานเรื่อง ถังขยะสร้างปุ๋ย จะเป็นประโยชน์
ตอ่ การดาเนนิ ชีวิตประจาวนั และจะเกิดประโยชน์ต่อวงการศึกษาต่อไป จึงขอขอบคุณเปน็ อย่างสงู มา ณ โอกาสน้ี
คณะผู้จดั ทา
สารบญั ค
บทคัดย่อ หน้า
กติ ตกิ รรมประกาศ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบญั ภาพและแผนภูมิ ง
บทท่ี 1 บทนา จ
1.1 ที่มาและความสาคญั ของปญั หา 1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1
1.3 สมมติฐาน 1
1.4 ตัวแปรทีศ่ ึกษา 1
1.5 ขอบเขตการศกึ ษา 2
1.6 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 2
1.7 นิยามปฏบิ ัตกิ าร 2
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง
2.1 ความร้เู กี่ยวกบั การจดั การขยะมูลฝอยภายในครวั เรือน 3
2.2 ความรเู้ ก่ยี วกับขยะอินทรีย์ 3
2.3 ความรเู้ กย่ี วกับปุ๋ย 4
2.4 การย่อยสลายทางชีวภาพ 4
2.5 ความรูเ้ กย่ี วกับมอเตอร์ไฟฟา้ 5
บทท่ี 3 วิธดี าเนินการ
3.1 วสั ดุ/อุปกรณ์ 6
3.2 วิธกี ารดาเนินการ 10
บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา
4.1 ขน้ั ตอนท่ี 1 การประดิษฐ์ถงั ขยะสร้างปุ๋ย 13
4.2 ข้นั ตอนท่ี 2 การทดสอบประสทิ ธิภาพถังขยะสรา้ งปยุ๋ 14
4.3 ขนั้ ตอนที่ 3 การปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาถังขยะสร้างป๋ยุ 14
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศึกษา 18
5.2 อภปิ รายผล 19
5.3 ข้อเสนอแนะ 20
บรรณานกุ รม
ง
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 ปรมิ าณและคณุ ภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสรา้ งปยุ๋ 13
ตารางที่ 2
ปริมาณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสร้างปยุ๋
ตารางท่ี 3
(เคร่อื งหลังปรบั ปรงุ ) 15
ตารางที่ 4
การเปรียบเทยี บปริมาณของเศษอาหารที่ยอ่ ยได้จากถังขยะสรา้ งป๋ยุ
(เครอ่ื งก่อนปรับปรุง) กบั ถังขยะสรา้ งปยุ๋ (เครอื่ งหลังปรับปรงุ ) 16
การเปรียบเทียบขนาดของเศษอาหารไมเ่ กิน 5 เซนติเมตรทีไ่ ดจ้ าก
ถังขยะสรา้ งปยุ๋ (เครื่องกอ่ นปรบั ปรงุ ) กบั ถงั ขยะสร้างปยุ๋
(เครอ่ื งหลงั ปรบั ปรงุ ) 17
จ
สารบัญภาพและแผนภูมิ
ภาพท่ี 1 ตลับลกู ปนื หน้า
ภาพท่ี 2 ชุดปม๊ั อากาศ
ภาพท่ี 3 ถังพลาสติกมีฝาลอ็ ก 6
ภาพที่ 4 เหลก็ ฉากทาชนั้ 6
ภาพที่ 5 เหล็กตัวแอล 6
ภาพที่ 6 ท่อเหล็ก 7
ภาพท่ี 7 ใบมีดตดั หญ้า 7
ภาพที่ 8 มอเตอร์ 7
ภาพท่ี 9 ชุดนอ็ ตฉากยึดเหลก็ 7
ภาพที่ 10 บานพับ ขนาด 3 น้ิว 7
ภาพท่ี 11 นอ็ ตหวั แบน 8
ภาพท่ี 12 สายไฟ 8
ภาพท่ี 13 เบรกเกอร์ 8
ภาพท่ี 14 สายพาน 8
ภาพท่ี 15 มเู่ ล่ย์ 8
ภาพที่ 16 กลอนเหลี่ยมสเตนเลส 9
ภาพที่ 17 มือจบั บวั สเตนเลส 9
ภาพที่ 18 กลอนขวาง 9
ภาพที่ 19 แบบเครื่องถงั ขยะสร้างป๋ยุ 9
ภาพที่ 20 ฐานของถังขยะสร้างปุ๋ย 9
ภาพที่ 21 ตวั ถงั ขยะสรา้ ง 10
ภาพที่ 22 แกนกลางถังขยะสร้างปุ๋ย 10
ภาพที่ 23 ถงั ขยะสรา้ งปุย๋ 10
ภาพที่ 24 ถังขยะสรา้ งปุย๋ เครื่องหลังปรับปรุง 10
แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงปรมิ าณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งป๋ยุ 11
11
13
ฉ
สารบญั ภาพและแผนภูมิ(ต่อ)
หน้า
ภาพท่ี 25 ภาพท่ี 25 ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ยทป่ี ระดษิ ฐเ์ รยี บร้อยแลว้ 14
แผนภูมิท่ี 2
ภาพที่ 26 รอ้ ยละของปรมิ าณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสรา้ งปยุ๋ 14
ภาพที่ 27
แผนภูมทิ ่ี 3 เครือ่ งก่อนปรบั ปรุง 14
แผนภมู ิที่ 4 เครือ่ งหลงั ปรับปรงุ 14
แสดงปรมิ าณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสร้างปยุ๋
(เคร่อื งหลงั ปรบั ปรุง) 15
รอ้ ยละของปริมาณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสร้างปยุ๋
(เครอ่ื งหลงั ปรับปรุง) 16
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ทม่ี ำและควำมสำคญั ของปญั หำ
ปัจจุบันพบว่าปัญหาการเพ่ิมจานวนของขยะประเภทเศษอาหารเป็นปัญหาสาคัญของประเทศ
ซึ่งขยะประเภทเศษอาหารมีทุกครัวเรือน ตามโรงเรียน และตามร้านอาหารต่างๆ ในบางพ้ืนท่ีที่มีการจัดการ
ขยะประเภทเศษอาหารไม่เหมาะสมจนกลายเป็นปัญหามลภาวะส่งกล่ินเน่าเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรค
และแพรส่ ารพิษท่ีก่อให้เกดิ ปัญหาสุขภาพแก่ประชาชน
ในการจดั การขยะประเภทเศษอาหาร จาเปน็ ท่ีจะต้องมีการจัดการทเี่ หมาะสม เชน่ การทิ้งเศษอาหาร
ใส่ถุงขยะเป็นวิธีท่ีสะดวกแต่หากเก็บไม่มิดชิดอาจเจอปัญหาสัตว์หรือแมลงสกปรก กลายเป็นแหล่งสะสมเช้ือ
โรคได้ ทางเทศบาลหรอื อบต. ต้องใช้พ้นื ทจี่ านวนมากในการฝังกลบ
จากสภาพปัญหาดังกล่าว นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปัว
จังหวัดน่าน พบว่าในชมุ ชนยังขาดอุปกรณ์ในการกาจัดขยะประเภทเศษอาหารจึงมีแนวคิดประดิษฐ์ถังขยะสร้าง
ปุ๋ยขึ้น เพ่ือใช้ย่อยขยะประเภทเศษอาหารเป็นปุ๋ย ที่สะดวก ง่าย ประหยัดเวลา ลดกลิ่น ปัญหาสัตว์แมลง
รบกวนและการสะสมของเช้ือโรค
1.2. วัตถปุ ระสงค์ ในการศึกษาคร้ังนไี้ ด้กาหนดวตั ถุประสงค์ไว้ ดังนี้
1.2.1 เพ่ือประดิษฐ์ถังขยะสร้างปุ๋ยช่วยย่อยขยะประเภทเศษอาหารท่ีสะดวก ประหยัดเวลา
ชว่ ยลดกลิน่ ปญั หาสัตว์แมลงรบกวน และการสะสมของเชอื้ โรค
1.2.2 เพือ่ ทดสอบประสิทธิภาพในการใชง้ านของถังขยะสรา้ งปุ๋ย
1.2.3 เพ่อื ลดเวลาในการย่อยสลายของเศษอาหารได้เรว็ ขน้ึ
1.3. สมมติฐำน
1.3.1 ถังขยะสร้างปุ๋ยสามารถย่อยเศษอาหารได้ไม่ตา่ กว่า 2 กโิ ลกรมั ต่อช่วั โมง
1.3.2 ร้อยละ 70 ของเศษอาหารหลงั จากใชถ้ ังขยะสร้างปุย๋ ยอ่ ยมขี นาดไมเ่ กิน 5 เซนติเมตร
1.4 ตัวแปรที่ศึกษำ
ดำ้ นปริมำณของเศษอำหำร
ตัวแปรตน้ ถังขยะสรา้ งป๋ยุ
ตวั แปรตำม ปรมิ าณของเศษอาหารท่ยี ่อยได้
ตัวแปรควบคมุ
- ประเภทและขนาดของเศษอาหาร
- ระยะเวลาในการทดสอบ 1 ช่วั โมง
2
ด้ำนคณุ ภำพของเศษอำหำร
ตัวแปรตน้ ถังขยะสร้างป๋ยุ
ตวั แปรตำม ขนาดของเศษอาหารท่ยี อ่ ยได้
ตัวแปรควบคมุ
- ประเภทและขนาดของเศษอาหาร
- ระยะเวลาในการทดสอบ 1 ช่วั โมง
1.5 ขอบเขตกำรศึกษำ ในการศกึ ษาคร้ังนีม้ ขี อบเขตการศกึ ษา ดังน้ี
1.5.1 สิ่งที่ศกึ ษำ
- ถังขยะสร้างปุ๋ย เป็นถังขยะที่ทาจากเหล็กโครงเหล็กยึดติดกับถังพลาสติก มีช่องสาหรับ
ใส่เศษอาหารใช้เหลก็ ทอ่ แปบ๊ ทม่ี ีใบมีดและทีค่ นเศษอาหารเปน็ แกนตอ่ กับมอเตอร์เพื่อใชใ้ นการย่อยเศษอาหาร
1.5.2 กล่มุ ตวั อยำ่ ง เศษอาหารในครวั เรอื น
1.5.3 ระยะเวลำ วนั ท่ี 7 -27 มกราคม พ.ศ. 2565
1.5.4 สถำนท่ี กศน.ตาบลสถาน อาเภอปัว จงั หวดั น่าน
1.6 ประโยชนท์ ่คี ำดวำ่ จะได้รับ
1.6.1 ไดถ้ ังขยะสรา้ งปุย๋ ทใ่ี ช้งานสะดวก ปลอดภัย ประหยดั เวลา ชว่ ยทนุ่ แรงในการย่อยเศษอาหารได้
1.6.2 ได้ถังขยะสร้างปุ๋ยที่มีต้นทุนต่า ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น ต่อประกอบง่าย ชาวบ้านสามารถ
ทาเองได้
1.6.3 ไดถ้ งั ขยะสร้างปุ๋ยตน้ แบบ ท่ีสามารถนาไปเผยแพร่กับชมุ ชน
1.6.4 เป็นถังขยะสร้างปุ๋ยทีส่ ามารถนาไปต่อยอด เพ่ือผลิตเป็นอุปกรณ์ที่ทันสมยั และมีประสิทธิภาพมาก
ย่ิงขน้ึ ได้
1.7 นิยำมปฏิบัติกำร
1.7.1 ถังขยะสร้ำงปุ๋ย หมำยถึง ภาชนะที่ทาจากเหล็กโครงเหล็กยัดติดกับถังพลาสติก มีช่องสาหรับ
ใส่เศษอาหาร ใช้เหล็กท่อแป๊บท่ีมีใบมีดและที่คนเศษอาหารเป็นแกนต่อกับมอเตอร์เพ่ือใช้ในการย่อยขยะ
ประเภทเศษอาหาร ที่สะดวก ง่าย และประหยัดเวลา ช่วยลดกลิ่น ปัญหาสัตว์ แมลงรบกวนและการสะสมของ
เชือ้ โรค
1.7.2 เศษอำหำร หมำยถึง อาหาร พืชผัก เศษเนื้อสัตว์ เศษส่ิงของเหลือจากการประกอบอาหาร
หรอื เศษท่เี หลอื จากการรับประทาน ทไี่ มต่ อ้ งการแลว้
1.7.3 ปุ๋ย หมำยถึง ผลผลิตหรือส่ิงท่ีได้จากการย่อยเศษอาหาร พืชผัก เศษเน้ือสัตว์ เศษสิ่งของ ที่ได้
จากการยอ่ ยดว้ ยถังขยะสร้างป๋ยุ
บทท่ี 2
เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง
ในการศึกษาโครงงานเรื่อง ถังขยะสร้างปุ๋ย ของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอปัว จังหวัดน่าน ได้ค้นคว้า รวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องและจากเว็บไซด์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เพื่อเป็นแนวทางในการสง่ิ ประดษิ ฐ์ ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย ดงั หวั ข้อตอ่ ไปน้ี
2.1 ความรูเ้ ก่ียวกับการจดั การขยะมูลฝอยภายในครัวเรอื น
2.2 ความรู้เกีย่ วกับขยะอินทรีย์
2.3 ความรเู้ กย่ี วกบั ปุ๋ย
2.4 การย่อยสลายทางชวี ภาพ
2.5 ความรเู้ กย่ี วกบั มอเตอรไ์ ฟฟ้า
2.1 ความรูเ้ กย่ี วกับการจดั การขยะมูลฝอยภายในครัวเรอื น
การจัดการขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน ขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนภายในชุมชนส่วนใหญ่เกิดจากอาคาร
บ้านเรือน และแหล่งชุมชน ขยะมูลฝอยท่ีเกิดในแต่ละวัน ส่วนใหญ่เป็นประเภทขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก
เช่น เศษอาหาร เศษเนื้อสัตว์ เศษผัก และเปลือกผลไม้ ซ่ึงประชาชนส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการขยะมูลฝอย
ด้วยตนเอง และยังไม่ให้ความสาคัญในการคัดแยกประเภทของขยะมูลฝอย ครัวเรือนบางส่วนอยู่ในพื้นที่ท่ีองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถนิ่ มีระบบเก็บ ขน และการจัดขยะมูลฝอย แตค่ รวั เรือนบางสว่ นยงั ไมอ่ ย่ใู นพืน้ ทที่ ี่องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถน่ิ มรี ะบบเก็บ ขน และการจัดขยะมูลฝอย จึงดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยดว้ ยตนเองด้วยวิธีการกองเผา
หรือวิธีการเก็บใส่ถุง รวมกับขยะมูลฝอย ประเภทอื่นๆ แล้วนา ไปทิ้งตามที่สาธารณะริมทางเดิน
ข้างถนน สนามหญ้า ใต้ต้นไม้ และแหล่งน้า ส่งผลกระทบท่ีตามมาก็คือ ปัญหากลิ่นเหม็นของกองขยะมูลฝอย
ปัญหาแมลงวัน และสัตว์น้า โรคชนิดต่างๆ ปัญหาควันไฟจากการเผาขยะมูลฝอยปัญหาน้าเสีย ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ี
ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และสุขภาพของประชาชนโดยตรงและคาดว่าในอนาคตปริมาณขยะมูลฝอยจะมี
แนวโน้นเพิ่มมากขึ้น หากไม่มีมาตรการหรือแนวทางในการ แก้ไขท่ีเหมาะสม เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร
และการ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติท่ีเพม่ิ ข้นึ
2.2 ความร้เู ก่ยี วกับขยะอินทรีย์
2.2.1 ความหมายขยะอนิ ทรีย์
ขยะอินทรีย (organic waste) คือ ขยะท่ีสามารถยอยสลายไดดวยขบวนการทางชีวภาพ โดยมี
จลุ นิ ทรยี ทาหนาทย่ี อยสลาย เชน เศษอาหาร เศษพชื ผักและผลไมเศษหญา เศษใบไมและก่ิงไมรวมท้งั ซากสัตวและ
มูลสตั วตางๆ เปนตน ขยะประเภทนีส้ ามารถนากลบั มาใชประโยชนในรูป ของการนามาหมักทาปุย หรอื นามาใชเป
นแหลงพลงั งานความรอนซงึ่ ถอื วาเปนพลังงานทดแทน ประเภทหนง่ึ ได้
4
2.2.2 ความสาคญั ของการจดั การขยะอนิ ทรีย์
จากการศึกษาองค์ประกอบขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ 2551 พบว่า ขยะมูลฝอยชุมชน
มีองค์ประกอบของขยะอินทรีย์มากที่สุดถึงร้อยละ 64 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท้ังหมด รองลงมาคือขยะที่
สามารถนากลับใช้ใหม่ (Recycle Waste) เท่ากับร้อยละ 30 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท้ังหมด
และปริมาณขยะอันตรายและขยะทั่วไปมีปริมาณท่ีเท่ากัน คือ ร้อยละ 3 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท้ังหมด
ซึ่งหากจัดการขยะอินทรีย์ (Organic Waste) และขยะที่สามารถนากลับใช้ใหม่ (Recycle Waste) ดังนั้นขยะมูล
ฝอยชุมชน ที่ต้องนาส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไปกาจัด เพียงร้อยละ 6 ของ ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน
ท้ังหมด ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประหยัดงบประมาณการดาเนินการ จัดการขยะมูลฝอย และลด
ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนเข้าสู่สถานที่กาจัดขยะมูลฝอย และขยะอินทรีย์ (Organic Waste) หากดาเนินการ
จัดการไม่ถูกต้องอาจส่งผลกระทบก่อให้เกิดโรคติดต่อจากอาหารและน้า รวมท้ังส่งกล่ินเหม็นรบกวนจนเป็นเหตุ
ราคาญในอนาคตได้
2.3 ความร้เู กย่ี วกบั ปุย๋
ปุ๋ย (Fertilizer) หมายถึง วัตถุหรือสารท่ีใส่ลงไปในดิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการปลดปล่อยธาตุ
อาหารท่ีจาเป็นของพืช โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน และโพแทสเซยี ม เพือ่ ให้พชื ได้รบั ธาตุอาหารในปริมาณท่เี พียงพอ
และมีความสมดุลต่อความต้องการ จะส่งผลให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูงข้ึน (โครงการสาราณุ
กรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ ฉบับอิเลก็ ทรอนิกส์, 2545)
ตามพระราชบัญญตั ิปุ๋ย (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2550 ไดใ้ ห้คาจากัดความวา่ ปยุ๋ หมายถงึ สารอินทรีย์ สารอนิ ทรยี ์
สังเคราะห์ อนินทรีย์ หรือจุลินทรีย์ ซ่ึงสามารถใช้เป็นธาตุอาหารสาหรับพืชหรืออาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมี กายภาพ หรือชวี ภาพในดิน เพ่อื บารุงให้พืชเกิดการเตบิ โต (กรมวิชาการเกษตร,2551)
2.4 การย่อยสลายทางชีวภาพ
การย่อยสลายทางชีวภาพหรือการสลายตัวทางชีวภาพ คือสารเคมีที่สลายตัวของวัสดุจากเชื้อแบคทีเรีย
หรือทางชีวภาพอื่น ๆ โดยมีความสัมพันธ์กับระบบนิเวศ การจัดการขยะ ชีวการแพทย์ และสภาพแวดล้อม
ทางชีวภาพ ซ่ึงเก่ียวข้องกับผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมท่ีสามารถย่อยสลายกลับไปเป็นธาตุตามธรรมชาติ
สารอินทรีย์จะถูกย่อยสลายด้วยออกซิเจน หรือไม่ใช้ออกซิเจนการย่อยสลายทางชีวภาพ คือกระบวนการที่นา
สารอนิ ทรยี ์มาทาปฏิกริ ยิ ากบั สารอนนิ ทรยี ์ ทาให้ย่อยสลายได้ ซ่ึงอนิ ทรียวัตถจุ ะเปลี่ยนเป็นแร่ธาตุ สารลดแรงตึงผิว
ซ่ึงจะหลั่งออกมายังผิวด้านนอกโดยการทางานของเซลลจ์ ุลินทรีย์ เพื่อเพ่ิมกระบวนการย่อยสลายทางชีวภาพ การ
ย่อยสลายทางทั่วไปใช้อินทรีย์วัตถุ เช่น พืชสัตว์ และสารอ่ืนๆ ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต หรือวัตถุที่มีความคล้ายคลึงกับ
พืช และสัตว์ ท่ีทาให้จุลินทรีย์สามารถนาไปใช้ได้ จุลินทรีย์บางชนิดเกิดข้ึนตามธรรมชาติ โดยจุลินทรีย์
มีความหลากหลายในกระบวนการสร้าง นาไปสู่การย่อยสลาย การเปล่ียนรูปแบบ หรือสะสมในรูปสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน เช่น น้ามัน โพลีคลอริเนตไบฟีนิล (PCBs) โพลิอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) สารทางยา
สารกัมมันตรังสี และโลหะหนักนวัตกรรมวิธีการท่ีสาคัญในการย่อยสลายของจุลินทรีย์ได้เปิดเผยรายละเอียด
5
ด้านข้อมูลทางพันธุกรรม การศึกษาสารพันธุกรรมทั้งหมดของจุลินทรีย์ การศึกษาด้านโปรตีนทั้งหมดที่มีในรหัส
พันธุกรรม ชีวสารสนเทศ การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมของจุลินทรีย์ระดับสูง เพื่อนาไปสู่กระบวนการย่อยสลาย
ทางชวี ภาพ
2.5 ความรู้เกี่ยวกับมอเตอร์ไฟฟา้
มอเตอร์ไฟฟ้า (Electrical Motor) นิยม บัวไพรจิตร (ม.ม.ป. : ออนไลน์) ได้ให้รายละเอียดเก่ียวกับ
มอเตอร์ไฟฟ้าไว้ว่า มอร์เตอร์ไฟฟ้า (Electrical Motor) เป็นเคร่ืองจักรกลไฟฟ้าที่เปล่ียนพลังงานกลท่ีแกนเพลา
(Shaft) หมนุ เพอ่ื ใช้เปน็ ต้นกาลังสาหรับขบั เคล่ือนในระบบงานต่างๆ
2.5.1 หลักการพื้นฐานการทางานของมอเตอร์ หลักการพ้ืนฐานของมอเตอร์ใชห้ ลักการของสนามแม่เหล็ก
ท่ีมีข้ัวต่างกันเมื่ออยู่ใกล้กันจะมีแรงดูดเข้าหากัน และเม่ือข้ัวเหมือนกันจะมีแรงผลักให้แยกออกจากกัน แล้วจัดทา
โครงสร้างของมอเตอร์เป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีอยู่กับที่ (Stator) และส่วนหมุน (Rotor) ส่วนวิธีการให้ส่วนหมุน
เกดิ การเคล่ือนทห่ี รอื หมุนทาได้ 2 วธิ คี อื
2.5.1.1 ป้อนแรงดนั ไฟฟา้ ให้เกิดขัว้ แม่เหล็กไฟฟ้าทีส่ ว่ นหมุนเปลี่ยนแปลง
2.5.1.2 ปอ้ นแรงดันไฟฟ้าให้เกดิ ขวั้ แม่เหล็กไฟฟ้าทีส่ ่วนอยู่กบั ที่เปล่ียนแปลง
2.5.2 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Motor) เป็นมอเตอร์ที่ใช้กับแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับแบบที่นิยมใช้
มี 2 ประเภท คอื อินคดั ช่นั มอเตอร์ (Induction Motor) และซิงโครนัสมอเตอร์ (Synchronous Motor)
2.5.2.1 อินคัดชั่นมอเตอร์ (Induction Motor) เป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับที่นิยมใช้มาก
เนอื่ งจากมโี ครงสร้างง่ายๆ ราคาถกู และบารุงรักษาไมย่ งุ่ ยาก
2.5.2.2 ซิงโครนัสมอเตอร์ (Synchronous Motor) เป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับที่มีความเร็ว
รอบการหมุนของส่วนหมุนเท่ากบั ความเรว็ ของสนามแม่เหลก็ หมนุ ในส่วนอยู่กบั ที่
2.5.3 มอเตอร์กระแสตรง (DC Motor) นิยมใช้ในงานท่ีต้องการควบคุมความเร็ว เช่น ในลิฟท์
รถไฟฟ้า ฯลฯ
2.5.3.1 มอเตอร์แบบอนุกรม (Serise Motor) คุณสมบัติคือมีแรงบิดสูงมากแม้โหลดที่แกน
มอเตอร์ยังสามารถหมุนได้ แต่ความเร็วรอบจะลดลง การนาไปใช้งานนิยมนาไปใช้เป็นมอเตอร์สตาร์ทเครื่องยนต์
มอเตอรย์ กของ มอเตอร์ขับเคล่อื นรถไฟฟา้ เป็นตน้
2.5.3.2 ช้ันท์มอเตอร์ (Shunt Motor) คุณสมบัติคือมีแรงบิดปานกลางและมีความเร็วรอบคงท่ี
การนาไปใชง้ านนิยมนาไปใชเ้ ป็นมอเตอรเ์ ครอ่ื งเจาะ มอเตอรเ์ คร่ืองกลึง เปน็ ตน้
2.5.3.3 มอเตอร์ประสม (Compound Motor) คุณสมบัติคือมีแรงบิดมากกว่าช้ันมอเตอร์
แต่ไม่เท่ากับมอเตอร์อนุกรม มีความเร็วการหมุนของมอเตอร์คงที่ดีกว่ามอเตอร์อนุกรมแต่ไม่เท่ากับชั้นมอเตอร์
การนาไปใช้งานนยิ มนาไปใชเ้ ปน็ มอเตอรเ์ คร่ืองตัดโลหะ มอเตอร์เครอ่ื งกดอดั เปน็ ต้น
บทท่ี 3
วธิ ีดำเนนิ กำร
ในการจัดทาโครงงาน เรื่อง ถังขยะสร้างปุ๋ย ของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อาเภอปัว จังหวัดน่าน ได้ศึกษาค้นคว้า หาวสั ดุ อุปกรณ์ พร้อมท้ังสรุปขั้นตอนการดาเนินงานการ
ทาถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1.วสั ดุ/อุปกรณ์ จานวน 2 ชดุ
1. ตลบั ลูกปนื
ภาพที่ 1 ตลบั ลกู ปืน
2. ชดุ ปัม๊ อากาศ จานวน 1 ชดุ
ภาพที่ 2 ชดุ ปม๊ั อากาศ จานวน 1 ถัง
3. ถงั พลาสติกมีฝาล็อก
ภาพที่ 3 ถังพลาสติกมีฝาลอ็ ก
7
4. เหล็กฉากทาช้ัน จานวน 2 แทง่
ภาพท่ี 4 เหล็กฉากทาช้ัน
5. เหล็กตวั แอล จานวน 4 ช้ิน
ภาพท่ี 5 เหลก็ ตัวแอล
6. ท่อเหลก็ จานวน 1 แท่ง
ภาพท่ี 6 ท่อเหล็ก
7. ใบมีดตัดหญ้า จานวน 3 อัน
ภาพท่ี 7 ใบมีดตดั หญ้า
8. มอเตอร์ จานวน 1 ตวั
ภาพท่ี 8 มอเตอร์
8
9. ชดุ น็อตฉากยึดเหลก็ จานวน 1 ชดุ
ภาพที่ 9 ชดุ นอ็ ตฉากยดึ เหล็ก
10. บานพับ ขนาด 3 น้ิว จานวน 2 ตวั
11. นอ็ ตหวั แบน ภาพที่ 10 บานพับ ขนาด 3 นิ้ว
จานวน 1 ถุง
ภาพที่ 11 นอ็ ตหวั แบน
12. สายไฟ จานวน 1 ชุด
ภาพที่ 12 สายไฟ
13. เบรกเกอร์ จานวน 1 ตวั
ภาพท่ี 13 เบรกเกอร์
9
14. สายพาน จานวน 1 เส้น
ภาพที่ 14 สายพาน
15. มเู่ ล่ย์ จานวน 1 อัน
ภาพที่ 15 มูเล่ย์ จานวน 1 อัน
16. กลอนเหลี่ยมสเตนเลส
ภาพท่ี 16 กลอนเหลยี่ มสเตนเลสสาหรบั ติดดา้ นหน้า
17. มือจับบัวสเตนเลส จานวน 1 อัน
ภาพที่ 17 มือจบั บัวสเตนเลส
18. กลอนขวาง จานวน 1 ชุด
ภาพท่ี 18 กลอนขวาง
10
3.2 วธิ ีกำรดำเนนิ กำร มขี ั้นตอนในการดาเนนิ งาน 3 ข้ันตอน แตล่ ะขน้ั ตอนมีวธิ ดี าเนนิ การ ดงั น้ี
ข้ันตอนที่ 1 กำรประดิษฐ์ถังขยะสร้ำงปุ๋ย
1.1 กำรออกแบบโครงสร้ำงถังขยะสร้ำงปยุ๋ ดังภาพที่ 19
ภาพท่ี 19 แบบเคร่อื งถงั ขยะสร้าง
1.2 กำรประดิษฐ์ถงัปขุ๋ยยะสรำ้ งป๋ยุ มีขั้นตอนการทา ดังนี้
1.2.1 นาเหล็กฉากทาช้ันมาวัดและตัดให้ได้ขนาด 75 เซนติเมตร จานวน 4 แท่ง ขนาด 31.5
เซนติเมตร จานวน 6 แท่ง และขนาด 53 เซนติเมตร จานวน 6 แท่ง จากนั้นนามาประกอบกันโดยใช้ชุดน็อตฉาก
ยึดเหลก็ เพือ่ สร้างเป็นฐานของถังขยะสรา้ งป๋ยุ ลกั ษณะดงั ภาพท่ี 20
ภาพที่ 20 ฐานของถงั ขยะสร้างปุ๋ย
1.2.2 วิธีทาตัวถังขยะสร้างปุ๋ย เจาะรูทั้งด้านบนของถังพลาสติก ความกว้าง 20 เซนติเมตร
และความยาว 15 เซนติเมตร ติดบานพับ 2 ตัว มือจับบัวสเตนเลสและกลอนเหลี่ยมสเตนเลส
เพ่ือสามารถปิด-เปิดช่องสาหรับใส่เศษอาหารได้ ลักษณะดังภาพที่ 21
ภาพที่ 21 ตัวถังขยะสร้าง
1.2.3 วธิ ที าแกนกลางปถุ๋ยังขกยระะดสารน้าไงผป่ ๋ยุ ตดั ท่อแปบ๊ ขนาด 80 เซนติเมตร และตดิ ต้งั ใบมีด เขา้ กบั ท่อ
แป๊บแลว้ ทายดึ ดว้ ยน็อต ดังภาพที่ 22
ภาพที่ 22 แกนกลางถังขยะสรา้ งปุ๋ย
11
1.2.4 นาตัวถังขยะ แกนกลาง และฐานถังขยะ ประกอบกัน จากนั้นติดตั้งชุดป๊ัมอากาศ
เบรกเกอร์ สายไฟ มอเตอร์ มเู่ ล่ย์ สายพาน และดงั ภาพท่ี 23
ภาพที่ 23 ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย
ขน้ั ตอนท่ี 2 กำรทดสอบประสิทธิภำพถงั ขยะสรำ้ งปุ๋ย ได้ดาเนินการ ดังนี้
ด้ำนปริมำณของเศษอำหำร
1. เตรยี มเศษอาหารเพ่ือใชส้ าหรับทดสอบ
2. ทดสอบประสทิ ธภิ าพถังขยะสร้างปยุ๋
3. สังเกตปริมาณการย่อยของเศษอาหารที่ผ่านกระบวนการทางานของถังขยะสร้างปุ๋ย
บันทกึ ผล แล้วหาค่าเฉลยี่
ดำ้ นคุณภำพของเศษอำหำร
1. เตรยี มเศษอาหาร เพ่อื ใชส้ าหรับทดสอบ
2. ทดสอบประสิทธิภาพถงั ขยะสรา้ งปยุ๋
3. สังเกตขนาดของเศษอาหารท่ีผา่ นกระบวนการทางานของถังขยะสร้างปุ๋ย โดยดจู ากขนาดของ
เศษอาหารที่อยู่ถังขยะสร้างปุย๋ บนั ทึกผล แล้วหาคา่ เฉลี่ย
ข้ันตอนท่ี 3 กำรปรบั ปรุง แกไ้ ขและพัฒนำถงั ขยะสรำ้ งปุ๋ย ได้ดาเนินการดังน้ี
1. นาปัญหาและข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาถังขยะสร้างปุ๋ย จากการทดสอบ
ประสทิ ธภิ าพถังขยะสร้างป๋ยุ 5 ครงั้ มาสรุปแนวทางการปรับปรุง แกไ้ ขและสิง่ ท่คี วรพัฒนาถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย
2. ดาเนนิ การปรับปรุง และพัฒนาถังขยะสร้างปุ๋ย ดงั ภาพที่ 24
ภาพท่ี 24 ถงั ขยะสรา้ งปยุ๋ เครื่องหลงั ปรบั ปรงุ
3. ทดสอบประสิทธิภาพของถังขยะสร้างปุ๋ยเคร่ืองหลังปรับปรุง จานวน 5 คร้ัง โดยทดสอบป่ัน
เศษอาหารครั้งละ 1 ช่ัวโมง แล้วเปรียบเทียบปริมาณเศษอาหารและขนาดของเศษอาหารท่ีได้ (ความสั้นและ
ความยาว) กับถังขยะสรา้ งปุย๋ เคร่อื งกอ่ นปรับปรงุ แล้วบนั ทึกผล
บทที่ 4
ผลการศึกษา
จากการศึกษาโครงงานเรื่อง ถงั ขยะสร้างปุ๋ย ได้ทาการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ
ขน้ั ตอนท่ี 1 การประดิษฐ์ถงั ขยะสรา้ งปุย๋
ขนั้ ตอนท่ี 2 การทดสอบประสทิ ธิภาพถงั ขยะสร้างปุ๋ย
ขั้นตอนที่ 3 การปรบั ปรุง แก้ไขและพฒั นาถงั ขยะสรา้ งป๋ยุ
4.1 ขน้ั ตอนท่ี 1 การประดิษฐ์ถังขยะสรา้ งปุ๋ย
ได้ออกแบบและประดิษฐ์ถังขยะสร้างปุ๋ย เพ่ือให้ได้ถังขยะสร้างปุ๋ย ท่ีมีความเหมาะสมกับการใช้งาน
ดังภาพที่ 25
ภาพที่ 25 ถังขยะสร้างปุย๋ ทป่ี ระดิษฐเ์ รยี บร้อยแล้ว
ลักษณะเด่นของถงั ขยะสรา้ งปยุ๋
1. สามารถยอ่ ยสลายเศษอาหารได้ ปรมิ าณ ไมต่ า่ กว่า 2 กโิ ลกรมั /ช่ัวโมง
2. ร้อยละ 70 ของเศษอาหารหลังจากใชถ้ ังขยะสรา้ งป๋ยุ ย่อยมีขนาดไมเ่ กนิ 5 เซนติเมตร
3. ประหยดั เน้ือที่ และสามารถใช้ไดท้ ุกพน้ื ท่ี
4. วสั ดุท่ใี ชท้ าสามารถหาซ้ือไดง้ ่าย
5. ทนทาน แข็งแรง ใชง้ านไดน้ าน
ประโยชน์ของถังขยะสร้างปุ๋ย
1. ประหยดั เวลาในการย่อยสลายเศษอาหาร
2. ลดปัญหามลภาวะกลนิ่ เนา่ เหมน็ แหลง่ เพาะพันธ์ุเชื้อโรคและสารพษิ ทก่ี ่อให้เกิดปัญหาสุขภาพได้
3. มคี วามปลอดภัยสามารถลดอุบัตเิ หตุท่เี กิดจากการใชม้ ดี
4. ย่อยเศษอาหารได้คร้ังละปรมิ าณมาก
13
4.2 ข้นั ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพถงั ขยะสร้างปุ๋ย
ดา้ นปรมิ าณและคุณภาพของเศษอาหาร
ได้ดาเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย จานวน 5 ครั้ง โดยใส่เศษอาหารให้
ถงั ขยะสร้างปุ๋ยย่อยครัง้ ละ 1 ช่ัวโมง ไดผ้ ลดังนี้
ตารางที่ 1 ปรมิ าณและคณุ ภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งปุ๋ย
คร้งั ที่ ระยะเวลา ปริมาณของ ขนาดเศษอาหารทย่ี ่อยได้ คิดเป็น
ในการ เศษอาหารท่ี รอ้ ยละ
ทดสอบ ใช้ในการ น้อยกว่า 5 ซม. คดิ เปน็ มากกวา่ 5 ซม.
(กก.) ร้อยละ (กก.) 9.52
ทดสอบ
1 1 ชัว่ โมง 2.10 1.90 90.48 0.20
2 1 ช่วั โมง 2.20 2.00 90.91 0.20 9.09
3 1 ชัว่ โมง 2.20 2.00 90.91 0.20 9.09
4 1 ชว่ั โมง 2.20 2.10 95.45 0.10 4.55
5 1 ชว่ั โมง 2.20 2.10 95.45 0.10 4.55
ค่าเฉล่ีย (ร้อยละ) 2.18 2.02 92.66 0.16 7.34
จากตารางท่ี 1 พบว่าเวลา 1 ชั่วโมง ปริมาณเศษอาหารท่ีถังขยะสร้างปุ๋ยสามารถย่อยเศษอาหารได้
เฉล่ียคร้ังละ 2.18 กิโลกรัม โดยมีขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร เฉล่ีย 2.02 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 92.66
ของปริมาณเศษอาหารทั้งหมดที่ย่อยได้ และ ปริมาณที่ถังขยะสร้างปุ๋ย สามารถย่อยได้แต่ขนาดมากกว่า 5
เซนติเมตร เฉล่ีย 0.16 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 7.34 ของเศษอาหารทั้งหมดท่ีย่อยได้ ซึ่งสามารถแสดงเป็น
แผนภมู ิได้ ดังแผนภูมิที่ 1 และแผนภูมิท่ี 2
แผนภมู ิที่ 1 แสดงปริมาณและคุณภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งปุ๋ย
แสดงปรมิ าณและคุณภาพการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย
ปริมาณ เศษอาหาร กก. 010221......550005000000 ครัง้ ท5่ี
ครัง้ ท1่ี ครั้งท2ี่ ครงั้ ท3ี่ ครงั้ ท4่ี 2.20
2.10
เศษอาหารยอ่ ยได้ 2.10 2.20 2.20 2.20 0.10
ขนาดนอ้ ยกว่า 5 ซม. 1.90 2.00 2.00 2.10
ขนาดมากกวา่ 5 ซม. 0.20 0.20 0.20 0.10
เศษอาหารย่อยได้ ขนาดนอ้ ยกว่า 5 ซม. ขนาดมากกวา่ 5 ซม.
14
แผนภูมิท่ี 2 ร้อยละของปริมาณและคณุ ภาพการย่อยเศษอาหารของถงั ขยะสรา้ งปยุ๋ร้อยละ
ร้อยละของปรมิ าณและคณุ ภาพการย่อยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งป๋ยุ
150.00
100.00 90.48 90.91 90.91 95.45 95.45
50.00
0.00 9.52 9.09 9.09 4.55 4.55
ครั้งท1ี่ ครง้ั ท2ี่ ครัง้ ท3ี่ ครง้ั ท4ี่ คร้ังท5่ี
รอ้ ยละทีม่ ขี นาดน้อยกว่า 5 ซม ร้อยละทีม่ ขี นาดมากกวา่ 5 ซม
4.3 ขั้นตอนที่ 3 การปรับปรงุ แก้ไขและพฒั นาถงั ขยะสรา้ งป๋ยุ
ผลการทดสอบใช้ถังขยะสร้างปุ๋ยก่อนปรับปรุง
ปัญหา การปรบั ปรุง/แกไ้ ข
1. ขณะทาการทดลองปัน่ ถังขยะสรา้ งปุ๋ย มอเตอร์ที่ใช้ 1. เปลีย่ นมอเตอร์ท่ีมีขนาดกาลังแรงหมนุ มากข้นึ
ไม่สามารถปั่นเศษอาหารได้คร้ังละมากๆ ได้ ต้อง 2. ตดิ ตง้ั ท่คี นเศษอาหาร เพื่อช่วยให้คนเศษอาหาร
ทยอยใสท่ ลี ะนดิ เนื่องจากกาลงั แรงหมนุ ของ ไดท้ วั่ ถงึ
มอเตอร์ไมเ่ พียงพอ 3. ปรับตัวถงั ขยะสร้างปุ๋ยให้สามารถหมุนชอ่ งท่ี
2. เศษอาหารที่ป่นั ได้ บางชิ้นยังมีขนาดเกิน 5 สาหรับใส/่ ออกเศษอาหารใหอ้ ยูด่ า้ นขา้ งได้
เซนติเมตร เน่ืองจากมีเศษอาหารบางส่วนไมโ่ ดน
ใบมีดขนาดทาการปั่น
3. นาเศษอาหารท่ีปัน่ เสรจ็ แลว้ ตักออกยาก เนื่องจาก
ชอ่ งสาหรบั ใส่/ออกเศษอาหารอยดู่ ้านบน
ผลการปรบั ปรุง แก้ไข และพฒั นาถังขยะสรา้ งป๋ยุ
ได้นาปัญหาจากการทดสอบ จานวน 5 คร้ัง นามาปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาถังขยะสร้างปุ๋ย เพ่ือให้
เคร่อื งมปี ระสิทธภิ าพทดี่ ี สามารถใชง้ านไดด้ ยี งิ่ ขึน้ โดยได้ดาเนินการปรบั ปรุง ดงั นี้
1. เปลย่ี นมอเตอร์ทมี่ ีขนาดกาลงั แรงหมุนมากข้ึน
2. ตดิ ตง้ั ท่ีคนเศษอาหาร เพ่ือช่วยให้คนเศษอาหารไดท้ ัว่ ถึงมากขนึ้
3. ปรบั ตัวถังขยะสรา้ งปุ๋ยใหส้ ามารถหมุนชอ่ งที่สาหรับใส/่ ออกเศษอาหารให้อยู่ดา้ นขา้ งได้
ภาพที่ 26 เครือ่ งก่อนปรับปรุง ภาพท่ี 27 เคร่อื งหลงั ปรบั ปรุง
15
การทดสอบประสทิ ธภิ าพถังขยะสร้างปยุ๋ (เครอื่ งหลงั ปรบั ปรุง)
ด้านปรมิ าณและคณุ ภาพของเศษอาหาร
ได้ดาเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องหลังปรับปรุง) จานวน 5 คร้ัง
โดยใสเ่ ศษอาหารใหถ้ งั ขยะสร้างปยุ๋ ย่อยคร้ังละ 1 ช่ัวโมง ไดผ้ ลดังน้ี
ตารางที่ 2 ปริมาณและคณุ ภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งปุ๋ย (เคร่อื งหลังปรบั ปรุง)
ระยะเวลา ปริมาณของ ขนาดเศษอาหารที่ย่อยได้
คร้งั ท่ี ในการ เศษอาหารที่ใช้ นอ้ ยกวา่ 5 ซม. คิดเป็น มากกว่า 5 ซม. คดิ เปน็
ทดสอบ ในการทดสอบ (กก.) ร้อยละ (กก.) รอ้ ยละ
1 1 ช่วั โมง 2.50 2.30 92.00 0.20 8.00
2 1 ชวั่ โมง 2.60 2.50 96.15 0.10 3.85
3 1 ชั่วโมง 2.60 2.50 96.15 0.10 3.85
4 1 ช่วั โมง 2.80 2.70 96.43 0.10 3.57
5 1 ชว่ั โมง 2.80 2.70 96.43 0.10 3.57
ค่าเฉลย่ี (รอ้ ยละ) 2.66 2.54 95.49 0.12 4.51
จากตารางท่ี 2 พบว่าเวลา 1 ชั่วโมง ปริมาณเศษอาหารท่ีถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องหลังปรับปรุง)
สามารถย่อยเศษอาหารได้ เฉลี่ยคร้ังละ 2.66 กิโลกรัม โดยมีขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร เฉลี่ย 2.54 กิโลกรัม
คิดเป็นร้อยละ 95.49 ของปริมาณเศษอาหารท้ังหมดที่ย่อยได้ และ ปริมาณเศษอาหารที่ถังขยะสร้างปุ๋ย
(เคร่ืองหลังปรับปรุง) สามารถยอ่ ยได้แต่ขนาดมากกว่า 5 เซนตเิ มตร เฉลย่ี 0.12 กิโลกรัม คิดเป็นรอ้ ยละ 4.51
ของเศษอาหารท้งั หมดทยี่ อ่ ยได้ ซึง่ สามารถแสดงเป็นแผนภูมไิ ด้ ดังแผนภมู ิที่ 3 และแผนภมู ิท่ี 4
แผนภูมิท่ี 3 แสดงปริมาณและคุณภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งปุ๋ย (เครอื่ งหลังปรับปรงุ )
ป ิรมาณ เศษอาหาร กก.แสดงปริมาณและคุณภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสรา้ งปุ๋ย(เคร่อื งหลงั ปรับปรุง)
3.00
2.00
1.00
-
ครัง้ ท1่ี ครัง้ ท2ี่ คร้ังท3่ี คร้งั ท4่ี ครงั้ ท5่ี
เศษอาหารยอ่ ยได้ 2.50 2.60 2.60 2.80 2.80
ขนาดนอ้ ยกวา่ 5 ซม. 2.30 2.50 2.50 2.70 2.70
ขนาดมากกว่า 5 ซม. 0.20 0.10 0.10 0.10 0.10
เศษอาหารยอ่ ยได้ ขนาดน้อยกวา่ 5 ซม. ขนาดมากกวา่ 5 ซม.
16ร้อยละ
แผนภูมิที่ 4 รอ้ ยละของปริมาณและคณุ ภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถังขยะสร้างปยุ๋ (เครื่องหลังปรับปรงุ )
ร้อยละของปรมิ าณและคุณภาพการยอ่ ยเศษอาหารของถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย
(เครื่องหลังปรบั ปรุง)
150.00
100.00 92.00 96.15 96.15 96.43 96.43
50.00
0.00 8.00 3.85 3.85 3.57 3.57
ครัง้ ท1ี่ ครั้งท2่ี คร้งั ท3ี่ ครงั้ ท4ี่ ครง้ั ท5ี่
รอ้ ยละทม่ี ขี นาดน้อยกว่า 5 ซม ร้อยละท่มี ขี นาดมากกวา่ 5 ซม
ตารางท่ี 3 การเปรียบเทียบปริมาณของเศษอาหารท่ีย่อยได้จากถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองก่อนปรับปรุง) กับ
ถงั ขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง)
คร้ังที่ ปริมาณของเศษอาหาร (กโิ ลกรมั )
ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย(เคร่อื งก่อนปรบั ปรุง) ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย(เคร่อื งหลังปรับปรงุ )
1. 2.10 2.50
2. 2.20 2.60
3. 2.20 2.60
4. 2.20 2.80
5. 2.20 2.80
คา่ เฉลย่ี (รอ้ ยละ) 2.18(รอ้ ยละ45.04) 2.66(รอ้ ยละ54.96)
จากตารางท่ี 3 พบว่า ปริมาณเศษอาหารที่ย่อยด้วยถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องก่อนปรับปรุง) สามารถ
ยอ่ ยเศษอาหารได้ เฉลย่ี 2.18 กโิ ลกรัม คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.04 และปรมิ าณเศษอาหารที่ยอ่ ยดว้ ยถงั ขยะสร้างปุ๋ย
(เคร่ืองหลังปรับปรุง) สามารถย่อยเศษอาหารได้ เฉลี่ย 2.66 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 54.96 เมื่อเปรียบเทียบ
กันแล้วถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง)สามารถย่อยเศษอาหารได้มากว่าถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องก่อน
ปรับปรงุ ) 1.22 เท่า
17
ตารางท่ี 4 การเปรียบเทียบขนาดของเศษอาหารไม่เกิน 5 เซนตเิ มตร ท่ีไดจ้ ากถงั ขยะสร้างป๋ยุ (เคร่ืองก่อน
ปรับปรงุ ) กบั ถังขยะสรา้ งปุ๋ย (เครอื่ งหลงั ปรบั ปรุง)
ครั้งท่ี ขนาดของเศษอาหาร ทีไ่ ม่เกิน 5 เซนตเิ มตร
ถงั ขยะสรา้ งปุ๋ย(เครอ่ื งกอ่ นปรบั ปรงุ ) ถงั ขยะสร้างปุ๋ย(เครือ่ งก่อนปรบั ปรุง)
1. 1.90 2.30
2. 2.00 2.50
3. 2.00 2.50
4. 2.10 2.70
5. 2.10 2.70
ค่าเฉลย่ี (ร้อยละ) 2.02(ร้อยละ 44.30) 2.54(ร้อยละ 55.70)
จากตารางท่ี 4 พบว่า ขนาดของเศษอาหารท่ีย่อยด้วยถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองก่อนปรับปรุง) สามารถ
ยอ่ ยเศษอาหารขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร เฉลี่ย 2.02 กิโลกรมั คิดเป็นร้อยละ 44.30 และการย่อยเศษอาหาร
ด้วยถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง) สามารถย่อยเศษอาหารขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร
เฉลี่ย 2.54 กิโลกรัมคิดเป็นร้อยละ 55.70 เม่ือเปรียบเทียบกันแล้วถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง)
สามารถย่อยเศษอาหารขนาดไมเ่ กิน 5 เซนติเมตรได้มากว่าถงั ขยะสร้างปยุ๋ (เครอ่ื งก่อนปรับปรงุ ) 1.26 เท่า
บทท่ี 5
สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศึกษา
1. การประดษิ ฐ์ถงั ขยะสร้างปยุ๋
ไดถ้ งั ขยะสรา้ งปยุ๋ เพ่ือชว่ ยยอ่ ยขยะประเภทเศษอาหาร โดยมีลักษณะเดน่ ดงั น้ี
1. สามารถยอ่ ยสลายเศษอาหารไดป้ ริมาณไม่ตา่ กว่า 2 กโิ ลกรัม /ช่ัวโมง
2. รอ้ ยละ 70 ของเศษอาหารหลังจากใช้ถังขยะสร้างปยุ๋ ย่อยมีขนาดไมเ่ กิน 5 เซนตเิ มตร
3. ประหยดั เน้ือท่ี และสามารถใช้ได้ทกุ พืน้ ที่
4. วสั ดทุ ี่ใชท้ ่าสามารถหาซื้อได้ง่าย
5. ทนทาน แข็งแรง ใช้งานได้นาน
6. ประหยัดเวลาในการย่อยสลายเศษอาหาร
7. ลดปัญหามลภาวะกล่ินเน่าเหมน็ แหลง่ เพาะพนั ธุ์เชอ้ื โรคและสารพิษที่ก่อใหเ้ กิดปญั หา
สุขภาพได้
8. มคี วามปลอดภยั สามารถลดอุบัตเิ หตทุ เี่ กดิ จากการใชม้ ดี
2. การทดสอบประสทิ ธภิ าพของถังขยะสรา้ งปุ๋ย (เครื่องก่อนปรบั ปรุง)
ดา้ นปริมาณของเศษอาหาร
ได้ดา่ เนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย จ่านวน 5 คร้ัง โดยใส่เศษอาหารให้
ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยเศษอาหารคร้ังละ1 ช่ัวโมง พบว่า ในเวลา 1 ชั่วโมง ปริมาณเศษอาหารที่ถังขยะสร้างปุ๋ย
สามารถย่อยเศษอาหารได้ โดยเฉล่ียครง้ั ละ 2.18 กิโลกรัม
ด้านคุณภาพของเศษอาหาร
ได้ด่าเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย จ่านวน 5 ครั้ง โดยใส่เศษอาหารให้
ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยครั้งละ 1 ชั่วโมง พบว่า เศษอาหารท่ีถังขยะสร้างปุ๋ยสามารถย่อยได้มีขนาดไม่เกิน 5
เซนตเิ มตร โดยเฉลี่ย 2.02 กิโลกรัม คิดเปน็ ร้อยละ 92.66 ของเศษอาหารทง้ั หมด
3. การปรบั ปรุง แก้ไขและพัฒนาถังขยะสร้างปุ๋ย
3.1 ได้น่าปัญหาจากการทดสอบ จ่านวน 5 ครั้ง น่ามาปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาถังขยะสร้างปุ๋ย
จนไดถ้ ังขยะสรา้ งปุ๋ย (เครือ่ งหลังปรบั ปรุง) โดยไดด้ า่ เนินการปรบั ปรุง แก้ไขและพฒั นา ดังน้ี
1. เปลีย่ นมอเตอรท์ ม่ี ีขนาดก่าลงั แรงหมุนมากข้นึ
2. ตดิ ต้งั ทีค่ นเศษอาหาร เพ่ือชว่ ยใหค้ นเศษอาหารไดท้ ่วั ถึงมากขน้ึ
3. ปรบั ตัวถงั ขยะสรา้ งป๋ยุ ให้สามารถหมนุ ชอ่ งที่ส่าหรับใส่/ออกเศษอาหารให้อยดู่ า้ นข้างได้
19
3.2 การทดสอบประสทิ ธภิ าพถงั ขยะสร้างปยุ๋ (เครือ่ งหลงั ปรบั ปรุง)
ดา้ นปริมาณของเศษอาหาร
ได้ด่าเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องหลังปรับปรุง)
จ่านวน 5 ครั้ง โดยใส่เศษอาหารให้ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยเศษอาหารคร้ังละ 1 ชั่วโมง แล้วน่าผลการทดสอบ
เปรียบเทียบกับถังขยะสร้างปุ๋ย(เคร่ืองก่อนปรับปรุง) ปรมิ าณเศษอาหารที่ย่อยด้วยถังขยะสรา้ งปุ๋ย (เคร่ืองก่อน
ปรับปรุง) สามารถยอ่ ยเศษอาหารได้ เฉล่ีย 2.18 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 45.04 และปริมาณเศษอาหารท่ีย่อย
ด้วยถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง) สามารถย่อยเศษอาหารได้ เฉล่ีย 2.66 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ
54.96 เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วถังขยะสร้างปุ๋ย (เคร่ืองหลังปรับปรุง)สามารถย่อยเศษอาหารได้มากว่าถังขยะ
สรา้ งปุ๋ย (เคร่อื งก่อนปรับปรุง) 1.22 เทา่
ด้านคุณภาพของเศษอาหาร
ได้ด่าเนินการทดสอบการย่อยเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย จ่านวน 5 คร้ัง โดยใส่เศษอาหารให้
ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยคร้ังละ 1 ช่ัวโมง ขนาดของเศษอาหารท่ีย่อยด้วยถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องก่อนปรับปรุง)
สามารถยอ่ ยเศษอาหารขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร เฉลย่ี 2.02 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 44.30 และการย่อยเศษ
อาหารด้วยถังขยะสร้างปุย๋ (เครื่องหลังปรบั ปรงุ ) สามารถย่อยเศษอาหารขนาดไมเ่ กิน 5 เซนติเมตร เฉลยี่ 2.54
กิโลกรัมคิดเป็นร้อยละ 55.70 เม่ือเปรียบเทียบกันแล้วถังขยะสร้างปุ๋ย (เครื่องหลังปรับปรุง)สามารถย่อยเศษ
อาหารขนาดไม่เกนิ 5 เซนตเิ มตรไดม้ ากวา่ ถังขยะสร้างปยุ๋ (เครอ่ื งก่อนปรับปรงุ ) 1.26 เท่า
5.2 อภิปรายผล
1. การย่อยสลายของเศษอาหารโดยใช้ถังขยะสร้างปุ๋ย สามารถย่อยเศษอาหารได้ครั้งละไม่ต่ากว่า
2 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ร้อยละ 70 ของเศษอาหารทั้งหมดหลังจากใช้ถังขยะสร้างปุ๋ยย่อยมีขนาดไม่เกิน
5 เซนติเมตร เน่ืองจากถังขยะสร้างปุ๋ย ใช้มอเตอร์ช่วยในการหมุนแกนถังขยะซ่ึงมีใบมีดในการช่วยตัดย่อย
สลายเศษอาหาร ช่วยประหยัดเวลา เน้ือท่ี สามารถใช้ได้ทุกพื้นที่ มีความปลอดภัยสามารถลดอุบัติเหตุที่เกิด
จากการใช้มีด ทนทาน แข็งแรง ใช้งานได้นาน ลดปัญหามลภาวะกลิ่นเน่าเหม็นเนื่องจากถังขยะสร้างปุ๋ย
มเี ครื่องปัม๊ อากาศสามารถช่วยลดกล่ินเหม็นได้
2. การย่อยสลายเศษอาหารของถังขยะสร้างปุ๋ย (เครือ่ งหลังปรับปรงุ ) สามารถยอ่ ยสลายเศษอาหารได้
ปริมาณและมีขนาดไม่เกิน 5 เซนติเมตร มากกว่าถังขยะสร้างปุ๋ย(เคร่ืองก่อนปรับปรุง) เน่ืองจากการปรับปรุง
แก้ไข และพัฒนาโดยเปล่ียนมอเตอร์ที่มีขนาดก่าลังแรงหมุนมากขึ้น ติดต้ังท่ีคนเศษอาหาร เพ่ือช่วยให้คนเศษ
อาหารได้ทั่วถึง ปรับตัวถังขยะสร้างปุ๋ยให้สามารถหมุนช่องท่ีส่าหรับ ใส่/ออก เศษอาหารให้อยู่ด้านข้างได้เพื่อ
ช่วยใหส้ ามารถน่าเศษอาหารใส่/ออก ถงั ขยะสร้างปุ๋ยได้ง่าย การปรบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาสง่ ผลให้การท่างาน
ของถงั ขยะสรา้ งปุ๋ยมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ
20
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ถังขยะสร้างปยุ๋ สามารถน่าไปได้ทุกพื้นท่ีทมี่ ีเศษอาหาร
2. ถงั ขยะสรา้ งป๋ยุ ทีป่ ระดษิ ฐ์ขน้ึ สามารถพัฒนาต่อยอดให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้นึ
บรรณานุกรม
กรมควบคมุ มลพิษ. การกาจัดขยะมูลฝอยในชุมชน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.pcd.go.th/infoserv/waste_garbage.html. (วันท่ีค้นข้อมูล : 08 ธันวาคม
2557).
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น. (2549). มาตรฐานการจัดการขยะมลู ฝอยและสิ่งปฏิกูล [ออนไลน์].
เขาถึงไดจากhttp://www.thailocaladmin.go.th/work/e_book/eb1/stan9.htm
(10 มถิ ุนายน 2553)
ขวัญชาย ดํารงขวัญ. (2553). แยกขยะ ภารกจิ ทีเ่ ตม็ ไปดวยคุณคา [ออนไลน์]. เขาถึงไดจาก :
http://www.greenworld.or.th/greenworld (12 กรกฎาคม 2553)
สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน. (2534). ขยะมูลฝอย (เลมท1ี่ 5). [ออนไลน์]. เขาถึงไดจาก :
http://kanchanapisek.or.th/kp6/book15/chapter8/chap8.htm (12 กรกฎาคม 2553)
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม. “นโยบายป้องกนั และขจัดมลพิษภายใต้
นโยบายและแผนการสง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแ ห่ ง ช า ติ พ . ศ . 2540-
2559” . ม.ป.ป [ อ อ น ไ ล น]์ http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_polwaste.html(24
มกราคม 2554)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปวั
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดนา่ น