The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by manatsanan590210253, 2022-03-09 14:55:40

การใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

การใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับสือ่ จำลองโต้ตอบเสมอื นจริง
เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์ เพอื่ พฒั นาการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณของ
นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5

โดย
นางสาวมนัสนนั ท์ ฟกั แกว้
รหัสประจำตัวนกั ศกึ ษา 590210253

รายงานวิจัยฉบับนี้ เปน็ รายงานวิจัยประกอบการเรยี น
กระบวนวิชา 100599 การปฏิบตั งิ านวิชาชีพครู 2 ภาคเรียนที่ 2/2563

คณะศกึ ษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยเชียงใหม่

การใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับสือ่ จำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ
เรอ่ื ง พันธะโคเวเลนต์ เพอื่ พัฒนาการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณของ
นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี

โดย
นางสาวมนัสนันท์ ฟกั แก้ว
รหัสประจำตวั นักศึกษา 590210253

รายงานวิจยั ฉบบั น้ี เป็นรายงานวิจยั ประกอบการเรยี น
กระบวนวิชา 100599 การปฏิบตั งิ านวชิ าชพี ครู 2 ภาคเรยี นที่ 2/2563

คณะศึกษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

ช่ืองานวิจยั ก

ผ้วู ิจยั การใชก้ ารจัดการเรยี นรูแ้ บบ MACRO model ร่วมกบั ส่อื จำลองโตต้ อบเสมอื นจริง
อาจารย์ท่ปี รกึ ษา เรือ่ ง พนั ธะโคเวเลนต์ เพอื่ พฒั นาการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณของนักเรยี น
ปีการศึกษา ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5
มนัสนนั ท์ ฟกั แก้ว
อาจารย์ ดร.วชิรศรณ์ แสงสุวรรณ
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมี
วิจารณญาณกอ่ นและหลงั เรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบ MACRO model รว่ มกับ
สื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะ
โคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง
กลุ่มเป้าหมายการวิจัย คอื นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5/2 แผนการเรยี นศลิ ปญ์ ่ปี ุ่น โรงเรยี นหางดงรัฐราษฎร์
อุปถัมภ์ ปีการศึกษา 2563 จำนวน 11 คน เครื่องมอื ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ
MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง 2) แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งผลการวิจัยพบว่าหลังเรียนเรื่องพันธะ
โคเวเลนตโ์ ดยการจัดการเรยี นร้แู บบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ นักเรียนมีค่าเฉลี่ย
ของคะแนนแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณอยู่ที่ 14.3 (S.D. = 3.2) ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่ค่าเฉล่ีย
ของคะแนนแบบทดสอบวดั การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณอยู่ที่ 8.1 (S.D. = 3.3) และจำแนกตามองคป์ ระกอบท้ัง
5 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของ
แหล่งข้อมูลและการสังเกต ความสามารถในการอุปนัย ความสามารถในการนิรนัย และความสามารถในการ
ระบุข้อตกลงเบื้องต้น พบว่าหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model
ร่วมกับส่ือจำลองโต้ตอบเสมือนจริง นักเรียนมีค่าเฉล่ียของคะแนนแบบทดสอบวัดการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนทั้ง 5 ด้าน นอกจากนี้นักเรียนยังมีค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์หลังเรียนอยูท่ ี่ 8.7 (S.D. = 2.2) ซ่ึงสูงกวา่ กอ่ นเรียนทีค่ ่าเฉลี่ยของคะแนน
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเร่ืองพนั ธะโคเวเลนตอ์ ย่ทู ่ี 5.3 (S.D. = 2.5) โดยนกั เรยี นมีคะแนนเฉล่ีย
เพิม่ ขนึ้ 3.4 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 22.7 ซึง่ นกั เรียนสว่ นใหญร่ ้อยละ 90.9 อย่ใู นระดับพัฒนาการทีเ่ พ่มิ ข้ึน



กิตตกิ รรมประกาศ

การวิจัยเรื่อง การใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง
เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในครั้งนี้
สำเร็จลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี เนื่องจากผู้วจิ ยั ได้รบั ความเมตตากรุณาและความชว่ ยเหลอื จาก อาจารย์ ดร.วชิรศรณ์
แสงสุวรรณ อาจารย์ทป่ี รกึ ษาประจำสาขาวิชาเคมแี ละอาจารย์ผเู้ ปน็ ทปี่ รกึ ษาการวจิ ยั ในกระบวนวิชา 100599
ทไ่ี ด้คอยให้คำแนะนำ รวมถงึ ชแี้ นะแนวทางในการทำวิจัย เพ่อื นำขอ้ เสนอแนะมาปรับปรงุ แก้ไขให้งานวิจัยมี
ความสมบูรณ์มากยิ่งขนึ้ ซึ่งผวู้ ิจยั ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ท่ีได้กรุณามอบความรู้ ให้แง่คิด และอุทิศเวลา
ในการพัฒนาวิจัยในครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาเป็น
อยา่ งมาก จึงใคร่ขอขอบพระคุณอยา่ งสงู ไว้ ณ ทีน่ ี้

ผวู้ ิจัยขอขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทกุ ท่านและอาจารย์ที่ปรึกษาประจำสาขาวิชา
เคมีที่ถ่ายทอดวิชาความรู้ ทักษะ แนวคิด ประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการวิจยั ทั้งในด้านการสอน การ
ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตน ให้สามารถทำงานวิจัยสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี จึงกราบขอบพระคุณเป็น
อยา่ งสงู ไว้ ณ ที่น้ี

ผูว้ ิจยั ขอขอบพระคุณคุณครูปิยะ ชำนาญปรุ ครพู เี่ ลยี้ งประจำรายวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนหางดง
รัฐราษฎร์อปุ ถมั ภ์ท่ไี ด้ให้คำแนะนำ แก้ไขข้อบกพร่องในงานวิจยั และให้ความร่วมมือในการอำนวยความสะดวก
ห้องเรียนตลอดการทำงานวิจยั

ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านทีส่ ละเวลาอันมีค่าตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ และให้
คำแนะนำทีเ่ ป็นประโยชน์ในการวจิ ยั ครงั้ น้ี

ผู้วิจัยขอขอบคุณนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 11 คน เป็นอย่างยิง่ ที่ใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบัติ
กิจกรรมทุกครั้งอย่างเต็มใจตลอดระยะเวลาที่ทำการวิจัย ทำให้ผู้วิจัยสามารถเก็บผลการวิจัยได้ครบถ้วน
สมบรู ณ์

ผู้วิจัยขอขอบคุณพ่อแม่ เพื่อนร่วมสาขา เพื่อนร่วมสถาบันฝึกสอน และผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ
ทกุ ท่านทค่ี อยให้ความชว่ ยเหลือและเปน็ กำลงั ใจจนการวจิ ยั ครง้ั นีส้ ำเรจ็ อยา่ งสมบรู ณ์

สุดท้ายนี้คุณค่าและประโยชน์จากการวิจัยคร้ังนี้ ขอมอบให้เป็นความดขี องสถาบันทางการศึกษาอัน
ทรงเกยี รติแห่งนี้

มนัสนนั ท์ ฟกั แกว้
ผวู้ จิ ยั

สารบัญ ค

เรอื่ ง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบัญภาพ จ
บทท่ี 1 บทนำ ฉ
1
ทมี่ าและความสำคญั ของปัญหา 4
วัตถุประสงค์การวจิ ยั 4
คำถามวิจัย 4
สมมติฐานการวิจยั 4
ขอบเขตการวิจยั 5
คำจำกัดความ/นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 5
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง 6
แนวคดิ เก่ียวกับการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 10
แนวคดิ เก่ียวกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 13
แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั การเรียนรู้แบบ MACRO model 16
แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั การเรยี นรู้โดยใช้สือ่ จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ 19
งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ งท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ 21
กรอบแนวคดิ การวจิ ัย 22
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย 22
กลุ่มเป้าหมาย 22
ตัวแปรวจิ ยั /ตวั จดั กระทำ 22
เครือ่ งมอื วิจัยและคณุ ภาพเครอ่ื งมือ 25
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 26
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 26
สถติ ิในการวิเคราะหข์ ้อมูล 27
เกณฑท์ ่ีใช้ในการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ



สารบญั

เรอื่ ง หน้า

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 28

ข้อมูลพื้นฐานของกลมุ่ เปา้ หมาย 28

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและ 28

หลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model

ร่วมกับส่อื จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเร่อื งพันธะ 35

โคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง

โตต้ อบเสมือนจรงิ

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 40

สรุปผลการวิจยั 40

อภิปรายผลการวจิ ยั 41

ข้อเสนอแนะการวจิ ัย 42

บรรณานุกรม 43

ภาคผนวก 45

ภาคผนวก ก รายนามผู้เช่ียวชาญท่ีตรวจสอบเครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจยั 45

ภาคผนวก ข แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ 48

ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 72

ภาคผนวก ง แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเรอ่ื งพนั ธะโคเวเลนต์ 79

ภาคผนวก จ คุณภาพเครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย 84

ภาคผนวก ฉ ตวั อย่างภาพการจดั กจิ กรรมและบรรยากาศการสอน 87

ประวตั ิผู้วจิ ยั 91



สารบญั ตาราง

เรอื่ ง หน้า

ตาราง 3.1 แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงและ 23
ตาราง 4.1
ตาราง 4.2 เวลาทใ่ี ชใ้ นแตล่ ะแผน
ตาราง 4.3
ตาราง 4.4 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของกลุ่มเป้าหมาย 28
ตาราง 4.5
ตาราง 4.6 ผลการวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณตาม 28
ตาราง 4.7
ตาราง 4.8 แนวคิดของเอนนสิ กอ่ นและหลังเรยี น
ตาราง 4.9
ผลการวิเคราะห์คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบุ 30
ตาราง 4.10
ประเดน็ ปญั หา
ตาราง 4.11
ตาราง 6.1 ผลการวิเคราะห์คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการพิจารณา 31
ตาราง 6.2
ความนา่ เช่ือถือของแหล่งข้อมลู และการสงั เกต

ผลการวิเคราะห์คะแนนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณด้านความสามารถในการอุปนัย 32

ผลการวเิ คราะห์คะแนนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณในดา้ นความสามารถในการนริ นัย 33

ผลการวิเคราะห์คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระ บุ 34

ขอ้ ตกลงเบื้องตน้

ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ 36

MACRO model ร่วมกับสอื่ จำลองโตต้ อบเสมอื นจริง

จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นตามระดับพัฒนาการของผลสัมฤทธจ์ิ ากการเปรยี บเทียบ 36

ผลคะแนนก่อนและหลังเรยี นโดยการจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบ MACRO model ร่วมกบั

สอื่ จำลองโตต้ อบเสมือนจริง

ผลคะแนนแบบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนตแ์ ละระดับคุณภาพของ 37

คะแนนหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง

โตต้ อบเสมือนจริง

จำนวนและร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพหลังการจัดจัดการเรียนรู้แบบ 38

MACRO model ร่วมกับส่อื จำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ

ผลการประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบวดั การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 85

ผลการประเมินความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและ 86

หลังเรียนเรือ่ งพันธะโคเวเลนต์



สารบญั ภาพ

เรือ่ ง หน้า
ภาพ 2.1
ภาพ 3.1 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ัย 21

ภาพ 4.1 ขั้นตอนการจัดการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะแผนการจัดการเรยี นรแู้ บบ MACRO model 23

ภาพ 4.2 ร่วมกบั ส่อื จำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ

ภาพ 4.3 ผลการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบความสามารถในการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณกอ่ นและ 29

ภาพ 4.4 หลงั เรยี น
ภาพ 4.5
ภาพ 4.6 กราฟแสดงคะแนนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบปุ ระเดน็ 30

ภาพ 4.7 ปญั หา

ภาพ 4.8 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณด้านความสามารถในการพจิ ารณา 31

ภาพ 4.9 ความนา่ เชอ่ื ถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกต

ภาพ 4.10 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณดา้ นความสามารถในการอปุ นัย 32

ภาพ 6.1 กราฟแสดงคะแนนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณด้านความสามารถในการนิรนัย 33
ภาพ 6.2
ภาพ 6.3 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณดา้ นความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลง 34
ภาพ 6.4
ภาพ 6.5 เบอ้ื งตน้

ภาพ 6.6 กราฟเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนดว้ ย 35

การจดั การเรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับส่ือจำลองโตต้ อบเสมอื นจริงท้ัง 5 ดา้ น

ผลการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานก่อนและหลังเรยี น 36

โดยการจัดการเรียนร้แู บบ MACRO model ร่วมกบั สอ่ื จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ

รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั พัฒนาการของผลสมั ฤทธ์จิ ากการเปรยี บเทยี บผลคะแนน 37

สอบกอ่ นและหลังเรยี นโดยการจัดการเรียนร้แู บบ MACRO model รว่ มกับสอ่ื จำลอง

โต้ตอบเสมือนจริง

ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพจากการจดั การเรยี นรูแ้ บบ MACRO model 38

ร่วมกบั สอื่ จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

บรรยากาศการทำกจิ กรรม covalent bond 88

บรรยากาศการนำเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น เรือ่ ง พันธะโคเวเลนต์ 88

บรรยากาศการแสดงบทบาทสมมติเกย่ี วกับแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกุล 89

บรรยากาศการสรุปองคค์ วามรู้ที่ไดเ้ รียนในรปู แผนผังความคดิ (mind map) 89

บรรยากาศการนำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียน เรอ่ื ง การเปลีย่ นสถานะของนำ้ และ 90

ความมีขัว้

บรรยากาศการทำแบบทดสอบหลังเรยี นโดยการจัดการเรียนรแู้ บบ MACRO model 90

ร่วมกบั สื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ

1

บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญของปญั หา
โลกในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้คนสามารถรับ – ส่งข้อมูลข่าวสารในเวลาเพียงไม่กี่วินาที
ปัจจุบันมนุษยก์ ำลังเขา้ สูภ่ าวะข้อมูลท่วมทน้ (Information overload) เป็นการรับขอ้ มูลทีม่ ากเกินไป ส่งผล
ให้คุณภาพของการตัดสินใจลดลง เนื่องจากขอ้ จำกัดของแต่ละบุคคลในการประมวลผลข้อมลู ทั้งหมดและทำ
การตดั สนิ ใจอย่างเหมาะสมท่ีสุด (Peter Gordon Roetzel, 2019) ดงั นน้ั จำเป็นตอ้ งมกี ารเตรียมความพร้อม
ทางการศึกษาด้วยการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนบริโภคข่าวสารอย่างชาญฉลาด (พศิน แตงจวง, 2554)
จึงกล่าวได้ว่าผู้คนในยุคนี้ต้องมีภูมิคุ้มกันโดยมีทักษะด้านต่าง ๆ ดังนี้ ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ทักษะการทำงานอยา่ งรว่ มพลัง ทักษะการสื่อสาร ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
ทักษะอาชีพและทักษะการใช้ชีวิต และทักษะการใช้ชีวิตในวัฒนธรรมข้ามชาติ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2558)
การศึกษาในปัจจุบันมุ่งเน้นส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานท่ีสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545
มาตรา 24 (2) ระบุว่าควรจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ
กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรู้มาใชเ้ พ่ือปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การพัฒนาความสามารถด้านการคิดมุ่งเน้นที่การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ
เนื่องจากเป็นพื้นฐานของการคิดท่ีได้ผ่านการพิจารณาข้อมูล หลักฐาน และเหตุผลมาอย่างรอบคอบแล้ว
จึงสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ นำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา หรือนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตได้
(ชลดา ลขิ สิทธ,์ิ 2548)

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคม เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ ทั้งในด้าน
การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ เครื่องมือเครื่องใช้ และผลผลิตต่าง ๆ ล้วนเป็นผลที่เกิดจากความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ผสมผสานกบั ความคิดสร้างสรรค์ (George Sanchez, 2018) จงึ ทำให้มนุษย์ได้พฒั นาวิธคี ิดที่เป็น
เหตุเป็นผล สามารถคิดวิเคราะห์ในการค้นคว้าหาความรู้นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจนสามารถ
ตดั สินใจโดยใช้ขอ้ มูลทีห่ ลากหลายและประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จะเห็นได้
ว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เนื่องจากต้องใช้ในการ
ตรวจสอบสมมติฐานต่าง ๆ จึงไม่สามารถแยกการคิดอย่างมีวิจารณญาณออกจากการสอนวิทยาศาสตร์ได้
(Gorge, 1968)

จากการสังเกตปัญหาในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ รายวิชา
วิทยาศาสตร์กายภาพตลอดก่อนกลางภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยตอบ
คำถามหรือแสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน ผู้เรียนรับข้อมูลความรู้จากครูผู้สอนเพียงทางเดียว
โดยไม่มีการไตร่ตรองถึงความถูกต้องของข้อมูลความรู้ที่ได้รับ และเมื่อครูผู้สอนถามคำถามที่เกี่ยวข้องกับ

2

เน้อื หาที่เรียน ผู้เรยี นไม่สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพือ่ จะนำมาใชใ้ นการตอบคำถามได้อย่างตรงประเด็น อีกท้ัง
ยังไม่สามารถสรุปประเด็นความรู้หลังการเรียนได้ครบถ้วน และไม่สามารถให้เหตุผลกับการตัดสินใจเลือก
คำตอบจากสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ได้ แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนกำลังขาดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งตรงกับ
ลกั ษณะของพฤติกรรมดังนี้ (Ennis, 1989)

1. ดา้ นการแสดงออก เช่น
1.1 พูด เขียน หรอื สื่อความหมาย ความเขา้ ใจ โดยมีความหมายชดั เจน
1.2 กำหนดประเดน็ ปัญหาท่ีแนน่ อน โดยพิจารณาสถานการณร์ วมทง้ั หมด
1.3 เป็นผู้ทม่ี คี วามรทู้ นั สมยั อยูเ่ สมอ
1.4 มองหาทางเลือกหลาย ๆ ทาง แสวงหาความถูกต้องแม่นยำให้มากที่สุดตามสถานการณ์ท่ี
ต้องการ
1.5 เปิดใจกวา้ งพจิ ารณาทศั นะอ่ืน ๆ นอกเหนือจากแนวคิดของตน
1.6 ไมด่ ่วนตัดสินใจ กรณีที่หลักฐานและเหตผุ ลไม่เพียงพอ
1.7 ยนื ยนั จดุ ยืนหรือเปลีย่ นแปลงจุดยืนเมอ่ื มีหลกั ฐานและเหตุผลทเี่ พียงพอ

2. ดา้ นการอ้างประเด็นปญั หาหรอื ข้อสรปุ เช่น
2.1 ถามหรือตอบคำถามเก่ยี วกบั ความชดั เจนและความถกู ตอ้ งตามหลกั การ
2.2 ช้ีให้เห็นความคิดทซี่ อ่ นอยูเ่ บ้ืองหลังทไี่ มอ่ าจแสดงให้เห็นชดั เจน
2.3 วนิ ิจฉยั ความน่าเชอ่ื ถือของท่ีมาของแนวคดิ และเหตุผลต่าง ๆ ได้
2.4 ตดั สินใจดว้ ยการใชก้ ฎตา่ ง ๆ และประเมนิ การวนิ จิ ฉยั ได้
2.5 วนิ ิจฉัยตดั สินค่านยิ มต่าง ๆ และประเมินการวนิ จิ ฉัยตัดสินคุณค่าของคา่ นยิ มนนั้ ได้
2.6 ดำเนนิ การตามระเบียบแบบแผนท่ีเหมาะสมกบั สถานการณ์ เชน่ ทำตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ของ
การแกป้ ัญหา สังเกตความคดิ ของตนเองและใชเ้ กณฑ์ทเี่ หมาะสมในการคดิ
2.7 ใช้วธิ พี ูดและกิรยิ าทีเ่ หมาะสมในการอภปิ รายและเสนอความคดิ เห็นต่อแนวคิดต่าง ๆ

แนวทางการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรยี น
สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ตามความสนใจ ความสามารถและความถนัดของผู้เรียน โดยใช้
กระบวนการคดิ และการทำงานแบบร่วมมอื รวมถงึ ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมปี ฏิสัมพันธ์และ
มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แยกแยะข้อมูลที่เหมาะสม สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็น
รูปธรรม ซึ่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นี้ จะปรับเปลี่ยนบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้สอนและป้อน
ความรู้ ใหก้ ลายเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ ทำหนา้ ทส่ี ่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้
และนวตั กรรมไดด้ ้วยตวั เอง โดยใชก้ ารจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละการวัดผลที่หลากหลายสอดคล้องกับ
ศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งปัจจุบันมีรูปแบบการศึกษาที่สร้างมาเพื่อตอบสนองกับการพัฒนาตาม
แนวทางของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

3

(Problem – based Learning: PBL) การจัดเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery method) การเรียนรู้แบบ
Predict – Observe – Explain (POE) หรือโมเดลการสอนที่เรียกว่า MACRO Model รูปแบบการเรียนรู้
เหลา่ นล้ี ว้ นส่งเสรมิ การเรยี นรู้ท่ผี ู้เรยี นเป็นศนู ย์กลางและสามารถพัฒนาทกั ษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการมาจาก
แนวคิดของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยมีองค์ประกอบ 5 ส่วน ดังนี้ Motivation (M) การสร้าง
แรงจงู ใจ สรา้ งแรงบันดาลใจ ความสนใจและความตอ้ งการในการเรยี นรู้ Active learning (A) การเรียนรู้ที่ให้
ผูเ้ รียนได้มโี อกาสได้ความร้โู ดยตรงจากการลงมอื ทำดว้ ยตนเองผ่านวธิ ีการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายจากแหล่งเรียนรู้
ต่าง ๆ โดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั Conclusion (C) การทีผ่ ู้เรยี นสามารถสรุปองค์ความรู้หรือสังเคราะห์ส่ิงท่ีได้
เรยี นรู้ตามความคดิ และภาษาของตนเองได้ Reporting (R) การทผี่ ้เู รยี นส่ือสารและนำเสนอผลการเรียนรู้ด้วย
ภาษา วิธีการและเทคโนโลยสี ารสนเทศทีเ่ หมาะสม และ Obtain (O) การที่ผู้เรียนนำผลการเรียนรู้ท่ีไดร้ บั ไป
ใช้ประโยชน์ เผยแพร่ความรู้สู่ครอบครัว ชุมชน และสังคมต่าง ๆ (ดิเรก วรรณเศียร, 2560) การสอนแบบ
MACRO Model ถือเป็นแนวการสอนที่ช่วยฝึกให้ผู้เรียนกล้าตั้งคำถาม กล้าคิด กล้าแสดงออก และกล้า
ตัดสินใจ ซงึ่ เปลยี่ นแปลงรปู แบบการเรียนจากการท่ีผู้เรียนเปน็ แค่ผรู้ ับฟังเพียงอย่างเดียว ไปสู่การเรียนรู้ด้วย
ตนเองแบบร่วมมอื ซึ่งกระต้นุ ใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจใฝร่ ู้ และร้จู ักเรียนรู้เพื่อแก้ปญั หา สามารถตกผลึกองค์ความรู้
ใหม่ได้ด้วยตัวเองโดยผ่านกระบวนการเรยี นรู้ทีถ่ ูกต้อง และสนับสนุนใหผ้ ู้เรียนนำองค์ความรู้ที่ได้ประยุกตใ์ ช้
และนำเสนอสู่ภายนอก เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนห์ รอื ความเข้าใจแก่บุคคลอน่ื ในระดับสาธารณะ นอกจากน้ียังเป็น
การสอนที่เนน้ ให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งข้อมูลทีม่ ีมากมายในโลก จากทั้งสถานที่จริงและการ
เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากในโลกยุค
ปัจจบุ นั นอกจากนก้ี ารนำสอื่ จำลองโต้ตอบเสมอื นจริงมาประกอบการจัดการเรียนรเู้ ป็นอีกวิธีหนงึ่ ที่ชว่ ยให้การ
เรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ เนอ่ื งจากเป็นสื่อท่ีสามารถทำให้ผู้เรียนมองเหน็ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ
ได้ชัดเจน (ชาญวิทย์ คำเจริญและดารกา พลัง, 2562) และสามารถเรียนรู้ได้อย่างซ้ำ ๆ ตามความต้องการ
จนกว่าจะเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในวิชาเคมีเป็นเนื้อหาที่ทำความเข้าใจยากและมีความเป็น
นามธรรมสูง ทำให้ผู้เรียนขาดความสนใจในเนื้อหาที่เรียน ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
(พัชรี ร่มพยอม วิชัยดิษฐ, 2558) ดังนั้นการนำสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ มาใช้ในการเรียนการสอนจะช่วย
เพิ่มความสนใจและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหา และทำให้ผู้เรียนเข้าใจมโนมติได้อย่าง
ชดั เจนยงิ่ ขนึ้

จากทกี่ ลา่ วมาขา้ งต้นผ้วู จิ ัยสนใจนำรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกบั ส่อื จำลอง
โต้ตอบเสมือนจริงมาใช้ในการแก้ปัญหาทางการเรียน เนื่องจากเป็นแนวการสอนสมัยใหม่ที่สามารถพัฒนา
ความกล้าของผู้เรยี นในหลายดา้ น ไม่ว่าจะเปน็ การคดิ การตัง้ คำถาม การแสดงออก หรือการตดั สินใจ อกี ท้ังยัง
ฝึกให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นความรู้จากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความน่าเชื่อถือ และไตร่ตรองข้อมูลด้วยเหตุผล
รวมถึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาทกั ษะการสื่อสาร ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นผู้วิจยั จงึ มคี วาม
เชื่อว่ารูปแบบการจดั การเรยี นรู้ดังกล่าวจะสามารถพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผเู้ รียนได้

4

วัตถปุ ระสงค์การวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะ

โคเวเลนตโ์ ดยการจัดการเรยี นรูใ้ นรปู แบบ MACRO model รว่ มกบั สื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการ

เรยี นรใู้ นรูปแบบ MACRO model รว่ มกบั สอื่ จำลองโตต้ อบเสมอื นจริง
คำถามวิจัย

1. การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงสามารถ
พัฒนาการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 หรือไม่ อยา่ งไร

2. การจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบ MACRO model ร่วมกับส่อื จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ ทำให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นเรอ่ื งพนั ธะโคเวเลนต์ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นหรอื ไม่ อย่างไร
สมมตฐิ านการวิจยั

1. การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงสามารถ
พฒั นาการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ได้

2. การจดั การเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model รว่ มกบั สือ่ จำลองโต้ตอบเสมอื นจริงทำให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นเร่ืองพันธะโคเวเลนต์ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน
ขอบเขตการวิจยั

งานวิจัยนี้ศึกษาการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model
รว่ มกบั สอื่ จำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ ซึ่งมีกลุ่มเปา้ หมายเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/2 แผนการเรียนศิลป์
ญี่ปุ่น จำนวน 11 คน โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ จากการสังเกตปัญหาในช้ันเรียนมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/2
โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพตลอดก่อนกลางภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2563 พบว่านกั เรียนส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยตอบคำถามหรือแสดงความคดิ เหน็ ระหว่างการเรียนการสอน ผู้เรียนรับ
ข้อมูลความรู้จากครูผู้สอนเพยี งทางเดียว โดยไม่มกี ารไตร่ตรองถึงความถูกต้องของข้อมูลความรู้ที่ไดร้ บั และ
เม่อื ครูผ้สู อนถามคำถามที่เก่ียวข้องกับเน้อื หาท่ีเรียน ผ้เู รยี นไม่สามารถค้นคว้าหาขอ้ มูลเพ่ือจะนำมาใช้ในการ
ตอบคำถามได้อย่างตรงประเด็น อีกทั้งยังไม่สามารถสรุปประเด็นความรู้หลังการเรียนได้ครบถ้วน และไม่
สามารถให้เหตุผลกับการตัดสินใจเลือกคำตอบจากสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ได้ แสดงถึงการขาดการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ดังนั้นผู้วิจัยจงึ เลือกใช้ MACRO model และสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงมาเปน็ รูปการณ์สอน
เพราะเปน็ รปู แบบที่ทำให้นกั เรยี นได้ฝึกกล้าตงั้ คำถาม กล้าคดิ กล้าแสดงออก และกลา้ ตัดสนิ ใจ อีกท้ังยงั ฝึกให้
ผู้เรยี นสามารถสืบคน้ ความรจู้ ากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ทีม่ ีความน่าเชอื่ ถอื และไตรต่ รองขอ้ มูลดว้ ยเหตุผล รวมถึง
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการสื่อสาร นอกจากนี้สื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงยังทำให้นักเรียนมองเห็น
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางเคมีได้ชัดเจนยิ่งข้ึน จึงเป็นการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและส่งเสริม
ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ซึ่งทำการวิจัยกับเนื้อหาเรื่องพันธะโคเวเลนต์ ใช้เวลาในการสอนทั้งหมด
6 คาบ จำนวน 5 ชั่วโมง เน่ืองจากเปน็ เนอื้ หาที่มีความเหมาะสมกับรปู แบบการจัดการเรียนร้ขู ้างต้น

5

คำจำกัดความ/นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้องค์ประกอบ 5 ขั้นตอน

ได้แก่ 1) ขั้นการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) 2) ขั้นการเรียนรู้โดยตรง ( Active learning)
3) ขั้นสรุปองค์ความรู้ (Conclusion) 4) ขั้นรายงานและนำเสนอ (Reporting) และ 5) ขั้นเผยแพร่ความรู้
(Obtain)

การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ หมายถึง การรู้จกั ใชค้ วามคิดพจิ ารณาวิเคราะห์สงั เคราะห์ และประเมินผล
ในเนื้อหาหรอื เหตกุ ารณ์ที่เป็นปัญหาหรือข้อขัดแยง้ โดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตนเพื่อ
นำไปสู่การตัดสินในการปฏิบัตดิ ้วยความเหมาะสมอันสอดคล้องกบั หลักการ และเหตุผล ภายใต้พื้นฐานของ
หลักเกณฑ์ และมีข้อมูลที่เชื่อถือได้ย่อมนำไปสู่ข้อสรุป และการตัดสินใจในทิศทางที่เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ วัดได้จากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีลักษณะเป็ นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก
จำนวน 25 ขอ้

สื่อจำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ หมายถึง สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณท์ างเคมี เช่น
PhET simulation หรือ Javalab เป็นต้น
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั

ประโยชน์เชิงวชิ าการ
1. เพ่อื เปน็ แนวทางสำหรบั ครูผ้สู อนวิทยาศาสตรใ์ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรู้

2. เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนท่านอื่นนำรูปแบบหรือกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้การจัดการ
เรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมอื นจริงไปเป็นต้นแบบหรือประยกุ ต์ต่อยอดในการ
เรียนการสอน

ประโยชนเ์ ชงิ ปฏบิ ัติการ
1. เพอ่ื พัฒนาใหน้ ักเรียนมีการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพม่ิ ข้ึน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาเรื่องพันธะโคเวเลนต์เพิ่มขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรยี นท่สี งู ขึน้

6

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ ง

การวิจัยคร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษาค้นควา้ พร้อมทงั้ นำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ ง 5 ตอนท่ีสำคัญ
ได้แก่ ตอนที่ 1 แนวคิดเก่ียวกับการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ ตอนท่ี 2 แนวคดิ เกี่ยวกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ตอนที่ 3 แนวคดิ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ตอนที่ 4 แนวคดิ เก่ียวกบั การจัดการเรียนรู้
โดยใช้สื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ ตอนที่ 5 งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ และตอนท่ี 6
กรอบแนวคดิ ของการวิจยั ซ่งึ แตล่ ะส่วนมีรายละเอียดดังนี้

ตอนท่ี 1 แนวคดิ เกยี่ วกับการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

สาระสว่ นน้ีประกอบไปด้วย 5 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ความหมายของการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ตอนที่ 2
ความสำคัญของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตอนที่ 3 องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และตอนที่ 4 การวัดความสามารถในการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ซงึ่ มรี ายละเอียดดงั น้ี

ความหมายของการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

การคิดอย่างมีวิจารณญาณถูกให้ความหมายโดยนักวิชาการ นักการศึกษา นักจิตวิทยา และ
ผู้เชยี่ วชาญไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ดังนี้

การคิดอย่างมีวิจารณญาณเปน็ การใชก้ ระบวนการคดิ ในการพจิ ารณาไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบเกี่ยวกับ
สถานการณ์ปัญหาที่ปรากฏ โดยมีการตีความหมายสรุปความ ซึ่งอาศัยข้อมูล ความรู้ ความคิด และ
ประสบการณ์ของตนในการสำรวจหลักฐานอย่างละเอียดถูกต้อง เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปที่สมเหตุสมผลหรื อ
ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม (เพ็ญพิสุทธิ์ เนคมานุรักษ์, 2537;มลิวัลย์ สมศักดิ์,2540;มยุรี หรุ่นขำ,
2544;อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, 2544;พลกฤช ตันติญานุกูล, 2547;ปณิตา วรรณพิรุณ, 2551) ในขณะที่
ศันศนยี ์ ฉัตรคุปต์และอษุ า ชูชาติ (2544) ได้ขยายความของความหมายการคดิ อย่างมีวิจารณญาณว่าเป็นการ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจแก้ปัญหา โดยยึดหลักการคิดด้วยเหตุผลจากข้อมูลที่เป็นจริงมากกว่า
อารมณ์และการคาดเดา พิจารณาความเป็นไปได้ในแง่มุมต่าง ๆ ว่าอะไรคือความจริง อะไรคือความถูกต้อง
คดิ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวงั ใชส้ ตปิ ัญญาและทักษะการคิดไตร่ตรองอย่างมวี ิจารณญาณมากกว่าการใช้
อารมณ์ที่ทำให้เกดิ ความลำเอียง เกิดอคติ ซึ่งจะมีผลเสยี ต่อการตัดสนิ ใจ ดังนั้นการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณจงึ
เป็นการคิดที่เปิดกว้างมีเป้าหมายแน่นอน มีเหตุผล มีความถูกต้องแม่นยำ สามารถตรวจสอบความคิดและ
ประเมินความคิดของตนเองได้ และ Watson & Glaser (1964) ได้ให้ความหมายการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คล้ายคลงึ กบั นกั วิชาการ นกั การศึกษา นักจิตวทิ ยา และผเู้ ชี่ยวชาญข้างต้น แตไ่ ดเ้ น้นองค์ประกอบ 5 ประการ
คือ 1) การสรุปอ้างอิง (Inference) 2) การยอมรับข้อตกลงเบื้องต้น (Recognition of Assumption)
3) การอนมุ าน (Deduction) 4) การแปลความ (Interpretation) และ 5) การประเมินขอ้ โตแ้ ย้ง (Evaluation
of Arguments) ซงึ่ แตกตา่ งกบั Ennis (1985) ท่ีเนน้ ประเดน็ สำคัญเพยี ง 4 ประการ คอื 1) การคิดทใ่ี ช้เหตุผล

7

2) การคิดที่มีการไตร่ตรอง 3) การคิดที่เนน้ การมีสติสัมปชญั ญะ และ 4) การคิดที่เป็นการตัดสินว่าอะไรควร
เช่ือควรปฏิบตั อิ ยา่ งไร

สรุปว่าการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจ
แก้ปัญหา โดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ในการไตร่ตรองข้อมูลที่น่าเชื่อถืออย่างมีเหตุมีผล
เพ่อื นำไปสขู่ ้อสรปุ ในการแกป้ ัญหาอย่างเหมาะสม

ความสำคญั ของการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ

การคิดเป็นหัวใจสำคัญที่เป็นจุดเริ่มต้นของบุคคลที่จะได้แสดงออกเพื่อนำไปสู่ความ พยายามที่จะ
แก้ปัญหาและสัมฤทธิ์ผลในสิ่งที่ต้องการและเป็นประโยชน์ สามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
โดยเฉพาะความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซง่ึ นบั เปน็ คณุ สมบัตทิ ่ีพึงปรารถนาและเป็นจุดมุ่งหมาย
ที่สำคัญของการจัดการศึกษาเพราะคนที่มีความคิดวิจารณญาณจะสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ หรือเผชิญกับ
สถานการณ์ที่เป็นปัญหาแล้วสามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีเหตุผล (ฉันทนา
ภาคบงกช, 2528) ซ่ึง สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน (2541) ได้เสริมวา่ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
นี้จะเข้ามามีบทบาทในโรงเรียนมากยิ่งขึ้นเพราะในยุคปัจจุบันเป็นยุคที่ข่าวสารและเทคโนโลยีมีความ
เจริญก้าวหน้า การปูพื้นฐานในการคิดจึงมีความสำคัญสำหรับเด็ก ๆ เพราะวัยเด็กที่เป็นวัยช่างคิด ช่างถาม
ช่างสงสยั ชา่ งจดจำและเปน็ ช่วงท่ีสติปญั ญากำลังพฒั นาสูงสุด การได้ฝกึ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณตั้งแต่เด็ก
จะทำให้เด็กสามารถอยู่ในสังคมได้โดยสามารถที่จะแก้ปัญหาได้โดยไม่ผิดพลาด (ทวีพร ดิษฐคำเริง, 2540)
ในขณะเดียวกัน อุษณีย์ โพธิสุข (2537) ได้กล่าวถึงผลกระทบของการไม่ได้รับการฝึกหรือปูพื้นฐานการคิด
อย่างมีวจิ ารณญาณตง้ั แตเ่ ดก็ ว่าถ้าเดก็ ไม่ได้รับการพฒั นาตง้ั แต่เยาวว์ ัย เดก็ จะไมส่ ามารถใชเ้ หตุผลมาแก้ปัญหา
ได้และจะเป็นผลต่อเนื่องไปถึงผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ที่ขาดการพิจารณาข้อมูลต่าง ๆ ทำให้กลายเป็นปัญหา
ใหม่เกดิ ขึน้

สรุปว่าการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีความสำคัญตอ่ การดำเนินชีวิตจึงควรปูพืน้ ฐานตั้งแต่เด็ก เพื่อให้
สามารถแก้ปัญหาและตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมีเหตผุ ลเมอ่ื เตบิ โตเปน็ ผ้ใู หญ่ในอนาคต

องคป์ ระกอบของการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ

กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีความซับซ้อนหลายขั้นตอน ซึ่งนักวิชาการ นักการศึกษา
นักจิตวิทยา และผเู้ ชย่ี วชาญหลายท่านไดน้ ำเสนอองคป์ ระกอบของการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณไวด้ ังนี้

Ennis (1985) กล่าวถึงองคป์ ระกอบการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณเป็น 5 องค์ประกอบ ได้แก่
1. การนิยามปัญหา เป็นความสามารถในการระบุปัญหาการกำหนดคำถามทีเ่ หมาะสมจากข้อความ
หรือสถานการณ์
2. การตัดสินข้อมูล เป็นความสามารถในการพิจารณาการตัดสินความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
สามาร ถจําแน ก ข้อมูลที่เป็น ข้อเท็จจริงและ คว ามคิดเห็ นจาก ก ัน ได้สามารถร ะบุข้อตก ลงเบื้องต้นของ
สถานการณ์ และสามารถตรวจสอบความสอดคล้องและความเพยี งพอของขอ้ มูล

8

3. การระบุสมมติฐานเป็นความสามารถในการกำหนดแนวทางหรอื พยากรณ์คําตอบโดยอาศัยข้อมูล
ข้อความหรือสถานการณ์เบ้ืองตน้

4. การสรปุ อ้างองิ เปน็ ความสามารถในการสรุปอย่างสมเหตสุ มผลความสามารถในการนริ นัย
5. การสรุปอา้ งอิงอปุ นยั ประเมนิ ข้อสรุป หาความสมเหตุสมผลของขอ้ สรปุ จากเหตกุ ารณ์
องค์ประกอบของการคิดอย่างมวี ิจารณญาณที่นักวิชาการ นักการศึกษา นักจติ วทิ ยา และผู้เช่ียวชาญ
ได้สรุปไว้มีความคล้ายคลึงกับของ Ennis ในหลายประเด็นเพียงแต่ใช้คำเรียกที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่
การนยิ ามปญั หา การระบขุ ้อตกลงเบอื้ งต้น การลงข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลและการตัดสนิ ความสมเหตุสมผล
ของการคิดหาเหตุผล และการพิจารณาตัดสินความสมเหตุสมผลของกระบวนการที่นําไปสู่ข้อสรุป (Dressel
and Mayhew, 1957) นอกจากนี้ยังมีการสรุปองค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณทีแ่ ตกต่างออกไป
ซึ่งนอกเหนอื จากที่กล่าวมาข้างต้น ดังนี้ การประเมินข้อสรุปโดยอาศยั เกณฑก์ ารประยุกต์ใช้ การตั้งคาํ ถามที่
เหมาะสมเพื่อทำให้กระจ่างหรือท้าทาย การระบุลักษณะของข้อมูล และการตั้งสมมติฐาน (เพ็ญพิศุทธิ์
เนคมานรุ ักษ,์ 2537;ชนาธปิ พรกุล, 2544;Dressel and Mayhew, 1957)
สรปุ วา่ องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีอย่างหลากหลาย ซ่งึ แตล่ ะองคป์ ระกอบล้วนแต่
เป็นกระบวนการทตี่ ้องนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เพือ่ ให้แกป้ ญั หาทเี่ กิดข้ึนไดอ้ ย่างเหมาะสม

การวัดความสามารถในการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ

ผูว้ จิ ยั ไดท้ ำการศึกษาการวัดความสามารถในการคิดอย่างมวี ิจารณญาณโดยใชแ้ บบทดสอบที่สร้างข้ึน
จากองค์ความร้ทู วั่ ไป มลี ักษณะเปน็ ปรนัย ดังนี้ (ชาลินี เอีย่ มศรี, 2536)

1. แบบประเมนิ ผลการคิดวิจารณญาณของ (Watson - Glaser Critical Thinking Appraisal) สร้าง
โดย Watson – Glaser ใช้สำหรับนักเรียนระดับ ม.3 ถึงวัยผู้ใหญ่ ลักษณะของแบบทดสอบมี 2 ฟอร์ม ซึ่งมี
ลักษณะเป็นคู่ขนานกัน คือ ฟอร์มเอ และฟอร์มบี แต่ละฟอร์ม ประกอบด้วย 5 แบบทดสอบย่อย มีข้อสอบ
รวมทัง้ หมด 80 ข้อ ใช้เวลาสอบ 50 นาที ในแต่ละแบบทดสอบย่อยวดั ความสามารถต่าง ๆ ดงั นี้

1.1 ความสามารถในการสรุปอ้างอิง (Inference) เป็นการวัดความสามารถในการตัดสิน
จำแนกความน่าจะเป็นของข้อสรุปว่า ข้อสรุปใดเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ลักษณะของแบบทดสอบมีการกำหนด
สถานการณม์ าให้แล้วมีข้อสรุปของสถานการณ์ 3 – 5 ขอ้ สรปุ จากนนั้ ผู้ตอบจะตอ้ งพิจารณาว่าข้อสรุปแต่ละ
ข้อเป็นเช่นไร โดยเลือกจากตัวเลือก 5 ตัวเลอื ก ได้แก่ เปน็ จริง (True) นา่ จะเป็นจริง (Probably) ข้อมูลที่ให้
ไม่เพยี งพอ (Insufficient Data) นา่ จะเปน็ เทจ็ (Probably False) และเปน็ เท็จ (False)

1.2 ความสามารถในการระบุขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ (Recognition of Assumption) เปน็ การวัด
ความสามารถในการจำแนกว่า ข้อความเป็นข้อตกลงเบื้องต้นหรือไม่เป็นข้อตกลงเบื้องต้น ลักษณะของ
แบบทดสอบมกี ารกำหนดสถานการณ์มาให้ แลว้ มีขอ้ ความตามมาสถานการณ์ละ 2 – 3 ข้อ จากนน้ั ผ้ตู อบต้อง
พิจารณาตดั สินว่าขอ้ ความในแตล่ ะขอ้ ข้อใดเป็นหรอื ไมเ่ ปน็ ข้อตกลงเบื้องตน้ ของสถานการณ์

9

1.3 ความสามารถในการนิรนัย (Deduction) เป็นการวัดความสามารถในการหาข้อสรุป
อย่างสมเหตุสมผลจากข้ออา้ งโดยใช้หลกั ตรรกศาสตร์ ลกั ษณะของแบบทดสอบมกี ารกำหนด ข้ออ้างมาให้แล้ว
มีข้อสรุปตามมาข้ออา้ งละ 2 – 3 ขอ้ จากน้นั ผู้ตอบตอ้ งพิจารณาตัดสนิ วา่ ข้อสรุปใน แต่ละข้อสรุปเป็นขอ้ สรุปท่ี
จำเปน็ /เปน็ ไปได้ หรอื ไมเ่ ปน็ ไปตามขอ้ อา้ งนน้ั
1.4 ความสามารถในการดีความ (Interpretation) เปน็ การวัดความสามารถในการให้ นำ้ หนักขอ้ มูลหลักฐาน
เพอ่ื ตดั สินความเปน็ ไปได้ของข้อสรุป ลักษณะแบบทดสอบมีการกำหนด สถานการณ์มาให้ แล้วมีข้อสรุปตาม
สถานการณ์ละ 2 – 3 ข้อ จากน้นั ผตู้ อบตอ้ งพิจารณาตดั สนิ วา่ ขอ้ สรปุ ในแต่ละข้อน่าเช่ือถือหรือไม่น่าเชื่อถือ
ภายใต้สถานการณอ์ นั นนั้

1.5 ความสามารถในการประเมินข้อโต้แย้ง (Evaluation of Arguments) เป็นการวัด
ความสามารถในการจำแนกการให้เหตุผลว่าสิ่งใดเป็นความสมเหตุสมผล ลักษณะของแบบทดสอบมีการ
กำหนดชุดของข้อคำถามเกี่ยวกับประเด็นปัญหาสำคัญมาให้ ซึ่งแต่ละคำถามมีชุดของคำตอบพร้อมเหตุผล
กำกับ จากนั้นผู้ตอบต้องพจิ ารณาดดั สินว่าคำตอบใดมีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกบั คำถามหรือไม่และให้
เหตผุ ลประกอบ

2. แบบทดสอบความคิดวิจารณญาณคอร์เนล (Cornell Critical Thinking Test) เป็นแบบทดสอบที่
สร้างและพัฒนาโดยเอนนิสและมิลล์แมน ซึ่งสร้างแบบทดสอบเป็น 2 ฉบับ ใช้วัดกับกลุ่มบุคคลต่างระดบั กัน
ดังนี้

2.1 แบบทดสอบความคิดวจิ ารณญาณคอร์เนลระดับเอ็กซ์ (Cornel Critical Thinking Test,
Level X) เปน็ แบบทดสอบท่ีใช้สำหรบั นักเรียนระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ถึงมธั ยมศึกษา ประกอบด้วยข้อสอบ
71 ข้อ ใชเ้ วลาประมาณ 50 นาที เปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน คือ
ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกต (Credibility of Sources and
Observation) ความสามารถในการนิรนัย (Deduction) ความสามารถในการอุปนัย (Induction) และ
ความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบอื้ งตน้ (Assumption Identification)

2.2 แบบทดสอบความคิดวิจารณญาณคอร์เนลระดับซี (Comcl Critical Thinking Test,
Level 2) เป็นแบบทดสอบที่ใช้สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี บัณฑิต
วิทยาลัย รวมทั้งผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ข้อสอบ 72 ข้อ ใช้เวลาประมาณ 50 นาที เป็นแบบทดสอบปรนัยชนดิ
เลอื กตอบ 3 ตัวเลือก แบ่งออกเป็น 7 ตอน คอื ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถอื ของแหล่งข้อมูล
(Credibility of Sources) ความสามารถในการพยากรณ์และการวางแผนการทดลอง (Prediction and
Experimental Planning) ความสามารถต่อการอ้างเหตุผลผิดหลักตรรกะ (Fallacies) ความสามารถในการ
นิรนัย (Deduction) ความสามารถในการอุปนัย (Induction) ความสามารถในการให้คำจำกัดความ
(Definition) และความสามารถในการระบขุ ้อตกลงเบ้อื งตน้ (Assumption Identification)

3. แบบทดสอบ New Jersey Test of Reasoning Skills เป็นแบบทดสอบนส้ี รา้ งโดยสถาบันสง่ เสริม
ด้านปรัชญาสำหรับเด็ก (Institute for the Advancement of Philosophy for Children) ใช้กับนักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 ข้นึ ไปจนถึงระดบั มัธยมศกึ ษา แบบทดสอบนต้ี ้องการวัดความสามารถด้านการใช้เหตุผล

10

ทางภาษา ลักษณะของแบบทดสอบเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ 3 ตัวเลือก ข้อสอบมีทั้งหมด
50 ข้อ แบ่งออกเป็น 5 ตอน คือ การระบุข้อตกลงเบื้องต้น (Assumption Identification) การอุปนัย
(Induction) การอ้างเหตุผลที่ดี (Good Reasons) และชนดิ และระคับ (Kind and Degrees)

สรปุ วา่ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณสามารถวัดโดยใชแ้ บบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึง่ มีอยู่
หลายรูปแบบแตกต่างกันออกไป โดยการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกแบบทดสอบความคิดวิจารณญาณคอร์เนล
(Cornell Critical Thinking Test) ที่สร้างและพัฒนาโดยเอนนิสและมิลล์แมนเป็นแบบทดสอบวัดการคิด
อย่างมีวจิ ารณญาณ แบง่ ตามองค์ประกอบ 5 ดา้ น ดงั นี้ ความสามารถในการระบุปัญหา ความสามารถในการ
พจิ ารณาความนา่ เช่อื ถือของแหล่งขอ้ มูลและการสงั เกต ความสามารถในการนิรนยั ความสามารถในการอุปนัย
และความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบอ้ื งต้น เนอื่ งจากได้รบั การยอมรับและนยิ มใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลาย

จากเนื้อหาสาระที่นำเสนอข้างต้น จะเห็นว่าการคิดอย่างมีวิจารญาณมีความสำคัญต่อการใช้
ชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก ซึ่งสามารถพัฒนาขึ้นได้โดยใช้การจัดการเรยี นรู้แบบ MACRO model ร่วมกับ
ส่อื จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ ในการวิจัยครั้งนม้ี ีวตั ถุประสงค์เพ่อื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและ
หลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ร่วมกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วย ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องศึกษา
เกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เพ่ือใหเ้ ป็นไปตามประสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้ โดยมีสาระสำคัญท่จี ะนำเสนอในตอนถัดไป

ตอนท่ี 2 เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

สาระส่วนนี้ประกอบไปด้วย 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตอนที่ 2
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และตอนที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมักถูกให้ความหมายโดยนักวิชาการว่าเป็นความรู้ ความสามารถ ทักษะทาง
วิชาการของบุคคลที่ถูกพฒั นาขึน้ หรือความสำเรจ็ ในการพยายามเข้าถึงองค์ความรู้ อันเกิดจากการเรียนการ
สอน การฝกึ อบรม การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม และประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ทำให้บุคคลเกดิ การเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมในด้านตา่ ง ๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซง่ึ มจี ดุ มุ่งหมายเพือ่ เปน็ การตรวจสอบระดบั ความสามารถ
ของแตล่ ะบุคคลว่าเรียนแลว้ รู้อะไรบา้ งหรอื มีความสามารถมากนอ้ ยเพียงใด สามารถวดั ไดด้ ว้ ยแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์โดยทั่วไปที่แสดงผลในรูปคะแนนสอบ (Good, 1973;ชวาล แพรัตกุล, 2517;อรวรรณ เจือจันทร์,
2536;กนกวรรณ โพธ์ทิ อง, 2540;มณฑารัตน์ ชูพินิจ, 2540;สนทยา เขมวริ ตั น์, 2542;อารีย์ คงสวัสดิ์, 2544;
ไพโรจน์ คะเชนทร์, 2556) ในขณะเดียวกัน สาคร ธรรมศกั ด์ิ (2541) ได้ขยายความการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนว่าสามารถวัดได้สองแบบตามจุดมุ่งหมายและลักษณะวิชาที่สอน คือ 1) การวัดด้านปฏิบัติ เป็นการ
ตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏบิ ัติและทักษะของนกั เรยี น โดยมุ่งเน้นให้นกั เรียนแสดงความสามารถ
ออกมาในรูปผลงาน การวัดแบบนี้ตอ้ งใช้ “ข้อสอบภาคปฏิบตั ิ (Performance Test)” 2) การวัดด้านเน้อื หา
เป็นการตรวจสอบความสามารถเกีย่ วกับเนื้อหาวิชา (Content) อันเป็นประสบการณ์การเรยี นรู้ของนักเรยี น
รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้โดยใช้ “ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement

11

Test)” และ บุษกร พรหมหล้าวรรณ (2546) กล่าวเพิ่มเติมในส่วนแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวา่
แบบทดสอบนี้ต้องสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านความรู้สึก และ
ด้านปฏิบัติการด้วย ซึ่งในทางกลับกัน Eysenck (1972) มองในอีกมุมหนึ่งว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่
จำเป็นตอ้ งมาจากการทำแบบทดสอบ อาจมาจากการสังเกตหรอื ตรวจการบ้านก็ได้

สรุปว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ สามารถวัดและ
ประเมินผลได้ โดยครอบคลุมทั้งด้านความรู้ (พุทธิพิสัย) ด้านจิตใจ (จิตพิสัย) และด้านทักษะปฏิบัติ
(ทกั ษะพิสยั )

การวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถือเป็นเคร่ืองมอื สำคัญที่ใช้วัดปริมาณความรู้ ความสามารถ
และทักษะด้านต่าง ๆ ท่ีนักเรียนได้เรียนรู้มาในอดีตว่ารับรู้ไว้มากน้อยเพยี งใด ซึ่งเป็นการมุ่งตรวจสอบระดับ
ความสามารถของนักเรยี นโดยเฉพาะ สำหรบั แบบทดสอบน้ีจะถูกสร้างขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ มีการวิเคราะห์
ข้อคำถาม แล้วนำมาปรับปรุงเป็นขั้น ๆ จนกว่าจะสามารถนำมาใช้จริง (บุญชม ศรีสะอาด, 2546;ระเบียบ
อนนั ตพงศ์, 2550;ชวาล แพรัตกลุ , 2552)

นักวิชาการหลายท่านแบ่งประเภทแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีแตกต่างกันออกไปโดย
ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ (2531) แบ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) แบบทดสอบของผ้สู อน เป็นชดุ คาํ ถามทีผ่ ู้สอนสร้างข้ึน ซึง่ เปน็ ข้อคาํ ถามเก่ยี วกบั ความรูท้ ่ีนกั เรยี นไดเ้ รียนใน
ห้องเรียนวา่ นักเรียนมีความรูม้ ากแค่ไหนและบกพร่องจุดไหน เพื่อจะได้สอนซ่อมเสรมิ หรือเป็นการวัดความ
พร้อมของนักเรียนในการขึ้นบทเรียนใหม่ และ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้นจาก
ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา หรือจากผู้สอนในรายวิชานั้น ซึ่งต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพหลายครั้งจน
คณุ ภาพดีพอจึงสร้างเกณฑป์ กตขิ องแบบทดสอบน้ัน เพื่อใหส้ ามารถใช้เป็นหลกั เปรยี บเทยี บผลสำหรับประเมิน
ค่าของการเรียนการสอนในเร่ืองใด ๆ ก็ได้ สำหรับแบบทดสอบมาตรฐานนี้จะมีคู่มือดำเนินการสอบ
บอกวิธีการสอบและมาตรฐานในด้านการแปลคะแนนแนบมาด้วย ส่วน บุญชม ศรีสะอาด (2535) ก็แบ่ง
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์อิ อกเปน็ 2 ประเภทเช่นเดยี วกับ ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ แต่รายละเอียด
จะแตกต่างออกไปโดย 1) แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Test) เป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้น
ตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีคะแนนจุดตัดหรือคะแนนเกณฑส์ ำหรับตัดสินว่าผู้สอบมีความรู้ตามเกณฑท์ ่ี
กำหนดหรือไม่ และหัวใจสำคัญของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้ คือ การวัดตามจุดประสงค์การเรียนรู้
2) แบบทดสอบอิงกลุ่ม (Norm Reference Test) เปน็ แบบทดสอบท่ีมุ่งสร้างเพือ่ ใหว้ ัดครอบคลุมหลกั สตู ร จึง
สรา้ งตามตารางวิเคราะห์หลกั สูตร สำหรับหัวใจสำคัญของข้อสอบประเภทน้ี คือ ความสามารถในการจําแนก
ผสู้ อบตามความเกง่ อ่อน และในส่วนของการรายงานผลการสอบจะอาศยั คะแนนมาตรฐาน ซง่ึ เป็นคะแนนท่ีใช้
ความสามารถในการให้ความหมายและแสดงถงึ ศักยภาพของบุคคลนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลอื่น ๆ ที่ใช้
เปน็ กลุ่มเปรยี บเทียบ สำหรบั การแบ่งประเภทแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมไ่ ด้มีเพียงนักวิชาการ
สามทา่ นท่กี ล่าวมาข้างต้น แตย่ ังคงมี ไพศาล หวังพาณิชย์ และ พวงรตั น์ องั วฒั นกลุ (2523) ที่ให้ความหมาย

12

และแบ่งประเภทแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไว้ค่อนข้างกว้าง โดยแบ่งตามจุดมุ่งหมายและลักษณะวชิ าที่สอน
ซง่ึ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) การวัดดา้ นปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติหรือ
ทักษะของนักเรยี น โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนได้แสดงความสามารถดังกล่าวในรูปของการกระทำจริงให้ออกเป็น
ผลงาน เช่น วิชาศิลปศึกษา พลศึกษา การช่าง เป็นต้น สำหรับการวัดแบบนี้จึงต้องใช้ “ข้อสอบภาคปฏิบัติ
(Performance Test)” และ 2) การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา อัน
เป็นประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้โดยใช้
“ข้อสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test)” สำหรับการวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนน้ี จะต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน ซึ่ง อำนวย รุ่งรัศมี (2525) และอุทุมพร จามรมาน (2548) ได้อธิบาย
เพ่ิมเติมในส่วนนี้ไว้ว่าวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้ ( Cognitive
Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวกับกระบวนการต่าง ๆ ทางด้านสติปัญญาและสมอง ประกอบด้วยพฤติกรรม
6 ด้าน ดังนี้ 1.1) ด้านความรู้ความจํา หมายถึง ความสามารถระลึกถึงเรื่องราวประสบการณ์ที่ผ่านมา
1.2) ด้านความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการจับใจความ การแปลความ การตีความ และการขยาย
ความของเรอ่ื งได้ 1.3) การนําไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการนาํ ความรหู้ รอื หลักวิชาท่เี รยี นมาแล้วมาสร้าง
สถานการณ์จริงหรือสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน 1.4) การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะ
เรื่องราวต่าง ๆ หรือวัตถุสิ่งของเพื่อต้องการค้นหาสาเหตุเบือ้ งต้น หาความสัมพันธ์ระหว่างใจความ ระหว่าง
สว่ นรวม หรือระหวา่ งตอน ตลอดจนหาหลกั การที่แฝงอยใู่ นเร่ือง 1.5) การสังเคราะห์ หมายถงึ ความสามารถ
ในการนาํ ความรู้มาจดั ระบบใหม่ เป็นเร่ืองใหม่ที่ไมเ่ หมอื นเดมิ มคี วามหมายและประสิทธิภาพสงู กว่าเดิม และ
1.6) การประเมนิ ค่า หมายถงึ การวนิ จิ ฉัยคุณค่าของบุคคล เรื่องราว วัสดุสิง่ ของ อยา่ งมหี ลักเกณฑ์ ตามด้วย
2) ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้าน
ความสนใจ คุณค่า ความซาบซึ้ง และเจตคติต่าง ๆ ของนักเรียน และในส่วนสุดท้ายของวัตถุประสงค์เชิง
พฤติกรรม คือ 3) ด้านการปฏบิ ัตกิ าร (Psychomotor Domain) สำหรบั พฤติกรรมด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการ
พฒั นาทักษะในการปฏิบัติและการดำเนนิ การ เช่น การทดลอง เปน็ ต้น

สรุปว่าการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ซงึ่ แบ่งออกได้หลายประเภท แต่ทุกประเภทลว้ นมุ่งเน้นการตรวจสอบระดับความสามารถของนักเรยี น

ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการศึกษา เนื่องจากเป็นตัวบ่งบอกถึง
ประสิทธิผลทางการศึกษา ซึ่งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้นมีด้วยกันหลายปัจจัย แบ่ง
ออกเปน็ 2 ปจั จัยใหญ่ ๆ ได้แก่ ปจั จยั ด้านสตปิ ัญญา (Intellectual factors) และปจั จัยด้านที่ไม่ใช่สติปัญญา
(Non - Intellectual factors) ในสองปจั จยั นี้มคี วามสำคญั ไม่ยิง่ หย่อนไปกว่ากันเลย เพราะ เปน็ ปจั จยั ที่สง่ ผล
ให้นักเรียนประสบความสำเร็จด้านการเรียนแตกต่างกัน (Anastasi,1967) และในส่วนของปัจจัยนี้ยังคงมี
นกั วิชาการหลายท่านที่มคี วามเหน็ ในมุมที่กว้างข้นึ ว่าปัจจัยทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนนั้นสามารถ
แบง่ ออกไดถ้ งึ 4 ปจั จัย โดยปัจจัยแรกพูดถึงตัวนักเรยี น ซึง่ ประกอบดว้ ยตัวแปรท่ีเกย่ี วกบั การเรียน สมาชิกใน

13

ครอบครัว ความพร้อม ทัศนคติเกี่ยวกับการเรียนการสอน ปัจจัยที่สองเป็นปัจจัยที่เก่ียวกับครูผู้สอน
ประกอบด้วย อายุ วฒุ ิครผู สู้ อน ประสบการณข์ องครูผู้สอน และความเอาใจใส่ในหน้าทเี่ กี่ยวกับด้านกิจกรรม
การเรยี นการสอนท้งั ในและนอกช้ันเรียน ปัจจัยทส่ี ามเกยี่ วข้องกบั การจัดระบบในโรงเรยี น จะประกอบไปด้วย
ขนาดของโรงเรียน อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนต่อจำนวนครูผู้สอน และจำนวนนักเรียนต่อหนึ่งห้องเรียน
และปัจจัยสุดท้าย คือ ปัจจัยที่เกี่ยวกับภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของนักเรียน (สุมิตรา
องั วฒั นกุล, 2539;อารีย์ คงสวัสดิ์, 2544;อัญชนา โพธิพลาการ, 2545) จะเห็นได้ว่าปจั จัยทั้งหลายเหล่าน้ีล้วน
สง่ ผลตอ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนใหม้ รี ะดับทีแ่ ตกต่างกนั ไป

สรุปว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีอยู่ด้วยกันหลายปัจจัย ได้แก่ ด้านตัวนักเรียน
ดา้ นครผู สู้ อน ดา้ นการจดั ระบบในโรงเรียน และดา้ นภูมิหลงั ทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอ้ มของนักเรียน
ซ่ึงปัจจยั เหลา่ น้สี ามารถเปน็ ตวั บ่งบอกถึงประสิทธผิ ลทางการศึกษาได้

จากความสำคัญข้างตน้ จะเหน็ ว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีความสำคญั อย่างมาก เนื่องจากเป็นตัวบ่ง
บอกถึงระดับความรู้ความสามารถของนักเรียน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการจัดระบบการศึกษา และสำหรับ
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนั้นมีดว้ ยกันหลายวิธี แต่เพื่อให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน
เรื่องพันธะโคเวเลนต์ ผู้วิจัยจึงใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อแบบจำลองเสมือนจริง
มาชว่ ยสง่ เสรมิ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นให้มากขึ้น ซึ่งมเี นื้อหาสาระดังตอน
ถดั ไป

ตอนท่ี 3 เอกสารทเี่ กีย่ วข้องกบั การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model

สาระส่วนนี้ประกอบไปด้วย 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO
model ตอนที่ 2 ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model และตอนท่ี 3 แนวทางการจัดการ
เรียนรู้ตามรปู แบบ MACRO model ซง่ึ มีรายละเอียดดังน้ี

ความหมายของการจดั การเรียนรแู้ บบ MACRO model

MACRO model เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการมาจากแนวคิดของการจัด
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และ
นวัตกรรมใหม่ ๆ ตามความสนใจ ความสามารถและความถนัดของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการคิดและการ
ทำงานแบบร่วมมือ รวมถึงใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนมีปฏิสมั พันธแ์ ละมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้
แยกแยะข้อมูลที่เหมาะสม สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 นีจ้ ะปรับเปลยี่ นบทบาทของครูผู้สอนจากการเปน็ ผู้สอนและป้อนความรู้ ให้กลายเป็นผู้อำนวย
ความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพื่อทำหนา้ ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมได้ดว้ ยตวั เอง
โดยใชก้ ารจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละการวัดผลทหี่ ลากหลายสอดคล้องกับศกั ยภาพของผู้เรยี นแต่ละคน
(นรรัชต์ ฝนั เชยี ร, 2563) โดยมีองค์ประกอบดังน้ี (ดิเรก วรรณเศียร, 2558)

1. M (Motivation) การสร้างแรงจงู ใจ แรงบนั ดาลใจ ความสนใจ และความตอ้ งการในการเรียนรู้

14

2. A (Active learning) การเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้มีโอกาสได้ความรู้โดยตรงจากการลงมือกระทำด้วย
ตนเอง ดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย เปน็ การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ

3. C (Conclusion) ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้หรือสงั เคราะห์สิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้ตามความคดิ ลีลา หรือภาษา
ของตนเอง

4. R (Reporting) ผู้เรียนสื่อสารและนำเสนอผลการเรียนรู้ด้วยภาษา วิธีการ และเทคโนโลยี
สารสนเทศท่เี หมาะสม

5. O (Obtain) ผู้เรียนนำผลการเรียนรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ทำการเผยแพร่ความรู้สู่ครอบครัว
ชุมชน และสงั คมดว้ ยวธิ ีการ สื่อ หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม

สรุปว่า MACRO model เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนบทบาทครูผู้สอนมาเป็นผู้อำนวยความ
สะดวกให้กับผูเ้ รียน เน้นให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม และ
การใชเ้ ทคโนโลยี

ความสำคญั ของการจดั การเรียนรแู้ บบ MACRO model

การจดั การเรยี นรแู้ บบ MACRO model มคี วามสำคญั ต่อผูเ้ รยี นดังนี้ (ดิเรก วรรณเศียร, 2558)
1. ฝึกให้ผู้เรียนกล้าตั้งคำถาม กล้าคิด กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออก เปลี่ยนการเรียนจากแบบรบั ฟัง
อย่างเดียว (passive) เปน็ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (active) การตั้งค่าถามเพราะเกิดข้อสงสยั เป็นจุดเริ่มต้นของ
Lifelong Learning ถามแบบสร้างสรรค์ก่อให้เกิดประโยชน์ เป็นการตั้งต้นหาคำตอบอย่างถูกวิธี กระตุ้นให้
เด็กมคี วามสนใจใฝร่ ู้เป็นการเรยี นรู้และแก้ปญั หา
2. เป็นการสอนให้สามารถสืบค้นความรู้จากแหล่งข้อมลู ที่มีมากมายในโลก ตามแนวคิดของปราชญ์
ชาวจีนทีว่ า่ สอนชาวบ้านหาปลา ดีกวา่ เอาปลาไปให้ชาวบา้ น ทำใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดทกั ษะในการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ
3. การสรุปความรู้ โดยแสดงให้ผู้เรียนเห็นว่าความรู้ที่ตกผลึกของผู้เรียนเองเป็นความรู้ใหม่ที่ผ่าน
กระบวนการเรยี นรทู้ ถี่ กู ต้อง ผเู้ รยี นจะจดจำความรูน้ ้ีไดน้ านกว่าแบบท่องจำ
4. ก่อนสรุปองค์ความรู้ ครูเปิดโอกาส ให้นักเรียนไดอ้ ภิปรายกัน ดูเหตุผลที่มีทฤษฎีรองรับก่อนสรปุ
ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมทักษะการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือ วิถีชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย ฝึกความเป็น
ผู้นำ และส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม
5. การสื่อสารและนำเสนอเป็นสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นในระดับสากล ทำให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการ
ทางดา้ นการสอ่ื สาร ภาษา และมคี วามสามารถในการนำเสนอ มที กั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ความรู้ที่นำไปใช้และเผยแพร่ เป็นการส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนา
ประเทศตอ่ ไป
สรปุ ว่าการจดั การเรยี นร้แู บบ MACRO model สามารถส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ กระบวนการคิดจากการ
ตัง้ คำถามแบบสร้างสรรค์จากความสนใจ ซงึ่ เปน็ พืน้ ฐานของการคดิ อกี ท้งั ยงั ส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ฝึกการสืบค้น

15

ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ และส่งเสริมกระบวนการทำงานกลุ่ม ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะการ
ทำงานร่วมกับผู้อ่นื และทักษะการสอื่ สาร นอกจากน้ียังส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมที กั ษะการใช้เทคโนโลยอี ีกดว้ ย

แนวทางการจัดการเรียนรตู้ ามรปู แบบ MACRO model

การจัดการเรียนรู้ตาม MACRO model แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนมีแนวทางดังน้ี
(ดิเรก วรรณเศยี ร, 2558)

1. ขั้นสร้างแรงจงู ใจ (Motivation) ครูผู้สอนร่วมมือกับผู้เรยี นในการกำหนด หรือตั้งประเด็นความรู้
หรือหวั ข้อเกย่ี วกับการเรียนรู้ตามแผนที่ยึดโยงกบั หลักสูตร เปน็ ข้นั ท่ผี เู้ รยี นจะรบั รู้ถงึ จุดหมายและมีแรงจูงใจ
ในการเรียนรู้บทเรียน ผู้สอนสามารถเลือกใช้กิจกรรมต่าง ๆ ในการนำเข้าสู่บทเรียนและการเรียนรู้ เช่น
การเล่าเรื่องต่าง ๆ ให้ผู้เรียนซักถาม หรือตั้งคำถาม การฉายภาพนิง่ ให้ผู้เรยี นชมและติดตามการชวนสนทนา
เพื่อให้ผู้เรียนตั้งประเด็นที่ต้องการรู้ การกระตุ้นความสนใจด้วยเกม เพลง ภาพ การอ่าน/ฟังข่าวจาก
หนังสือพมิ พ์ การยกตัวอย่างประโยค คำพงั เพย บทกวฯี ลฯ

จุดท่ีสำคญั ในขนั้ ตอนนี้คอื การต้งั ประเดน็ อภปิ ราย การใชค้ ำถามสร้างพลังความคิด การกำหนด หรือ
การตั้งประเด็นความรู้ หรือหัวข้อเกี่ยวกบั การเรียนรู้ในข้ันตอนต่อไป และให้ผู้เรียนได้เล็งเห็นประโยชนท์ ี่จะ
ไดร้ ับจากการเรียนรู้หรอื เกดิ แรงบนั ดาลใจ

2. ขั้นการเรียนรู้โดยตรง (Active Learning) ในการสอนครั้งแรก ครูควรให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การสร้างองค์ความรู้ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 แนวทางการสืบค้นความรู้เพื่อให้ได้ความรู้ที่ต้องการ ส่วนที่ 2
ศาสตร์ สาขา แขนงความรู้และแหล่งความรู้ที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ 3 การเรียบเรียงข้อมูล ข้อค้นพบ ความคิด
ความคิดเห็น การให้เหตุผลโต้แย้ง และสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรยี นเข้าใจถึงการกระบวนการสร้างองค์ความรู้ใน
การจัดการเรียนรแู้ ต่ละคร้ัง ครผู ้สู อนควรมีเทคนคิ การจดั การเรยี นรู้ที่หลากหลาย ไดแ้ ก่ การอภปิ รายกลุ่มเพ่ือ
แลกเปลย่ี นความคิดเห็น การระดมพลังความคิด การเรียนร้โู ดยใช้สถานการณ์จำลอง โดยเน้นกระบวนการคิด
ซึ่งเป็นหวั ใจของขั้นตอนการเรยี นรู้ ผู้เรียนจะศึกษาคน้ คว้าตามประเด็นความรู้ หรอื หวั ข้อทต่ี กลงกนั ครูผู้สอน
จะกระตุ้นให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมเพื่อสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการค้นคว้าจากแหล่ง
เรียนรู้ต่าง ๆ สัมภาษณ์ผู้รู้ ปฏิบัติการค้นหา (ทดลอง สืบเสาะ สังเกต สำรวจ) ร่วมมือเพื่อเขียนคำอธิบาย
แบ่งงานความรบั ผิดชอบภายในกลุ่ม โดยแหลง่ ความรูม้ ีทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ฯลฯ

3. ขั้นสรุปองค์ความรู้ (Conclusion) ผู้เรียนนำผลการอภิปรายและสาธิตที่เป็นผลจากการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันมากำหนดเป็นความคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ โดยใช้วิธีการเขียนด้วยแผนผัง
ความคิดเขียนโครงงาน/โครงการ เขียนบรรยาย/เขียนรายงาน จดบันทึก วาดภาพ แต่งคำประพันธ์ โดยสรุป
เป็นภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ ฯลฯ ในขั้นตอนนี้ผูส้ อนสามารถประเมนิ ความรู้และความคิดใหม่ของผู้เรยี น
โดยใช้วิธกี ารอภปิ ราย ตรวจสอบผลงาน สอบถามความคิดของกล่มุ ทดสอบความร้ฯู ลฯ

4. ขนั้ รายงานและนำเสนอ (Reporting) ขนั้ นี้จะชว่ ยให้ผู้เรียนไดม้ โี อกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้
ของตนให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้ตอกย้ำหรือตรวจสอบความเข้าใจของตน และช่วยส่งเสริมให้
ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์แต่หากต้องมีการปฏิบตั ิตามความรู้ที่ได้ ขั้นนี้จะเป็นขั้นปฏิบัติ และมีการแสดง

16

ผลงานที่ได้ปฏิบัติด้วย ในขั้นนี้ผู้เรียนสามารถแสดงผลงานด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ
การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ เรียงความ วาดภาพ การนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการ
นำเสนออาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษตามความเหมาะสม ฯลฯ และอาจจดั ใหม้ ีการประเมินผลงานโดย
มเี กณฑท์ ี่เหมาะสม

5. ขั้นการเผยแพร่ความรู้ (Obtain) เป็นขั้นของการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนำความรู้ความ
เขา้ ใจของตนไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย เพ่มิ ความชำนาญ ความเข้าใจ ความสามารถใน
การแกป้ ัญหาและความจ่าในเรือ่ งนั้น ๆ เป็นการให้โอกาสให้ผู้เรียนใช้ความรใู้ ห้เป็นประโยชน์ เปน็ การส่งเสริม
ความคดิ สรา้ งสรรค์

หลงั จากประยุกต์ใช้ความรู้ควรทำการเผยแพร่ความรูไ้ ปยังครอบครวั ชุมชน และสงั คม หรือแม้แต่ใน
เครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยการเผยแพร่อาจจัดท่าเป็นเอกสาร จัดป้ายนิเทศ จัดกิจกรรม หรือการเผยแพร่
ผา่ นสือ่ สังคมออนไลน์ เช่น websites Facebook Line YouTube หรอื สอ่ื และวธิ กี ารอื่นๆ

การเรียนรู้ข้นั ท่ี 1 - 3 เป็นกระบวนการของการสร้างความรู้
ขั้นที่ 4 - 5 เปน็ ขน้ั ตอนทช่ี ว่ ยให้ผูเ้ รียนไดน้ ำเสนอและนำความรู้ไปใช้ รวมทง้ั เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ไปยัง
สาธารณชน
สรุปว่าแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model มีขั้นตอนอยู่ด้วยกันทั้งหมด 5 ขั้นตอน
ซึ่งเริ่มจากการสร้างแรงจูงใจ โดยครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ตั้งคำถามตามความสนใจที่เกี่ยวกับหัวข้อเรื่อง
จากนั้นให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง แล้วนำความรู้ที่ได้มาสรุปเป็นองค์ความรู้ สุดท้ายนำไป
เผยแพรเ่ พ่อื สร้างประโยชน์ต่อไป
จากความสำคัญข้างต้นจะเห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model มีความสอดคล้องกับการ
เรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถทำให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ โดยการใช้
กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคดิ ) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) ให้ผู้เรยี นมปี ฏสิ ัมพันธ์
และมีส่วนร่วมในการเรียน อีกทั้งยังส่งเสริมส่งเสริมความสามารถในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ท่ี
น่าเชื่อถือ จนสามารถสรุปองค์ความรู้ออกมาได้ด้วยตนเอง และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์อื่น ๆ จึงทำให้ผู้วิจัยมีความเห็นว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model มีส่วนช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นได้ แต่จากการวิจัยผู้วจิ ัยต้องการให้ผู้เรียนเกิด
จินตภาพและความเข้าใจในระดับจุลภาค จึงนำส่อื จำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ เข้ามาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้
แบบ MACRO model เพอ่ื เพิ่มผลสมั ฤทธท์ิ างเรยี นใหส้ ูงขึน้ ซึ่งมีเน้ือหาสาระดงั ตอนถดั ไป

ตอนท่ี 4 แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั การเรียนรู้โดยใช้สื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ

สอื่ จำลองโต้ตอบเสมือนจริงเปน็ สื่อคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ซึง่ ผู้วิจัยไดน้ ำสอื่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ
สร้างสถานการณ์จำลองที่มาใช้ประกอบการวิจัย โดยสาระส่วนนี้ประกอบไปด้วย 3 ตอน คือ ตอนที่ 1
ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตอนที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และตอนที่ 3 ประโยชน์
ของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ซึ่งมรี ายละเอียดดงั นี้

17

ความหมายของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน

การจดั การเรียนรโู้ ดยใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน เปน็ กระบวนการเรยี นรูข้ องผูเ้ รียนท่ีอาศัยคอมพิวเตอร์
ซึ่งเป็นเทคโนโลยีระดับสูงมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อหรือเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้ โดยจัดเนื้อหาสาระหรือ
ประสบการณ์สำหรับให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ อาจจัดเป็นลักษณะบทเรียนหน่วยการเรียนหรือโปรแกรม
การเรียน ฯลฯ (นภดล ย่งิ ยงสกุล, 2554)

ประเภทของคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน

คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนแบง่ ออกเป็น 8 ประเภท ดังน้ี (ไพบูลย์ เกียรตโิ กมล, 2539)
1. แบบการสอน (Instruction) ใช้เพื่อสอนความรู้ใหม่แทนครู เป็นการพัฒนาแบบ Self Study
Package เปน็ รปู แบบในการศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง และเปน็ ชดุ การสอนที่จะตอ้ งใช้ความระมดั ระวัง รวมท้ัง
ทักษะในการพัฒนาที่สูงมาก ในการออกแบบจะต้องเน้นการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน การควบคุมแนวทาง
กิจกรรมการเรยี น และการประเมนิ ผลการเรียนให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์และลักษณะของผู้เรยี น ส่วนการ
ออกแบบหน้าจอ จะตอ้ งเนน้ ให้องค์ประกอบหนา้ จอมีความน่าสนใจเป็นหลกั
2. แบบสอนซอ่ มเสริมหรือทบทวน (Tutorial) เปน็ บทเรียนที่ใชใ้ นการทบทวนการเรียนจากห้องเรียน
หรือจากผู้สอน ไม่ว่าจะจากทางไกลหรือทางใกล้ก็ตาม การเรียนมักไม่ใช่ความรู้ใหม่ แต่อาจจะเป็นความรู้ท่ี
เคยเรียนรู้มาแล้วในรูปแบบการเรียนรู้แบบอื่นๆ แล้วใช้บทเรียนซอ่ มเสริมเพื่อเพิม่ เติมความเขา้ ใจให้ถูกตอ้ ง
และแม่นยำสมบูรณย์ ่ิงขน้ึ ซ่ึงบทเรียนสามารถใช้ไดท้ ั้งในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น ดังนัน้ CAI ประเภทนี้จึง
ไม่สามารถนำมาสอนแทนครูได้ทั้งหมด เพียงแต่นำมาสอนเสริมหรือทบทวนในราย-วิชาที่มีการจัดการเรียน
การสอนมาแลว้ ในช้นั เรยี นปกติ
3. แบบฝึกหัดและฝึกปฏบิ ัติ (Drill and Practice) เป็นบทเรียนที่ใชเ้ สริมการปฏิบัติหรือเสรมิ ทักษะ
ในการเรียนการสอนให้เข้าใจยิง่ ข้นึ และเกดิ ทกั ษะที่ตอ้ งการได้ เปน็ การเสริมประสิทธิผลการเรียนของผู้เรียน
สามารถใชใ้ นห้องเรยี น เสรมิ ขณะที่สอนหรอื นอกหอ้ งเรียน ณ ทใี่ ด เวลาใดกไ็ ด้ ซงึ่ การใช้บทเรียนในการเรียน
การสอนเช่นนี้ สามารถใช้ฝึกหัดทั้งด้านทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวมทั้งทางช่าง
อุตสาหกรรมด้วย
4. แบบสร้างสถานการณ์จำลอง (Simulation) เป็นบทเรียนที่ออกแบบเพื่อช่วยเปลี่ยนแปลง
บรรยากาศการเรียนการสอนในชั้นปกติให้น่าสนใจยิ่งขึ้น ในเชิงของการปฏิบัติ ถ้าพิจารณาถึงความยืดหยุน่
ความคุ้มค่าความปลอดภัยต่างๆ รวมทั้งการควบคุมสถานการณ์ด้วยตนเองแล้ว สถานการณ์จำลองบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จะใหป้ ระสิทธิภาพและความคล่องตัว ซ่ึงครอบคลมุ เน้ือหาได้ทกุ เร่ือง เช่น การซ้ือขาย
หุ้น หรือการทดลองวิทยาศาสตร์ เป้าหมายหลักของการสร้างบทเรียนแบบสถานการณ์จำลองเพื่อนำ
สถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นเข้ามาอยู่ในคอมพิวเตอร์ จะทำให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าร่วม ในกิจกรรมที่เกิดขึ้น มี
โอกาสควบคุมสถานการณ์ใหเ้ หมาะสม จึงเป็นส่วนสำคญั เพิ่มเติม จากการให้สถานการณ์ปกติ เพ่ือการเรียนรู้
และแกป้ ัญหามีความความสมบรู ณย์ ง่ิ ข้ึน

18

5. แบบสร้างเป็นเกมส์ (Game) การพัฒนาในลักษณะเกมส์สามารถเสริมการเรียนรู้ได้ดีกวา่ การใช้
เกมส์เพื่อการเรยี น สามารถใชส้ ำหรบั การเรียนรคู้ วามรู้ใหม่ หรือเสริมการเรยี นในหอ้ งเรียนได้

6. แบบการแก้ปัญหา (Problem Solving) เปน็ บทเรยี นในการฝึกการคดิ การตดั สนิ ใจ สามารถใช้กับ
วชิ าการต่างๆ ท่ีตอ้ งการให้สามารถคิด แก้ปญั หา ใช้เพอื่ การสอนในหอ้ งเรยี น หรือใช้ในการฝึกทวั่ ๆไป เป็นสื่อ
สำหรับผ้บู ริหารไดด้ ี

7. แบบทดสอบ (Test) ใช้เพื่อตรวจวัดความสามารถของผู้เรียน สามารถใช้ประกอบการสอนใน
ห้องเรียนหรือความต้องการของผู้สอนหรือผู้เรียนเอง ทั้งนี้ยังสามารถใช้นอกห้องเรียน เพื่อตรวจวัด
ความสามารถของตนเองได้ด้วย

8. แบบสถานการณ์เพื่อให้ค้นพบ (Discovery) จัดทำเพื่อให้ผู้เรียน เรียนรู้จากประสบการณ์ของ
ตนเอง โดยการลองผดิ ลองถูกหรือเปน็ การจัดระบบนำล่องเพ่อื ชกั นำสูก่ ารเรียนรู้ สามารถใช้เรียนรู้ความรู้ใหม่
หรอื เป็นการทบทวนความรูเ้ ดิม

ประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน

คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนมปี ระโยชน์ต่อผ้เู รียน ดงั น้ี (นริ ามยั ไชยรัตน์, 2558)
1. ชว่ ยให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นตามความสามารถของตนเอง โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2. นักเรยี นไดเ้ รยี นเปน็ ขนั้ ตอนจากง่ายไปหายากอยา่ งเป็นระบบ
3. มคี วามสะดวกในการทบทวนบทเรียน
4. ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาเรียน นักเรียนสามารถศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
ขณะท่อี ย่ทู ่บี า้ นหรอื อยูท่ โี่ รงเรยี น
5. ลดเวลาในการเรยี นการสอน เนอ่ื งจากเปน็ การเรียนการสอนแบบเอกัตบคุ คล ซ่งึ นกั เรียนสามารถ
เรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง มกี ารวัดผลและประเมินผลไปพรอ้ ม ๆ กัน และยงั ช่วยนกั เรียนท่มี ีปัญหาในการเรยี น โดย
การจัดโปรแกรมเสริมในสว่ นทเ่ี ปน็ ปัญหาหรือใช้เสรมิ ความร้ใู หก้ ับนักเรยี นทเ่ี รียนร้ไู ดเ้ ร็วโดย ไม่ต้องคอยเพ่ือน
ในช้นั เรยี น
6. สร้างทัศนคตทิ ีด่ ีให้แกน่ ักเรยี น โดยนกั เรยี นตอ้ งฝึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ในการเรียนและสร้าง
ทศั นคติทด่ี ีในการเรยี นด้วย
7. ทำในสิ่งที่สื่ออื่น ๆ ทำไม่ได้ เช่น การตัดสินใจเสนอเนื้อหาใหม่ ๆ หรือการตัดสินใจเรียนซ้ำใน
เนอื้ หาเดิม
8. ลดเวลาในการสอนของครู ในการเรียนวิชาที่มีการฝึกทักษะ ครูจะเสียเวลาในช่วงนี้มาก เพราะ
แต่ละคนมีความสามารถแตกตา่ งกัน ครูสามารถใหน้ ักเรยี นแต่ละคนได้ฝึกทกั ษะจากคอมพวิ เตอร์แทน
9. ทำใหค้ รไู ด้มีการพฒั นาความรู้ใหม่ ๆ อย่เู สมอ และมกี ารนำสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ขนึ้ มาใช้ ในการ
เรยี นการสอนมากขน้ึ
10. สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม สะดวก รวดเรว็ ย่ิงขึน้

19

สรุปได้ว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่มีหลายประเภท โดยแต่ละประเภทก็
แตกตา่ งกนั ออกไปตามแต่จุดประสงค์ของการใชง้ าน ซ่งึ มปี ระโยชน์มากมายโดยเฉพาะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจ
เนอื้ หาที่ไม่ส่ืออืน่ ไม่สามารถทำได้ ผู้วจิ ยั จงึ เลือกนำการจดั การเรียนรโู้ ดยใชส้ ่อื จำลองโต้ตอบเสมือนจริง ซงึ่ เป็น
สอ่ื คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนแบบสร้างสถานการณ์ (Simulation) มาใช้เพ่อื เพม่ิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนให้สงู ข้นึ

จากเนื้อหาสาระที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับส่ือ
จำลองโตต้ อบเสมือนจริงสามารถสง่ เสริมให้เกดิ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณและเพ่มิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้
ซง่ึ สอดคล้องกับงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ดงรั ายละเอียดในตอนถดั ไป

ตอนท่ี 5 งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้องท้ังในประเทศและต่างประเทศ

จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็นวิจัย เรื่อง การใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO
model รว่ มกับส่อื จำลองโต้ตอบเสมอื นจริงเพือ่ พฒั นาการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
เรือ่ งพนั ธะโคเวเลนต์ สามารถสรุปเป็นใจความสำคัญไดด้ ังน้ี

จากการศึกษาในหลายงานวิจัย พบว่า การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจริงสามารถพฒั นาการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นให้สูงขึ้นได้ สอดคล้อง
กับงานวิจยั ในประเทศของ ฟิกรี กีไร (2561) เรื่อง การเปรียบเทยี บการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและความคงทน
ในการเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model
ร่วมกับเทคนิคแผนผังความคดิ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งมีจุดมุง่ หมายเพ่ือเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณทั้งก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO
model ร่วมกับเทคนิคการทำแผนผังความคิดในวิชาชีววิทยา เรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต พบว่าผู้เรียนท่ี
เรียนผ่านการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับเทคนิคการทำแผนผังความคิดมีการคิดอย่างมี
วิจารณญาณหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสอดคล้องกับ
ผลการวจิ ยั ของ พงษธ์ ลกั ษณ์ สิบแก้ว ธเนศ พงศ์ธีรตั น์ และปิยะรัตน์ ชาวอบทม (2562) เร่ือง เจตคติต่อการ
จัดการเรียนรู้แบบ MACRO เรื่องระบบประสาท ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
พัฒนาการจัดการเรียนร้รู ปู แบบ MACRO เรอ่ื ง ระบบประสาท และศึกษาเจตคตขิ องนักเรยี นท่มี ีตอ่ การจัดการ
เรียนรู้แบบ MACRO พบว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO เรื่อง ระบบประสาท ส่งเสริมให้นักเรียนเกิด
กระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเองผ่านการอภิปรายในชน้ั เรียน นักเรียนมีการพฒั นากระบวนการสืบค้นหาความรู้
การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และการเชื่อมโยงความรู้เป็นผังมโนทัศน์สร้างเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและเผยแพร่สู่สาธารณะได้ และคะแนนเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้แบบ MACRO เรื่อง ระบบประสาท อยู่ในเกณฑ์เจตคติระดับมาก นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับการวิจยั
ของ ชาญวทิ ย์ คำเจริญ และ ดารกา พลงั (2562) เรื่อง การใช้สือ่ จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ : การเคล่อื นท่ีแนว
วิถีโค้ง ที่ศึกษาการพัฒนาสื่อการสอนและตรวจสอบความเข้าใจของนักศึกษาที่มีการใช้สื่อจำลองโต้ตอบ
เสมือนจริง พบว่าสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงเป็นสื่อการสอนที่มีความสะดวกในการสอนในห้องบรรยาย

20

ประหยดั เวลาในการจัดเตรียมส่อื ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการใชง้ าน และสามารถทำให้นกั ศกึ ษามีความเข้าใจเรื่อง
การเคล่ือนท่ีแนววิถีโค้งได้ดีขึน้ และมองเหน็ ภาพการเคลื่อนท่ีได้ชัดเจนขนึ้ รวมถงึ งานวิจัยของ ระวิพรขนิษฐ์
สนิทพ่วง (2561) เรื่อง บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ เรื่อง เวอร์เนียร์คาลิเปอรแ์ ละ
ไมโครมิเตอร์ ที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
แบบจำลองสถานการณ์เรื่องเวอร์เนียร์คาลิเปอร์และไมโครมิเตอร์ พบว่าผู้เรียนที่เรียนผ่านบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 และผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ เรื่อง
เวอร์เนียร์คาลิเปอร์และไมโครมิเตอร์ สำหรับงานวิจัยในต่างประเทศมีความเกี่ยวข้องกับสื่อจำลองโต้ตอบ
เสมือนจริง โดยเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ที่สามารถบ่งบอกได้ว่ามีส่วนช่วยใน
การพัฒนาการเรียนรู้ของนกั เรยี น สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ Jennifer Schellinger, Karina Hensberry และ
Kelly Findley (2017) เรื่อง Variations on play with interactive computer simulations : balancing
competing priorities ซึ่งได้ร่วมมือกับ PhET ในการนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์
จากเว็บไซตข์ อง PhET มาใชใ้ นบทเรยี นต่างๆ ในวิชาคณิตศาสตร์ โดยจะนำเขา้ มาเสรมิ บทเรียนในรปู แบบของ
การเล่น พบว่าสามารถช่วยให้นักเรียนมีผลคะแนนสอบในการสอบข้อสอบมาตรฐานสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
ผลการวิจัยของ Emily Moore และ Katherine Perkins (2014) ที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลอง
สถานการณ์ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยนำ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี ในการเขียนสูตรเคมี
จากรปู ภาพโมเลกลุ และการวาดรูปภาพโมเลกลุ จากสตู รเคมี พบว่าผลคะแนนเฉล่ยี จากการสอบหลังเรียนของ
นักเรียนเพิ่มสูงขึ้นจากก่อนเรียนถึง 55% นอกจากนี้ยังมีผลการวิจัยสอดคล้องกับงานวิจัยของ Yuen-ying
Carpenter, Emily B. Moore และ Katherine K. Perkins (2015) เรอ่ื ง Using an Interactive Simulation
to Support Development of Expert Practices for Balancing Chemical Equations ท ี ่ ไ ด ้ น ำ
คอมพวิ เตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ มาช่วยพัฒนานักเรียนในการจัดการเรียนการสอนวชิ าเคมีในการ
ฝึกดลุ สมการเคมี พบว่านกั เรียนสามารถแกโ้ จทยป์ ญั หาการดุลสมการเคมีไดถ้ กู ต้องและมคี วามรวดเร็วมากข้ึน

จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้วิจัยคิดว่าการจัดการเรียรู้แบบ MACRO
model ร่วมกับสือ่ จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ สามารถพัฒนาการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนได้ เนื่องจากเป็นแนวการสอนที่ชว่ ยฝึกให้ผู้เรียนกล้าตั้งคำถาม กล้าคิด และกล้าตัดสินใจ ได้เรียนรู้ดว้ ย
ตนเองแบบร่วมมือ ซึ่งกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รู้จักแก้ปัญหา และสามารถตกผลึกองค์ความรู้ใหม่ดว้ ย
ตนเอง โดยผ่านกระบวนการเรยี นรู้ทีถ่ ูกต้อง นอกจากนี้ยังเป็นการสอนที่ให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นความรู้จาก
แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นการส่งเสริมพฤติกรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ การคิดอย่างมีวิจารณญาณได้ อีกทั้ง
รูปแบบการเรียนรู้ดังกล่าวยังสามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาและมองเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงสามารถ
พฒั นาเป็นกรอบแนวคดิ ของการวิจัยไดด้ ังตอนถดั ไป

21

ตอนท่ี 6 กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยต้องการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง

พนั ธะโคเวเลนต์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model รว่ มกับส่อื จำลองโตต้ อบเสมือนจริง

การจัดการเรียนรู้แบบ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และ
MACRO model รว่ มกบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่อง พันธะโคเวเลนต์
ส่อื จำลองโต้ตอบเสมอื นจริง
ภาพ 2.1 กรอบแนวคิดของการวิจยั

22

บทที่ 3

วธิ ดี ำเนินการวิจัย

ในการดำเนินการวิจัยตามจุดประสงค์การวิจัย 2 ประการ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถใน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนเร่ืองพันธะโคเวเลนต์ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO
model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง
เรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบ
เสมือนจรงิ ผูว้ ิจัยไดด้ ำเนนิ การวิจยั ดงั ต่อไปนี้
3.1 กลมุ่ เป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปนุ่
โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปถมั ภ์ จำนวน 11 คน
3.2 ตวั แปรวิจัย / ตวั จัดกระทำ

ตัวจัดกระทำ คอื การจดั การเรียนรู้แบบ MACRO model รว่ มกับแบบจำลองโต้ตอบเสมอื นจริง
ตัวแปรตาม คอื การคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เรอ่ื ง พนั ธะโคเวเลนต์
3.3 เคร่ืองมอื วจิ ัยและคุณภาพเครื่องมอื
เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษาวิจยั ครง้ั น้ี ประกอบด้วย
1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจรงิ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทีส่ ง่ เสรมิ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 2 แผน รวมทั้งส้ิน
6 คาบเรียน คาบเรยี นละ 50 นาที รวมเปน็ เวลา 5 ช่วั โมง
ข้ันตอนการสรา้ งและพฒั นาคุณภาพเคร่ืองมอื

1) วิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่สามารถ
นำมาใช้ในการแกป้ ญั หาได้

2) กำหนดกรอบแนวคิดในการแก้ปัญหาและพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียน
โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงตามหลักการและวิธีการใช้
นวัตกรรมทางการศกึ ษา รวมถงึ ความสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ท้ังเน้อื หาสาระและการประเมินผลโดย
ศึกษารายละเอียดจากเอกสารต่าง ๆ

3) ศึกษาหลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 และคู่มอื ครผู ู้สอนรายวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์

4) ศึกษาเนื้อหาเรื่องพันธะโคเวเลนต์จากหนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

5) ทำการศึกษาวิธีการและขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อ
จำลองโต้ตอบเสมอื นจริง

23

6) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง

จำนวน 2 แผน รวมท้งั สิ้น 6 คาบเรียน คาบเรยี นละ 50 นาที รวมเปน็ เวลา 5 ชัว่ โมง ผู้วิจยั ได้จัดการเรียนรู้ที่

ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใชใ้ บกิจกรรม การอภิปรายร่วมกัน การสรุปเนือ้ หาท่ีเรียนเปน็ แผนผงั

ความคดิ และการนำเสนอขอ้ มลู หนา้ ชน้ั เรียน แสดงดงั ตาราง 3.1

ตาราง 3.1 แผนการจัดการเรยี นรู้แบบ MACRO model ร่วมกบั สอ่ื จำลองโตต้ อบเสมือนจริง และเวลาที่ใช้ใน

แต่ละแผน

แผนการจัดการเรยี นรู้ คาบ

แผนที่ 1 โมเลกุลของน้ำ 3

แผนท่ี 2 การเปลย่ี นสถานะของนำ้ และความมีขว้ั 3

ขั้นตอนของแต่ละแผนมีดงั นี้

ขัน้ ที่ 1 ขน้ั สรา้ งแรงจงู ใจ (Motivation)

ขนั้ ที่ 2 ขั้นการเรียนรูโ้ ดยตรง (Active learning) นกั เรยี นสรปุ องคค์ วามรดู้ ้วย
แผนผังความคดิ (mind map)

ขั้นที่ 3 ข้นั สรปุ องคค์ วามรู้ (Conclusion) นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปองค์
ขนั้ ที่ 4 ขนั้ รายงานและนำเสนอ (Reporting) ความรโู้ ดยใช้สอื่ จำลองโต้ตอบ

เสมือนจรงิ

ข้นั ท่ี 5 ขนั้ การเผยแพร่ความรู้ (Obtain)

ภาพ 3.1 ขั้นตอนการจัดการเรยี นร้ใู นแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกบั
ส่ือจำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ

7) นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไปให้ครูพี่เลี้ยงช่วยตรวจสอบให้คำแนะนำและ
ดำเนนิ การแก้ไข

8) นำแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับที่ผ่านการแก้ไขตามคำแนะนำของครูพี่เลี้ยงไปใช้งานกับ
ประชากร

2. เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้แก่
2.1 แบบทดสอบวัดการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ มลี ักษณะเป็นแบบปรนัย 4 ตวั เลอื ก โดยจะ

แบ่งตามองค์ประกอบออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหา ความสามารถในการ
พจิ ารณาความนา่ เช่ือถอื ของแหลง่ ขอ้ มลู และการสงั เกต ความสามารถในการอปุ นยั ความสามารถในการนิรนัย
และความสามารถในการระบขุ ้อตกลงเบ้อื งต้น จำนวน 25 ขอ้

24

ขนั้ ตอนการสร้างและพฒั นาคณุ ภาพเคร่ืองมือ
1) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของการคิดอย่างมีวิจารณญาณและวิธีการวัดการคิด

อยา่ งมวี จิ ารณญาณจากเอกสารท่เี กี่ยวข้อง
2) กำหนดขอบเขตพฤตกิ รรมที่แสดงถึงความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

ที่ต้องการวัด ประกอบด้วย ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหา ความสามารถในการพิจารณาความ
น่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกต ความสามารถในการอุปนัย ความสามารถในการนิรนั ย และ
ความสามารถในการระบุข้อตกลงเบื้องต้น

3) สร้างแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของเอนนิส ซึ่งมี
ลักษณะเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก โดยในขั้นตอนนี้ผู้วิจยั ได้สร้างแบบทดสอบวดั การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
จากการปรบั เปล่ียนข้อคำถามให้สอดคล้องกับบริบททัว่ ไปของนกั เรียน ซ่ึงมาจากวทิ ยานพิ นธ์เรื่องการพัฒนา
แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 3 ของ
อารยี ์ วาสเุ ทพ (2549) จำนวน 25 ข้อ

4) นำแบบวัดไปตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้อื หา เพอ่ื หาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง
(IOC) ระหว่างแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับพฤติกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยให้
ผู้เชีย่ วชาญพจิ ารณาว่าแบบทดสอบแต่ละข้อสามารถวดั พฤติกรรมการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณไดห้ รือไม่ โดยใช้
เกณฑ์ในการพจิ ารณาดังน้ี

+1 หมายถงึ แน่ใจว่าขอ้ คำถามน้ันสามารถวัดพฤติกรรมการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณได้
0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จว่าขอ้ คำถามนน้ั ไมส่ ามารถวดั พฤตกิ รรมการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณได้
-1 หมายถึง แน่ใจวา่ ขอ้ คำถามนน้ั ไมส่ ามารถวดั พฤตกิ รรมการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณได้

5) ผวู้ ิจัยนำคะแนนที่ได้จากผู้เชยี่ วชาญมาแปลความหมาย โดยกำหนดลักษณะของ
แบบทดสอบที่สามารถนำไปใช้ได้ ควรมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เฉลี่ยข้อละไมน่ ้อยกว่า 0.67 ซึ่งพบวา่
แบบทดสอบทุกข้ออยู่ในเกณฑ์ท่ีสามารถนำไปใช้ได้ (ดูรายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ภาคผนวก ก หน้า 47 และตาราง
การใหค้ ะแนน ภาคผนวก จ หนา้ 85)

6) นำแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนโดยการจัดการ
เรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับส่ือจำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ ที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญไปใช้จริง
กับประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปุ่น โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์
อปุ ถมั ภ์ จำนวน 11 คน

2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง พันธะโคเวเลนต์ มีลักษณะเปน็ แบบปรนัย
4 ตัวเลอื ก จำนวน 15 ข้อ

ขนั้ ตอนการสร้างและพัฒนาคุณภาพเครือ่ งมือ
1) ศกึ ษาเอกสารเกีย่ วกับพนั ธะโคเวเลนตเ์ พอ่ื นำไปสร้างข้อคำถามในแบบทดสอบ
2) กำหนดขอบเขตของเนื้อหาที่จะใช้เป็นคำถามในข้อสอบเพื่อสอดคล้องกับ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

25

3) วิเคราะห์จุดประสงค์และเนื้อหา เพื่อสร้างแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
จำนวน 1 ฉบับ เปน็ แบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จำนวน 15 ข้อ

4) สร้างแบบประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของ
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ในการพิจารณา
ตรวจสอบรายละเอียดของแบบทดสอบแต่ละขอ้ ว่ามีความสอดคล้องหรือไม่ ซึ่งตรวจสอบความเที่ยงตรงของ
เนอื้ หาเพื่อหาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มกี ารประเมนิ 3 ระดับ ได้แก่

+1 หมายถึง แนใ่ จว่าข้อคำถามนน้ั สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์
0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจวา่ ขอ้ คำถามนั้นไมส่ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์
-1 หมายถงึ แนใ่ จวา่ ข้อคำถามนัน้ ไม่สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์

5) ผวู้ จิ ัยนำคะแนนท่ีได้จากผ้เู ช่ียวชาญมาแปลความหมาย โดยกำหนดลักษณะของ
ข้อสอบที่สามารถนำไปใช้ได้ ควรมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เฉลี่ยข้อละไม่น้อยกว่า 0.67 ซึ่งสามารถ
คำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบทุกข้อเท่ากับ 1.00 พบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถ
นำไปใชไ้ ด้ (ดูรายชื่อผู้เชยี่ วชาญ ภาคผนวก ก หน้า 47 และตารางการให้คะแนน ภาคผนวก จ หนา้ 86)

6) นำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ที่ผ่านการประเมินจาก
ผู้เชี่ยวชาญไปใช้จริงกับประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปุ่น
โรงเรยี นหางดงรัฐราษฎรอ์ ุปถมั ภ์ จำนวน 11 คน
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ในการวิจยั ครั้งนี้ ผ้วู จิ ัยไดด้ ำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยมขี ัน้ ตอนดังนี้
1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2

โรงเรียนหางดงรฐั ราษฎร์อุปถัมภ์
2. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและทำการแก้ไขปัญหาโดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้

แบบ MACRO model ร่วมกับสอื่ จำลองโต้ตอบเสมือนจริง
3. ทำการทดสอบก่อนเรียนทั้งการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรือ่ ง

พันธะโคเวเลนต์ โดยใช้แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 25 ข้อ และแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรอ่ื ง พนั ธะโคเวเลนต์ จำนวน 15 ขอ้

4. ผู้วิจัยทำการชี้แจงรายละเอียด แนะนำบทเรียน และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของผู้เรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงตาม
แผนการจัดการเรียนรู้

5. ดำเนินการสอนเร่ืองพันธะโคเวเลนต์ดว้ ยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับ
สอื่ จำลองโตต้ อบเสมือนจริง

6. ทำการทดสอบหลังเรียนทั้งการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่อื ง
พันธะโคเวเลนต์โดยใช้แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 25 ข้อ และแบบทดสอบวัดผล

26

สัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ จำนวน 15 ข้อ ซึ่งเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกันกับการทดสอบ

ก่อนเรียน

7. ตรวจให้คะแนนทั้งแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นเรอ่ื งพันธะโคเวเลนตก์ อ่ นและหลังเรียน และทำการบนั ทึกคะแนนเพือ่ นำไปวเิ คราะหข์ อ้ มลู ต่อไป

3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวิจัยครั้งนี้ใช้สถิติบรรยายในการนำเสนอข้อมูล ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่

ค่าเฉลี่ยและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เพื่อเปรียบเทยี บคะแนนแบบทดสอบวัดการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ

และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรยี นเรอ่ื งพันธะโคเวเลนต์

3.6 สถิตใิ นการวิเคราะห์ข้อมลู

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผวู้ ิจยั ได้ใชส้ ถิตใิ นการคำนวณดังน้ี

1. คา่ เฉลี่ย (Mean) หรือเรียกว่าค่ากลางเลขาคณิต คา่ มชั ฌมิ เลขคณติ ซึ่งหาคา่ เฉลย่ี จากสูตรต่อไปนี้

X = ∑

เมอ่ื X แทน ค่าเฉล่ีย

∑ แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดของกลุม่

แทน จำนวนของคะแนนในกลุ่ม

2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายของข้อมูลที่นิยมใช้กัน

มาก ซึง่ หาคา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานจากสตู รตอ่ ไปนี้

= √∑( − X )2


เมื่อ แทน คา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

แทน คา่ คะแนน

X แทน คา่ เฉลย่ี

แทน จำนวนคะแนนของแตล่ ะกลมุ่

3. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) เป็นค่าสถิติที่นยิ มใช้ โดยเป็นการเปรียบเทยี บความถ่หี รอื จำนวนที่

ตอ้ งการกับความถี่หรอื จำนวนทง้ั หมดทเ่ี ทยี บเป็น 100 จะหาค่ารอ้ ยละจากสูตรดงั ต่อไปนี้

P = f x 100
N
เมอ่ื P แทน ค่ารอ้ ยละ

f แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดของกลมุ่

N แทน จำนวนของคะแนนในกลุม่

27

3.7 เกณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมินระดับคุณภาพ

ผ้วู ิจยั ได้ใช้เกณฑ์ในการประเมนิ คณุ ภาพดังนี้

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ โดยกำหนดเกณฑ์คุณภาพของคะแนนสอบหลัง

เรียนโดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับส่ือจำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ ดงั น้ี

คา่ คะแนนร้อยละ เกณฑ์คุณภาพ

80.00 – 100.00 ดมี าก

70.00 – 79.00 ดี

60.00 – 69.00 ปานกลาง

50.00 – 59.00 พอใช้

49.00 ควรปรบั ปรงุ

2. พัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ที่เพิ่มขึ้นหลังใช้การจดั การเรียนรู้แบบ

MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง โดยกำหนดเกณฑ์ระดับพัฒนาการของคะแนนสอบท่ี

เพม่ิ ข้ึนดงั น้ี

ร้อยละของคะแนนที่เพ่มิ ข้นึ ระดับพฒั นาการ

มากกว่า 80.00 มากทส่ี ดุ

60.00 – 79.00 มาก

40.00 – 59.00 ปานกลาง

20.00 – 39.00 นอ้ ย

10.00 – 19.00 น้อยทส่ี ุด

ลดลงหรอื เท่าเดมิ ไม่มีพัฒนาการ

28

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู

การวจิ ยั เรอื่ งการใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบ MACRO model ร่วมกบั สื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงเพื่อ

พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีวัตถุประสงค์การวิจัย 2 ประการ คือ

1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ด้วย

การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง 2) เพื่อเปรียบเทียบ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO

model รว่ มกับสื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ ซึง่ ผลการวจิ ยั สรุปได้ดังนี้

ตอนท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐานของกลุม่ เป้าหมาย

กล่มุ เป้าหมาย คือ นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรยี นศลิ ป์ญ่ีปนุ่ โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎร์

อุปถัมภ์ จำนวน 11 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยนักเรียนส่วนใหญเ่ ป็นเพศ

ชาย จำนวน 7 คน (คดิ เป็นร้อยละ 63.6 ของกลุ่มเปา้ หมาย) รายละเอยี ดดังตาราง 4.1

ตาราง 4.1 ข้อมลู พื้นฐานของกลมุ่ เป้าหมาย

ขอ้ มูล จำนวน (n) ร้อยละ

เพศ

ชาย 7 63.6

หญิง 4 36.4

รวม 11 100.0

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณกอ่ นและหลังเรียนเร่ือง

พันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรปู แบบ MACRO model รว่ มกบั สือ่ จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

จากผลการวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียน

ของกลุ่มเปา้ หมาย จำนวน 11 คน ได้ผลการวิเคราะห์ ดงั ตาราง 4.2

ตาราง 4.2 ผลการวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของ

เอนนิสก่อนและหลงั เรยี น

คนท่ี การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ

กอ่ นเรียน (25) หลังเรยี น (25)

1 6 12

2 7 13

3 5 11

4 4 10

5 12 14

29

ตาราง 4.2 ผลการวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของ

เอนนิสกอ่ นและหลงั เรียน (ต่อ)

คนที่ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ

ก่อนเรยี น (25) หลังเรยี น (25)

6 5 13

7 14 21

8 11 18

9 7 14

10 11 15

11 7 16

คา่ เฉลี่ย 8.1 14.3

ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.3 3.2

25 คะแนนความสามารถในการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
20 ก่อนและหลังเรยี น
15
10 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
5
0 ก่อนเรียน (25) หลงั เรียน (25)

1

ภาพ 4.1 ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมวี ิจารณญาณกอ่ นและหลงั เรยี น
จากตาราง 4.2 พบวา่ กอ่ นเรียนโดยใช้การจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบ MACRO model ร่วมกบั สอ่ื จำลอง

โต้ตอบเสมอื นจรงิ นักเรียนมคี ่าเฉลีย่ คะแนนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณท่ี 8.1 คะแนน ซึง่ หลงั เรียนโดยใช้การ
จัดการเรยี นรใู้ นรูปแบบ MACRO model รว่ มกับสอ่ื จำลองโตต้ อบเสมือนจริง นักเรียนกลุม่ ดังกล่าวมีค่าเฉล่ีย
คะแนนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณสงู ขนึ้ ที่ 14.3 คะแนน

จากผลการวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของ
เอนนิสก่อนและหลังเรียนของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 11 คน สามารถแบ่งองค์ประกอบการคิดอย่างมี
วิจารณญาณไดเ้ ปน็ 5 ดา้ น ได้ผลการวิเคราะห์ ดงั นี้

30

1) ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหา

ตาราง 4.3 ผลการวเิ คราะห์คะแนนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบุประเด็นปญั หา

คนท่ี ความสามารถในการระบปุ ระเดน็ ปัญหา

ก่อนเรียน (5) หลงั เรยี น (5)

1 22

2 33

3 12

4 11

5 12

6 13

7 24

8 13

9 12

10 1 3

11 1 3

ค่าเฉลี่ย 1.4 2.5

สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.7 0.8

คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบปุ ระเด็น
ปญั หา

5
4
3
2
1
0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ก่อนเรยี น (5) หลงั เรยี น (5)

ภาพ 4.2 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณด้านความสามารถในการระบปุ ระเด็นปญั หา
จากตาราง 4.3 พบว่าคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในด้าน

ความสามารถในการระบุประเด็นปัญหาหลังเรียนมคี ะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.5 คะแนน ซึ่งสูงกว่ากอ่ นเรียนที่มี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 1.4 คะแนน และจากภาพ 4.2 จะเห็นได้ว่ามีนักเรียนจำนวน 3 คน ที่มีคะแนนการคิด

31

อย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบุประเด็นปัญหาก่อนและหลังเรียนเท่ากัน ได้แก่ คนที่ 1 2

และ 4

2) ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งขอ้ มลู และการสังเกต

ตาราง 4.4 ผลการวิเคราะห์คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการพิจารณาความ

น่าเช่ือถอื ของแหล่งข้อมลู และการสงั เกต

ความสามารถในการพิจารณาความนา่ เชื่อถือ

คนที่ ของแหลง่ ขอ้ มูลและการสังเกต

กอ่ นเรียน (7) หลงั เรยี น (7)

1 24

2 13

3 13

4 04

5 55

6 25

7 57

8 35

9 45

10 3 4

11 2 5

คา่ เฉลย่ี 2.5 4.5

สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.6 1.1

คะแนนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการพจิ ารณา
ความนา่ เชอ่ื ถือของแหล่งขอ้ มลู และการสังเกต

10

5

0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ก่อนเรียน (7) หลังเรียน (7)

ภาพ 4.3 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณดา้ นความสามารถในการพิจารณาความน่าเชือ่ ถือของ
แหล่งขอ้ มลู และการสังเกต

32

จากตาราง 4.4 พบว่าคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในด้าน

ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกตหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั

4.5 คะแนน ซ่งึ สงู กว่ากอ่ นเรยี นทมี่ ีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 2.5 คะแนน และจากภาพ 4.3 จะเหน็ ไดว้ ่ามีนักเรียน

จำนวน 1 คน ที่มีคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของ

แหล่งขอ้ มลู และการสงั เกตกอ่ นและหลงั เรยี นเทา่ กัน คือ คนท่ี 5

3) ความสามารถในการอุปนยั

ตาราง 4.5 ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณด้านความสามารถในการอปุ นัย

คนท่ี ความสามารถในการอุปนัย

ก่อนเรยี น (3) หลังเรยี น (3)

1 22

2 02

3 01

4 02

5 33

6 11

7 33

8 33

9 12

10 3 3

11 1 2

คา่ เฉลย่ี 1.5 2.2

สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.3 0.8

คะแนนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณดา้ นความสามารถในการอุปนยั

4
3
2
1
0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

กอ่ นเรยี น (3) หลังเรยี น (3)

ภาพ 4.4 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณด้านความสามารถในการอปุ นัย

33

จากตาราง 4.5 พบว่าคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในด้าน

ความสามารถในการอุปนัยหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.2 คะแนน ซึ่งสูงกวา่ ก่อนเรยี นทีม่ ีคะแนนเฉล่ีย

เท่ากับ 1.5 คะแนน และจากภาพ 4.4 จะเห็นได้ว่ามีนักเรียนจำนวน 4 คน ที่มีคะแนนการคิดอย่างมี

วจิ ารณญาณด้านความสามารถในการอปุ นัยกอ่ นและหลงั เรยี นเท่ากัน ได้แก่ คนท่ี 1 5 8 และ 10

4) ความสามารถในการนิรนัย

ตาราง 4.6 ผลการวเิ คราะห์คะแนนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณในดา้ นความสามารถในการนริ นยั

คนที่ ความสามารถในการนิรนัย

กอ่ นเรยี น (5) หลังเรยี น (5)

1 02

2 13

3 23

4 22

5 22

6 11

7 24

8 13

9 13

10 3 3

11 3 3

คา่ เฉลย่ี 1.6 2.6

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.9 0.8

คะแนนการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณดา้ นความสามารถในการนิรนัย

5
4
3
2
1
0

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

กอ่ นเรียน (5) หลงั เรียน (5)

ภาพ 4.5 กราฟแสดงคะแนนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณด้านความสามารถในการนริ นยั

34

จากตาราง 4.6 พบว่าคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในด้าน

ความสามารถในการนิรนัยหลังเรยี นมคี ะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.6 คะแนน ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่มีคะแนนเฉล่ีย

เท่ากับ 1.6 คะแนน และจากภาพ 4.5 จะเห็นได้ว่ามีนักเรียนจำนวน 5 คน ที่มีคะแนนการคิดอย่างมี

วิจารณญาณด้านความสามารถในการนริ นัยกอ่ นและหลังเรียนเท่ากนั ไดแ้ ก่ คนที่ 4 5 6 10 และ 11

5) ความสามารถในการระบขุ ้อตกลงเบ้อื งตน้

ตาราง 4.7 ผลการวิเคราะห์คะแนนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณดา้ นความสามารถในการระบุขอ้ ตกลงเบอื้ งต้น

คนที่ ความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบ้ืองต้น

กอ่ นเรียน (5) หลังเรียน (5)

1 02

2 22

3 12

4 11

5 23

6 03

7 23

8 34

9 12

10 1 2

11 1 3

คา่ เฉลี่ย 1.3 2.4

ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.9 0.8

คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถใน
การระบขุ อ้ ตกลงเบอื้ งต้น

6

4

2

0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ก่อนเรยี น (5) หลังเรยี น (5)

ภาพ 4.6 กราฟแสดงคะแนนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณดา้ นความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบ้อื งต้น

35

จากตาราง 4.7 พบว่าคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายในด้าน
ความสามารถในการระบขุ ้อตกลงเบอื้ งต้นหลังเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 2.4 คะแนน ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนท่ีมี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 1.3 คะแนน และจากภาพ 4.6 จะเห็นได้ว่ามีนักเรียนจำนวน 2 คน ที่มีคะแนนการคิด
อย่างมีวิจารณญาณด้านความสามารถในการระบุข้อตกลงเบื้องต้นก่อนและหลังเรียนเท่ากัน ได้แก่ คนที่ 2
และ 4

ผลจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์อุปถัมภ์ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบ
เสมอื นจริง โดยใชแ้ บบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนเปรียบเทยี บกับหลงั เรยี น ซึ่งแบ่งองค์ประกอบ
ออกเปน็ 5 ดา้ น สามารถสรปุ ได้ดังภาพที่ 8 ดังนี้

ความสามารถในการระบขุ อ้ ตกลงเบ้ืองต้น

ความสามารถในการนิรนยั

ความสามารถในการอุปนยั

ความสามารถในการพจิ ารณาความน่าเชอ่ื ถือของ
แหลง่ ข้อมูลและการสังเกต

ความสามารถในการระบปุ ระเดน็ ปัญหา

012345

หลังเรียน กอ่ นเรยี น

ภาพ 4.7 กราฟเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณก่อนและหลังเรยี นด้วยการจัดการ
เรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับสื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ ทั้ง 5 ดา้ น

จากภาพ 4.7 พบว่าคะแนนเฉลี่ยการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทั้ง 5 ด้าน หลังเรียนมีค่าสูงกว่า
ก่อนเรยี น
ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกอ่ นและหลังเรยี นเรือ่ งพันธะโคเวเลนต์โดย
การจดั การเรียนร้ใู นรปู แบบ MACRO model ร่วมกับสอื่ จำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะ
โคเวเลนต์ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง สำหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปุ่น จำนวน 11 คน โดยพิจารณาเปรียบเทียบ
คะแนนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับ
สื่อจำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ แสดงดังตาราง 4.8

36

ตาราง 4.8 ผลการเปรียบเทยี บคะแนนก่อนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบ MACRO model

รว่ มกบั ส่ือจำลองโต้ตอบเสมือนจริง

คะแนน ร้อยละของ
คะแนนที่
การทดสอบ จำนวนนักเรียน คะแนนเฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบน คะแนนเฉล่ยี ท่ี เพม่ิ ขนึ้
(M) มาตรฐาน เพม่ิ ขึน้
(S.D.)

กอ่ นเรียน 11 5.3 2.5 3.4 22.7
หลังเรียน 11 8.7 2.2

ผลการเปรียบเทยี บคะแนนก่อนและหลงั เรยี นเรื่องพนั ธะโคเวเลนต์โดย
การจัดการเรยี นรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสือ่ จาลองโต้ตอบเสมือนจริง

10

8

6

4

2

0 หลงั เรยี น
ก่อนเรยี น

คะแนนเฉล่ีย (M) ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ภาพ 4.8 ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานกอ่ นและหลังเรยี น โดยการจัดการ

เรยี นรแู้ บบ MACRO model ร่วมกับส่ือจำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ

จากตาราง 4.8 แสดงให้เห็นถึงคะแนนเฉลี่ยก่อนเละหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการ

เรยี นรู้ในรปู แบบ MACRO model ร่วมกบั ส่ือจำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ โดยคะแนนเฉลยี่ หลังเรยี นเท่ากับ 8.7

คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียนที่มีค่าเท่ากับ 5.3 คะแนน และผู้วิจัยได้เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยท่ี

เพมิ่ ขน้ึ พบวา่ มีคะแนนเฉล่ยี เพ่ิมขึ้นเท่ากับ 3.4 คะแนนหรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 22.7 เมอื่ เทยี บกบั คะแนนเต็ม

ตาราง 4.9 จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นตามระดับพัฒนาการของผลสัมฤทธ์ิจากการเปรยี บเทียบผลคะแนน

กอ่ นและหลงั เรยี นโดยการจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบ MACRO model รว่ มกับสือ่ จำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ

ระดับพฒั นาการ จำนวนนกั เรยี น ร้อยละ

เพ่มิ ขนึ้ 10 90.9

คงท่ี 1 9.1

ลดลง 0 0

รวม 11 100.0

37

ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั พัฒนาการของผลสมั ฤทธิ์จากการเปรยี บเทยี บ
ผลคะแนนสอบกอ่ นและหลังเรยี นโดยการจดั การเรียนรูแ้ บบ MACRO
model ร่วมกับสอื่ จาลองโตต้ อบเสมือนจริง

100

80

60

40

20

0 คงที่ ลดลง
เพมิ่ ขึ้น

ภาพ 4.9 รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดบั พัฒนาการของผลสมั ฤทธจิ์ ากการเปรียบเทยี บผลคะแนนสอบก่อนและ

หลังเรยี นโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบ MACRO model รว่ มกับสอื่ จำลองโตต้ อบเสมอื นจริง

จากตาราง 4.9 แสดงให้เหน็ ถึงระดบั พฒั นาการของนักเรยี นหลังเรียนดว้ ยการจดั การเรียนรใู้ นรปู แบบ

MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง ซึ่งมาจากการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียน

ดว้ ยการจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบ MACRO model ร่วมกับส่อื จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ พบวา่ นักเรียนมีระดับ

พัฒนาการที่เพิ่มขึ้น จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 90.9 และมีนักเรียนอยู่ในระดับพัฒนาการคงที่ จำนวน

1 คน คิดเป็นร้อยละ 9.1 แสดงวา่ นกั เรียนส่วนมากมรี ะดับพัฒนาการเพ่มิ ข้นึ

นอกจากนี้ผูว้ จิ ัยได้ทำการพิจารณาระดบั คุณภาพของคะแนนหลังการเรียนเร่ืองพนั ธะโคเวเลนต์ดว้ ย

การจัดการเรียนรู้ในรปู แบบ MACRO model รว่ มกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมอื นจริง ดังตาราง 4.10

ตาราง 4.10 ผลคะแนนแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์และระดับคุณภาพของคะแนน

หลงั เรยี นโดยการจดั การเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกบั สื่อจำลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

คนท่ี คะแนนสอบหลงั รอ้ ยละคะแนน ระดับคุณภาพ

เรยี น (15) หลงั เรียน

1 8 53.3 พอใช้

2 10 66.7 ปานกลาง

3 7 46.7 ควรปรับปรงุ

4 6 40 ควรปรับปรงุ

5 9 60 ปานกลาง

6 8 53.3 พอใช้

7 6 40 ควรปรบั ปรงุ

8 13 86.7 ดมี าก

9 9 60 ปานกลาง

38

คนท่ี คะแนนสอบหลัง รอ้ ยละคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

เรยี น (15) หลงั เรียน

10 10 66.7 ปานกลาง

11 11 73.3 ดี

คา่ เฉลย่ี 8.8 58.8 -

สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 2.1 14.2 -

จากตาราง 4.10 แสดงให้เห็นถึงผลหลังเรียนเรื่อง พันธะโคเวเลนต์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบ

MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/2 แผนการเรียน

ศิลปญ์ ่ปี ุน่ จำนวน 11 คน มคี ะแนนเฉลยี่ เท่ากบั 8.8 คะแนน หรือคิดเปน็ ร้อยละ 58.8

ตาราง 4.11 จำนวนและรอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพหลงั การจดั จัดการเรียนรูแ้ บบ MACRO model

ร่วมกับส่ือจำลองโตต้ อบเสมอื นจรงิ

ระดบั คุณภาพ จำนวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก 1 9.1

ดี 1 9.1

ปานกลาง 4 36.4

พอใช้ 2 18.2

ควรปรบั ปรุง 3 27.2

รวม 11 100.0

ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพจากการจัดการเรยี นรู้แบบ
MACRO model ร่วมกบั ส่อื จาลองโตต้ อบเสมือนจรงิ

40 ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรงุ
35
30
25
20
15
10
5
0

ดีมาก

ภาพ 4.10 รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดับคุณภาพจากการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับ
สื่อจำลองโตต้ อบเสมือนจริง

39

จากตาราง 4.11 และภาพ 4.10 แสดงให้เห็นถึงระดับคุณภาพของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับส่ือจำลองโต้ตอบ
เสมือนจริง ซึ่งมีนักเรียนที่มีระดับคณุ ภาพดมี ากและดีอยา่ งละ 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.1 เท่ากัน นักเรียนท่มี ี
ระดับคุณภาพปานกลาง จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 36.4 นกั เรยี นที่มีระดับคณุ ภาพพอใช้ จำนวน 2 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 18.2 และนักเรยี นท่ีมีระดับคณุ ภาพควรปรบั ปรุง จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 27.2

จากการศึกษาผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจดั การเรียนรู้แบบ
MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/2 แผนการเรียน
ศิลปญ์ ่ปี ุน่ โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปถัมภ์ สามารถสรปุ ผลการวิจัยได้ดงั น้ี

1. หลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจริง นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเพิม่ ข้ึน 3.4 คะแนน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 22.7 โดยนักเรียนส่วนใหญ่
ร้อยละ 90.9 อยใู่ นระดบั พฒั นาการท่ีเพิม่ ขึ้น

2. หลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจริง นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียหลงั เรียนเท่ากับ 8.8 คะแนน จากคะแนนเต็ม 15 คะแนน หรือคิด
เป็นร้อยละ 58.8 โดยนกั เรยี นสว่ นใหญม่ คี ณุ ภาพของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเรื่องพนั ธะโคเวเลนต์ อยใู่ นระดับ
คุณภาพปานกลาง ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 36.4

40

บทท่ี 5

สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวจิ ัยครงั้ นีเ้ ป็นการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) มีวัตถุประสงค์
คอื 1) เพื่อเปรยี บเทยี บความสามารถในการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณก่อนและหลงั เรยี นเรือ่ งพันธะโคเวเลนต์โดย
การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง 2) เพื่อเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO
model รว่ มกบั สื่อจำลองโตต้ อบเสมอื นจริง กลมุ่ เป้าหมายทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ครั้งนี้ ไดแ้ ก่ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษา
ปที ่ี 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญป่ี ่นุ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนหางดงรัฐราษฎรอ์ ุปถัมภ์ จำนวน
11 คน เคร่ืองมอื คือ แบบทดสอบวดั การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ เป็นแบบปรนยั ชนดิ เลอื กตอย จำนวน 25 ข้อ
และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ จำนวน
15 ข้อ ขอ้ มูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใชส้ ถติ ิพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ คา่ เฉล่ยี และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย
สามารถสรุป อภิปราย และมขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี

5.1 สรปุ ผลการวิจัย

จากการวิจยั เพอ่ื วเิ คราะห์เปรียบเทียบการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจริงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปุ่น โรงเรียนหางดงรัฐราษฎร์
อุปถัมภ์ พบว่าหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรยี นรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลอง
โต้ตอบเสมือนจริง นักเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณอยู่ที่ 14.3
(S.D. = 3.2) ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่ค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณอยู่ที่ 8.1
(S.D. = 3.3) และจำแนกตามองค์ประกอบทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกต ความสามารถในการอุปนัย
ความสามารถในการนิรนัย และความสามารถในการระบุข้อตกลงเบื้องต้น พบว่าหลังเรียนเรื่องพันธะ
โคเวเลนตโ์ ดยการจัดการเรียนรแู้ บบ MACRO model รว่ มกบั สือ่ จำลองโต้ตอบเสมือนจรงิ นักเรียนมีค่าเฉลี่ย
ของคะแนนแบบทดสอบวดั การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี นทั้ง 5 ด้าน นอกจากนี้นกั เรยี น
ยังมีค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์หลังเรียนอยู่ท่ี 8.7
(S.D. = 2.2) ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่ค่าเฉลี่ยของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะ
โคเวเลนต์อยู่ที่ 5.3 (S.D. = 2.5) โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3.4 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 22.7 โดย
นกั เรยี นส่วนใหญ่รอ้ ยละ 90.9 อยใู่ นระดบั พัฒนาการทีเ่ พิ่มขนึ้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การจดั การเรียนร้แู บบ MACRO
model รว่ มกบั ส่ือจำลองโต้ตอบเสมือนจริงสามารถพฒั นาการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณในแต่ละด้านและพัฒนา
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรยี นได้

41

5.2 อภปิ รายผลการวจิ ยั
จากผลการวิจัยพบว่าการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเรื่องพันธะ

โคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยของ
คะแนนหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านทตี่ ง้ั ไว้ ท้ังน้อี าจเปน็ เพราะการจัดการเรียนรู้แบบ
MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริงเป็นรูปแบบการสอนที่แปลกใหม่ เน้นให้ผู้เรียนสร้าง
ความรู้ใหม่ โดยการใช้กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) จากขั้นสร้างแรงจูงใจ (Motivation)
ที่นักเรียนได้ฝึกตั้งคำถาม กล้าคิด กล้าตัดสินใจ และกล้าแสดงออก เพื่อเป็นแนวทางในการหาคำตอบอย่าง
ถูกวิธี อกี ทง้ั ยงั ส่งเสริมกระบวนการทางสงั คม (กระบวนการกล่มุ ) ซง่ึ เกดิ ขึน้ ในข้นั การเรียนรูโ้ ดยตรง (Active
Learning) ขั้นสรุปองค์ความรู้ (Conclusion) และขั้นรายงานและนำเสนอ (Reporting) โดยนักเรียนจะได้
อภิปรายกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดมพลังความคิด ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนได้จัด
เตรียมไว้ หลังจากนั้นนักเรียนจะได้ทำการศึกษาประเด็นความรู้จากหัวขอ้ ที่ตกลงกันไว้โดยการสืบค้นข้อมลู
จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วนำความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนกันและสรุปออกมาเป็นองค์ความรู้ใหม่ในรูปแบบ
แผนผงั ความคิด ซงึ่ จะทำใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะในการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ (ดเิ รก วรรณเศียร, 2558) นอกจากนีย้ ัง
มีการผสมผสานระหว่างรูปแบบการเรียนรู้อนื่ ที่สง่ เสริมความเข้าใจ ทำใหน้ กั เรียนสามารถมองเห็นภาพท่ีเป็น
นามธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น (ชาญวิทย์ คำเจริญและดารกา พลัง, 2562) ดังนั้นการจัดการเรียนรู้รูปแบบน้ี
สามารถสง่ เสริมการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเรือ่ งพันธะโคเวเลนต์ให้สูงข้ึนได้
ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ฟิกรี กีไร (2561) ที่ทำการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิด
อย่างมีวิจารณญาณทั้งก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับเทคนิค
การทำแผนผังความคดิ ในวิชาชีววิทยาเรื่อง อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 พบว่า
นักเรียนที่เรียนผา่ นการจัดการเรยี นรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับเทคนคิ การทำแผนผงั ความคิดมีการ
คิดอย่างมวี ิจารณญาณหลงั การจดั การเรยี นรสู้ ูงกว่าเกณฑ์ทีก่ ำหนดอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .01 และมี
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อีกท้ังยงั สอดคล้องกับ
ระวิพรขนิษฐ์ สนิทพ่วง (2561) ที่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนผา่ นบทเรยี นคอมพวิ เตอร์
ช่วยสอนแบบสถานการณ์จำลอง พบว่าผู้เรียนที่เรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลอง
สถานการณ์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และในทำนอง
เดียวกันก็มีการนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชา
คณิตศาสตร์และวชิ าเคมี ซ่งึ กท็ ำให้ผลคะแนนเฉลย่ี จากการสอบหลังเรยี นของนักเรยี นเพ่มิ สูงขึ้นกว่าก่อนเรียน
เ ช ่ น ก ั น ( Jennifer Schellinger, Karina Hensberry and Kelly Findley, 2017;Emily Moore and
Katherine Perkins, 2014) นอกจากนี้บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนแบบจำลองสถานการณ์ยงั สามารถทำให้

42

นักเรียนเข้าใจในเนื้อหาได้ถูกต้องและรวดเร็วขึ้นด้วย (Yuen-ying Carpenter, Emily B. Moore and
Katherine K. Perkins, 2015)

ด้วยเหตุนี้การวจิ ัยครัง้ นี้จึงแสดงให้เห็นวา่ การจัดการเรยี นรูแ้ บบ MACRO model ร่วมกับสือ่ จำลอง
โต้ตอบเสมือนจริงสามารถพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะเคมี
ของนกั เรยี น ให้สงู ข้นึ ได้

5.3 ข้อเสนอแนะการวจิ ยั

จากการวิจยั เรอ่ื งการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ MACRO model ร่วมกบั สือ่ จำลองโต้ตอบเสมือนจริง
เรือ่ งพนั ธะโคเวเลนต์ เพื่อพัฒนาการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 โดยมีจุดประสงค์
2 ประการ คือ 1) เพื่อเปรียบเทยี บความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนเรื่องพนั ธะ
โคเวเลนต์โดยการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง
2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการจัดการเรยี นรู้ใน
รูปแบบ MACRO model ร่วมกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมือนจริง ผู้วิจัยได้นำเสนอข้อเสนอแนะ โดยแบ่งเป็น
2 ส่วน คอื สว่ นที่ 1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้ และส่วนที่ 2 ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป
รายละเอยี ดมีดงั น้ี

สว่ นที่ 1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้
1. การวิจัยครั้งนี้ใช้กับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 แผนการเรียนศิลป์ญี่ปุ่น
โรงเรียนหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปภ์ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 11 คน ดังน้นั การนำผลวจิ ัยไปใช้อาจ
ตอ้ งคำนงึ ถงึ ความเหมาะสมของผเู้ รยี นและบรบิ ทของโรงเรยี น
2. การวจิ ยั ครงั้ นใ้ี ช้ระยะเวลาทนี่ อ้ ยเมือ่ เทียบกับจุดประสงค์ทง้ั หมดท่นี กั เรียนควรได้รับ ดงั นนั้ การนำ
ผลวิจัยไปใช้อาจต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของระยะเวลากับเนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เพื่อลดความผิดพลาด
ของงานวจิ ัย
ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนะในการทำวิจยั คร้งั ต่อไป
1. การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์โดยการ
จดั การเรียนร้แู บบ MACRO model รว่ มกับสื่อจำลองโต้ตอบเสมอื นจรงิ มีการใช้ระยะเวลาท่ีน้อย แต่ค่าเฉล่ีย
ของคะแนนทั้งแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง
พันธะโคเวเลนต์เพ่ิมขึ้นเล็กน้อยในระยะเวลาที่จำกัด ซ่ึงยังไมไ่ ดท้ ำการวจิ ัยในระยะเวลาทีย่ าวนานอาจทำให้ผล
ที่ได้มีความใกล้เคียงหรือแตกต่างกับการวิจัยครั้งนี้ ดังนั้นการวิจัยครั้งต่อไปหากมีเวลาเพียงพอควรเพ่ิม
ระยะเวลาในการทำวิจัย เพื่อดูการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เกิดข้ึน
หากระยะเวลาเปล่ยี นแปลง
2. ควรมีการขยายขอบเขตของประชากร เนื่องจากการทำวิจัยครั้งนี้มีระยะเวลาในการทำค่อน
ข้างน้อย จงึ ทำการทดลองกับกล่มุ เป้าหมายทมี่ คี วามเหมาะสมเท่าน้ัน


Click to View FlipBook Version