The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-26 21:11:28

ใบความรู้ เรื่องการใช้งานมัลติมิเตอร์วัดค่าความต้านทาน

การใช้งานมัลติมิเตอร์วัดค่าความต้านทาน

2104-2204 วิชาเครอ่ื งมอื วดั ไฟฟาและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส 1

เคร่ืองวัดคาความตา นทานไฟฟา

เครอื่ งวดั คาความตานทานไฟฟาหรอื โอหมมิเตอร มโี ครงสรา งการทํางาน 3 แบบคือ
1. โอหมมิเตอรแบบอนุกรม (Series Ohmmeter) มีโครงสรางเปนวงจรอนุกรมประกอบดวย
แบตเตอรี่ ตัวตานปรับคาไดและแอมมิเตอร กอนทําการวัดใหตอปลายสายวัดและปรับคาความตานทาน
โอหม และสเกลความตานทานจะเพ่ิมขึ้นไปทางซายมือจนถึงคาสูงสุด (∞) เมื่อปลดปลายสายวัดออก
เหมาะสาํ หรบั วดั คา ความตา นทานสงู ๆ วงจรการตอ โอหม มเิ ตอรแ บบอนุกรม ดงั แสดงในรปู ท่ี 1

รูปท่ี 1 วงจรโอหมมิเตอรแบบอนุกรม
2. โอหมมิเตอรแบบขนาน (Shunt Ohmmeter) มีโครงสรางเปนวงจรขนาน ประกอบดวย
แบตเตอร่ีและตัวตานทานปรับคาได ขนานกับแอมมิเตอร อาศัยการแบงกระแสในวงจรขนาน
เชนเดียวกันกับการขยายยานการวัดของแอมมิเตอร ขณะที่ยังไมมีการวัดตองปรับความตานทานใหเข็ม
มิเตอรชี้เต็มสเกล แสดงคาความตานทานสูงสุด (∞) เม่ือนําคาความตานทานที่ตองการวัดมาตอครอม
แอมมิเตอรความตานทานที่วัดจะแบงกระแสจากแอมมิเตอรสเกลของโอหมมิเตอรแบบนี้จะมีศูนยโอหม
อยูทางซายมือเหมาะสําหรับใชวัดคาความตานทานตํ่าวงจรการตอโอหมมิเตอรแบบขนานดังแสดงใน
รูปท่ี 2

รูปที่ 2 วงจรโอหมมิเตอรแบบขนาน

เรยี บเรยี งโดย อ.รชั วทิ ย เมธโี ชติเศรษฐ วิทยาลัยเทคนคิ ลาํ ปาง

2104-2204 วชิ าเคร่อื งมือวดั ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 2

3. โอหมมิเตอรแบบโปเทนทิโอมิเตอร (Potentiometer) โปเทนทิโอมิเตอรเปนวงจรโอหมมิเตอร

ที่นิยมใชกันมากในมัลติมิเตอรทั่ว ๆ ไปวงจรมิเตอรมูฟเมนตและความตานทานปรับคาศูนยโอหมจะตอ

ครอมตัวตานทานคามาตรฐานคาหนึ่งซึ่งจะเปนคาความตานทานกลางสเกลของมิเตอรนั่นเองคาความ

ตานทานสูงสุดจะอยูทางซายมือ และคาความตานทานศูนยโอหม จะอยูทางขวามือ เชนเดียวกับโอหม

มิเตอรแ บบอนุกรม วงจรการตอ โอหม มเิ ตอรแ บบโปเทนทโิ อมิเตอร ดงั แสดงในรปู ที่ 3

รูปท่ี 3 วงจรโอหมมิเตอรแ บบโปเทนทิโอมเิ ตอร

การใชง านโอหม มิเตอร
โอหมมิเตอรที่สรางข้ึนมาใชงานจริงน้ันจะมียานการวัดคาความตานทานหลายยานการวัดต้ังแตวัด

คาความตานทานต่ํา ๆ เปนโอหมไปจนถึงคาความตานทานสูงเปนเมกกะโอหม โดยมีสเกลแสดงคาความ
ตานทานท่ีจะวัดไดเพียงสเกลเดียวคาท่ีอานไดจะถูกตองเปนคาความตานทานจริง การอานตองปฏิบัติ 2
ประการ คอื ประการแรกอา นคาความตานทานบนสเกลที่ตาํ แหนง เขม็ ชท้ี ี่คาออกมาก ประการทส่ี อง ดูยาน
หนา ปดที่ต้งั วดั ไวน าํ มาคูณกบั คาความตานทานท่ีอา นไดบนสเกลคา ท่อี อกมาคอื คาความตานทานจริงท่ีวัดได
จากตัวตานทานตัวนนั้ ลักษณะสเกลโอหมมิเตอรแ บบหลายยานวดั แสดงในรปู ท่ี 4

รปู ที่ 4 สเกลโอหม มิเตอรแบบหลายยา นวดั

สําหรับยานการวัดของโอหมมิเตอรมียานการวัด เชน X1, X10, X100, X1k และ X10k เปนตน
การอานคา จึงไมยุงยากเพียงอานคาบนสเกลที่เข็มชี้คานํามาคูณกับยานวัดท่ีตั้งไวก็จะไดคาความตานทาน
ออกมาแตล ะยานการวดั มคี วามสามารถวัดคา ไดด งั น้ี

ยาน R × 1 วัดคาความตานทานได 0 Ω - 500Ω

เรยี บเรียงโดย อ.รชั วทิ ย เมธโี ชติเศรษฐ วิทยาลัยเทคนคิ ลาํ ปาง

2104-2204 วชิ าเครือ่ งมอื วัดไฟฟาและอเิ ล็กทรอนกิ ส 3

ยาน R × 10 วัดคาความตา นทานได 10Ω - 5kΩ
ยาน R × 100 วดั คาความตานทานได 100Ω - 500kΩ
ยา น R × 10k วัดคาความตานทานได 10kΩ - 5MΩ
ยาน R × 100k วดั คา ความตานทานได 100kΩ - 50MΩ

ส่ิงที่สาํ คัญของการใชโอหม มเิ ตอรอยูท่ีการปรับแตงโอหมมิเตอรใหพรอมกอนใชงาน เพราะโอหม
มิเตอรมีแบตเตอรี่ตอรวมใชงานในวงจรและมีตัวตานทานปรับเปล่ียนคาความตานทานไดตอรวมในการใช
งานหากแบตเตอร่ีมีกําลังไฟออนลงทําใหเข็มของโอหมมิเตอรบายเบนไมเต็มสเกล ขณะตอสายวัดเขา
ดวยกัน ดงั น้นั กอ นทําการวัดทกุ คร้ังปรบั ใหเขม็ อยูทศ่ี ูนยทุกครงั้

เรยี บเรยี งโดย อ.รัชวทิ ย เมธีโชติเศรษฐ วิทยาลัยเทคนิคลําปาง


Click to View FlipBook Version