The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างรายวิชา ภาษาไทย ม. ๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by napawan_ngoophimai, 2022-05-19 23:40:33

โครงสร้างรายวิชา ภาษาไทย ม. ๕

โครงสร้างรายวิชา ภาษาไทย ม. ๕



คำนำ

โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ จัดทำโครงสร้างรายวิชาที่สอน เพื่อใช้ในการ
ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ประจำภาคเรียนท่ี ๕ ปกี ารศกึ ษา 256๕

ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ คณะครู โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๗ จังหวัดเพชรบุรี
ท่ไี ดร้ ว่ มกันจัดทำโครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย เพ่อื ใช้ในการประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ประจำภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 256๕ และเอกสารฉบบั นี้สำเรจ็ เรียบรอ้ ยดว้ ยดี

นภาวรรณ งูพิมาย
ครู

1๗/พฤษภาคม/๒๕๖๕

สารบัญ ข

เรือ่ ง หนา้
คำนำ ก

สารบญั 1
ประมวลรายวชิ า ๒

คำอธบิ ายรายวิชา ๑๓
โครงสรา้ งรายวชิ า
เกณฑ์การวัดและประเมินผล



โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี
ประมวลรายวิชา ( Course Syllabus )

**************************************************

1. ชื่อวิชา ภาษาไทย
2. สถานภาพวิชารหัสวิชา รายวิชาพนื้ ฐาน
3. รหสั วิชา ท ๓๒๑๐๑
4. จำนวนหน่วยกติ ๑.๐ หนว่ ยกติ
5. จำนวนช่วั โมง / สัปดาห์ ๒/สปั ดาห์
6. เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน
7. ภาคเรียนที่ ๑
8. ปีการศึกษา ๒๕๖๕
9. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕
10. ชื่อ สกุล ครผู ู้สอน นางสาวนภาวรรณ งูพิมาย
11. ขอบขา่ ยเน้อื หาทีส่ อน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕



คำอธบิ ายรายวิชา คำอธิบายรายวชิ า
วิชาภาษาไทย รหสั ท ๓๒๑๐๑
รหสั วิชา ท๓๒๑๐๑ วชิ าภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ขัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

**************************************************

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
เวลา ๔๐ คาบ จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ

ศึกษาการอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งไพเราะและเหมาะสมกับเร่ืองทอ่ี า่ น ตีความ แปลความ และขยายความเรอื่ งทอ่ี ่าน วเิ คราะหแ์ ละ

วจิ ารณ์เรอ่ื งทีอ่ า่ นในทุก ๆ ด้านอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องที่อ่าน และประเมนิ คา่ เพ่อื นำความรู้ ความคดิ ไปตดั สินใจแกป้ ญั หา ในการดำเนนิ ชวี ติ วิเคราะห์

วจิ ารณ์และแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ย้งเกี่ยวกบั เร่อื งทีอ่ ่าน และเสนอความคดิ ใหมอ่ ย่างมีเหตผุ ล ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบต่าง ๆ ประเมนิ งานเขยี นของผอู้ ่นื แล้ว

นำมาพัฒนางานเขยี นของตนเองเขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ เร่อื งที่สนใจตามหลักการเขียนเชงิ วิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอา้ งองิ อย่างถกู ตอ้ งบนั ทึกการศกึ ษา

คน้ คว้าเพ่อื นำไปพัฒนาตนเองอยา่ งเปน็ สมำ่ เสมอ

มมี ารยาทในการเขียน วิเคราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และความน่าเชื่อถอื จากเรื่องทฟ่ี งั และดอู ย่างมีเหตุผล ประเมินเรอ่ื งท่ฟี งั และดู แลว้ กำหนดแนวทางไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ

ดำเนินชีวติ มวี ิจารณญาณในการเลือกเรอ่ื งท่ีฟงั และดู พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมมีมารยาทใน

การฟัง การดู และการพดู ใชค้ ำและกลมุ่ คำสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคำราชาศัพทอ์ ย่างเหมาะสม แตง่

บทรอ้ ยกรอง วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการเบ้อื งตน้ วเิ คราะหล์ กั ษณะเดน่ ของวรรณคดี เช่อื มโยงกบั การเรยี นรทู้ างประวตั ิศาสตรแ์ ละวิถชี วี ิต

ทางสังคมในอดตี วิเคราะหแ์ ละประเมินคา่ ด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

โดยใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ อธิบาย นำเสนอความคิดและมีสว่ นรว่ มเพือ่ ใหเ้ ห็นคณุ ค่า

มคี วามตระหนกั สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ มคี ุณธรรม จริยธรรม มีจติ สำนกึ และคา่ นยิ มท่ดี งี าม

เพื่อนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บ้านและอธิบายภมู ิปญั ญาทางภาษา ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่

ตามความสนใจ และนำไปใชอ้ ้างอิง



รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๕/๓ , ๕/๕ , ๕/๗ , ๕/๙

ท ๒.๑ ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๕/๓ , ๕/๔ , ๕/๕ , ๕/๖ , ๕/๗ , ๕/๘
ท ๓.๑ ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๕/๕ , ๕/๖
ท ๔.๑ ม.๕ - ๕/๒ , ๕/๔ , ๕/๕ , ๕/๗

ท ๕.๑ ม.๕ - ๕/๒ , ๕/๓ , ๕/๔ , ๕/๖
รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชว้ี ัด



สาระ / มาตรฐาน / ตวั ชีว้ ดั
สาระที่ 1 การอ่าน

มาตรฐานที่ 1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นำไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการ
ดำเนนิ ชวี ิต และมีนิสัยรกั การอ่าน

ตัวช้ีวดั ที่ ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ
และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องทีอ่ ่าน
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๓ วเิ คราะห์และวิจารณ์เรื่องทอี่ า่ นในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตผุ ล
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๔ คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องที่อา่ น และประเมินค่าเพื่อนำความรู้

ความคิดไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเหน็ โต้แย้งกบั เรื่องที่อ่าน และเสนอความคิด

ใหมอ่ ยา่ งมีเหตผุ ล
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๖ ตอบคำถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาทีก่ ำหนด
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๗ อ่านเรือ่ งต่าง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน



สาระที่ ๒ การเขียน

มาตรฐานที่ ๒ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

ตวั ช้ีวัดที่ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑ เขียนส่อื สารในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียง
ถูกต้องมีขอ้ มูล และสาระสำคัญชัดเจน

ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๒ เขียนเรียงความ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๓ เขียนยอ่ ความจากส่อื ที่มีรปู แบบ และเนอื้ หาหลากหลาย
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔ ผลติ งานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๕ ประเมินงานเขียนของผู้อืน่ แล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๖ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่องทีส่ นใจตามหลกั การเขียนเชิงวิชาการ

และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศอ้างอิงอยา่ งถกู ต้อง
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๗ บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพ่อื นำไปพัฒนาตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๘ มีมารยาทในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐานที่ ๓ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ

ความรสู้ ึก ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ช้ีวดั ที่ ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑ สรปุ แนวคิด และแสดงความคิดเหน็ จากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู

ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๒ วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถอื จากเรือ่ งทีฟ่ งั และดู
อย่างมีเหตุผล

ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๕ พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ดว้ ย
ภาษาถกู ต้องเหมาะสม



ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๖ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู
สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐานที่ ๔ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ช้ีวดั ที่ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒ ใช้คำและกลมุ่ คำสร้างประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์

ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๔ แตง่ บทรอ้ ยกรอง
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/ ๕ วิเคราะห์อิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถน่ิ
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๗ วิเคราะหแ์ ละประเมินการใช้ภาษาจากส่อื สง่ิ พิมพแ์ ละส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
สาระที่ ๕ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐานที่ ๕ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่

และนำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง
ตวั ช้ีวัดที่ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๒ วิเคราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดีเชื่อมโยงกบั การเรียนรู้ทางประวตั ศิ าสตร์และ

วิถีชีวิตของสังคมในอดตี
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๓ วเิ คราะหแ์ ละประเมินคุณคา่ ดา้ นวรรณศิลปข์ องวรรณคดแี ละวรรณกรรมใน

ฐานะทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๕ รวบรวมวรรณกรรมพนื้ บ้านและอธิบายภูมิปญั ญาทางภาษา
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ ทอ่ งจำและบอกคณุ ค่าบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่า

ตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง



โครงสร้างรายวิชา ภาษาไทย (พืน้ ฐาน)
รหสั วิชา ท ๓๒๑๐๑ รายวิชา ภาษษไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕
เวลาเรียน ๒ ช่วั โมง/สปั ดาห์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

หนว่ ย แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั คะแนน
ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั / ผลการเรียนรู้ (ชม.) K A P รวม
1 การอ่านออกเสียง ๑. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐
สำเนยี งเพราะ ประเภทต่าง ๆ เช่น บทความ นวนยิ าย ท ๑.๑ - ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๑. การอ่านออกเสียงบท ๑๐
และความเรียง ๕/๓ , ๕/๕ , ๕/๖ , ๕/๘ , ๕/ ร้อยแก้วประเภทตา่ ง ๆ เช่น
๙ บทความ นวนยิ าย และความ
๒. การอา่ นบทร้อยกรอง เช่น โคลง
ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย และลลิ ิต เรียง
๒. การอ่านบทร้อยกรอง
๓. การอา่ นจบั ใจความประเภทต่าง ๆ
เชน่ ขา่ วสารจากสื่อสงิ่ พมิ พ์ ส่ือ เช่น โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
อเิ ล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ใน ร่าย และลลิ ติ
ชุมชน บทความ นทิ าน นวนิยายเร่ืองสั้น
วรรณคดีพ้ืนบา้ น วรรณกรรม บทโฆษณา ๓. การอา่ นจับใจความ
สารคดี ปาฐกถา บันเทงิ คดี พระบรม ประเภทตา่ ง ๆ เช่น ข่าวสารจาก
ราโชวาท เทศนา คำบรรยาย คำสอน สอ่ื ส่งิ พิมพ์ ส่อื อิเล็กทรอนิกส์
บทเพลง และแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ในชุมชน
บทความ นิทาน นวนิยายเรื่อง
สน้ั วรรณคดพี ืน้ บ้าน
วรรณกรรม บทโฆษณา



หนว่ ย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนักคะแนน
ที่ ตวั ช้ีวดั / ผลการเรียนรู้ (ชม.) K A P รวม

สารคดี ปาฐกถา บนั เทิงคดี ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐

พระบรม ราโชวาท เทศนา คำ

บรรยาย คำสอน บทเพลง

2 การอ่านเพื่อวิเคราะห์ ๑. บทร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ เชน่ ๑.๑ - ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๑. บทร้อยแก้วประเภท ๑๐
วิจารณ์
บทความ นวนิยาย และความเรียง ๕/๓ , ๕/๕ , ๕/๖ , ๕/๘ , ๕/๙ ต่าง ๆ เชน่
๒. บทรอ้ ยกรอง เช่น โคลง ฉันท์
บทความ นวนยิ าย และ
กาพย์ กลอน ร่าย และลิลิต
๓. ข่าวสารจากส่ือส่งิ พิมพ์ สอ่ื ความเรียง

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ๒. บทร้อยกรอง เชน่

ในชุมชน บทความ นิทาน นวนยิ ายเรอ่ื งสัน้ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน รา่ ย
วรรณคดีพนื้ บ้าน วรรณกรรม บทโฆษณา
และลลิ ติ
สารคดี ปาฐกถา บันเทิงคดี พระบรม
ราโชวาท เทศนา คำบรรยาย คำสอน ๓. ขา่ วสารจากสื่อ
บทเพลง
ส่งิ พิมพ์ สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์

และแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ

ในชุมชน บทความ นิทาน นว

นิยายเรือ่ งสนั้ วรรณคดีพืน้ บ้าน

วรรณกรรมบท-โฆษณา สาร

คดี ปาฐกถา บันเทิงคดี พระ

บรมราโชวาท เทศนา คำ-

บรรยาย คำสอน บทเพลง



หน่วย ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั คะแนน
ที่ ตัวช้ีวัด / ผลการเรียนรู้ (ชม.) K A P รวม
๓๑๑ ๕
๓ รู้ลักษณ์ ภาษางาม ๑. บทรอ้ ยแก้วประเภทตา่ ง ๆ เชน่ ๑.๑ - ม.๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๑. บทรอ้ ยแก้วประเภทตา่ ง ๑๐

บทความ นวนยิ าย และความเรยี ง ๕/๓ , ๕/๕ , ๕/๖ , ๕/๘ , ๕/ ๆ เช่น บทความ นวนยิ าย และ

๒. บทรอ้ ยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ ๙ ความเรียง
กาพย์ กลอน รา่ ย และลิลติ ๒. บทร้อยกรอง เช่น

๓. ข่าวสารจากส่ือสิง่ พิมพ์ สอื่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย

อิเลก็ ทรอนิกส์ และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ใน และลลิ ติ

ชุมชน บทความ นทิ าน นวนิยายเร่ืองสั้น

วรรณคดีพืน้ บ้าน วรรณกรรม บทโฆษณา ๓. ข่าวสารจากสือ่ สง่ิ พิมพ์

สารคดี ปาฐกถา บันเทงิ คดี พระบรม ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์
ราโชวาท เทศนา คำบรรยาย คำสอน

บทเพลง

๔ เรียงร้อย ถ้อยภาษา ๑. การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ท ๒.๑ ม.๕ - ๕/๑ - ๕/๒ - ๑. การเขียนในรปู แบบตา่ ง ๑๐ ๓ ๑ ๑ ๕

๒. ประเมนิ ตณุ ค่างานเขียน ๕/๓ - ๕/๔ - ๕/๕ - ๕/๖ - ๆ
๓. การเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ
๔. การเขยี นอา้ งองิ ขอ้ มูลสารสนเทศ ๕/๗ - ๕/๘ ๒. ประเมินตุณค่า
๕. การเขียนบันทกึ ความรู้
งานเขียน

๓. การเขียน

รายงานเชิงวิชาการ

๔. การเขียนอ้างอิง

ข้อมลู สารสนเทศ

๕. การเขียนบนั ทึก

ความรู้

๑๐

หนว่ ย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั คะแนน
ที่ ตวั ช้ีวัด / ผลการเรียนรู้ (ชม.) K A P รวม
๑. การประเมินเรื่องที่ฟังและดู
๕ ฟังให้รู้ ดใู ห้เปน็ พดู ให้ ๒.การเลือกเรื่องท่ฟี งั และดูอย่างมี ท ๓.๑ ม.๕ - ๕/๑ - ๑. การประเมินเรื่องที่ ๑๐ ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐
วจิ ารณญาณ ๑๐
ถกู หลกั ๓. การพูดในโอกาส ต่าง ๆ ม.๕ - ๕/๕ ฟัง และดู ๑๐ ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐

๑. การใช้คำและกลุ่มคำสรา้ งประโยค ๒. การเลอื กเรอ่ื งที่ฟงั และ ๑๐ ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐
๒. ระดับของภาษา
๓. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและ ดูอย่างมีวิจารณญาณ ๕ ๒.๕ ๒.๕ ๑๐
ภาษาถนิ่
๓. การพูดในโอกาสต่าง ๆ
๑. การวิเคราะห์ลักษณะเดน่ ของ
๖ รู้รอ้ ย ถ้อยภาษา วรรณคดเี กี่ยวกับเหตุการณ์ ท ๔.๑ ม.๕ - ๕/๒ - ๕/๔ - ๕/๕ ๑. การใชค้ ำและกลุม่ คำสร้าง
ประวตั ิศาสตรแ์ ละวถิ ชี ีวิตของสังคม
- ๕/๗ ประโยค
๒. การสังเคราะห์วรรณคดีและ ๒. ระดบั ของภาษา
วรรณกรรม
๓. อิทธพิ ลของ
๓. วรรณกรรมพ้นื บ้าน
ภาษาต่างประเทศและภาษาถน่ิ
๑. การเขียนสอ่ื สารในรปู แบบต่าง ๆ
๗ วรรณคดงี ดงาม ๒. การเขียนเรยี งความ ท ๕.๑ ม.๕ - ๕/๒ - ๕/๓ - ๕/๔ ๑. การวิเคราะห์ลกั ษณะเดน่
วรรณกรรมสรา้ งสรรค์ ๓. มีมารยาทในการเขยี น
๔. การพดู สรุปแนวคิดและการแสดง - ๕/๖ ของวรรณคดเี กยี่ วกับเหตุการณ์
ความคิดเห็นจากเรอื่ งทีอ่ า่ น ประวัตศิ าสตรแ์ ละวิถีชวี ติ ของ

สงั คม

๒. การสังเคราะหว์ รรณคดี

และวรรณกรรม

๓. วรรณกรรมพน้ื บ้าน

๘ มหาเวสสันดรชาดก ท ๒.๑ ม. ๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๕/ ๑. การเขยี นสอ่ื สารใน

๘ รปู แบบตา่ ง ๆ

ท ๓.๑ ม. ๕ - ๕/๑ , ๕/๒ , ๕/ ๒. การเขยี นเรยี งความ

๓ , ๕/๔ , ๕/๕ ๓. มมี ารยาทในการเขยี น

ท ๔.๑ ม. ๕ - ๕/๑ , ๕/๒

ท ๕.๑ ม. ๕ - ๕/๓ , ๕/๔ , ๕/๖

หนว่ ย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคัญ เวลา ๑๑
ที่ ตัวช้ีวดั / ผลการเรียนรู้ (ชม.) น้ำหนักคะแนน

๕. การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา ๔. การพดู สรุปแนวคิดและ
และความนา่ เชอ่ื ถือจากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ี
อ่าน
๖. การเลอื กเรือ่ งทฟ่ี ังและดูอยา่ งมี
วจิ ารณญาณ ๕. การวเิ คราะหแ์ นวคดิ การ
ใช้ภาษาและความน่าเชอ่ื ถอื จาก
๗. การประเมินเร่อื งที่ฟงั ดู
๘. การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ เร่อื งที่ฟงั และดู
๙. กาพย์ โคลง ร่าย และฉันท์ ๖. การเลอื กเรอื่ งทฟ่ี ังและดู
๑๐. หลักการวเิ คราะห์ วิจารณ์
วรรณคดแี ละวรรณกรรมเบื่องตน้ อย่างมีวจิ ารณญาณ
๑๑. การวิเคราะห์ลักษณะเดน่ ของ
วรรณคดี และวรรณกรรมเกยี่ วกับ ๗. การประเมินเรอื่ งที่ ฟงั ดู
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถชี ีวิตของ ๘. การพดู ในโอกาส ตา่ ง ๆ
สังคมในอดตี
๑๒. การวิเคราะห์และประเมินคณุ คา่ ๙. กาพย์ โคลง รา่ ย และ
วรรณคดีและวรรณกรรม ฉันท์
๑๓. การสงั เคราะห์วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม ๑๐. หลกั การวเิ คราะห์
๑๔. บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี ี
คุณค่า วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
เบือ่ งต้น

๑๑. การวเิ คราะหล์ กั ษณะ
เด่นของวรรณคดี และวรรณกรรม
เก่ยี วกบั เหตกุ ารณป์ ระวัติศาสตร์

และวถิ ีชวี ติ ของสังคมในอดีต
๑๒. การวเิ คราะหแ์ ละ

ประเมนิ คุณค่าวรรณคดีและ
วรรณกรรม

๑๓. การสังเคราะหว์ รรณคดี

และวรรณกรรม

๑๒

หน่วย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / สาระสำคญั เวลา น้ำหนักคะแนน
ที่ ตวั ช้ีวัด / ผลการเรียนรู้ (ชม.)

รวม เวลา / คะแนน หนว่ ยการเรียน ๑๔. บทอาขยานและบทร้อย
กรองท่ีมีคณุ ค่า

๘๐ ๓๖ ๑๗ ๑๗ ๗๐

สอบวดั ผลกลางภาคเรียน ๑ ๑๐ ๑๐

สอบวัดผลปลายภาคเรียน ๑ ๒๐ ๒๐

รวมเวลาเรียน / คะแนน ตลอดภาคเรียน ๘๐ ๑๐๐

๑๓

เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
1. อตั ราสว่ นคะแนน หน่วยการเรียน : กลางภาคเรียน : ปลายภาคเรียน
1.1. รายละเอียดของการให้คะแนน
- การประเมินการทำแบบฝึกหดั
- การทำแบบทดสอบระหวา่ งหน่วยการเรียนรู้
- การทำแบบสอบกลางภาค
- การทำแบบสอบปลายภาคเรียน

๑๔


Click to View FlipBook Version