จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ช่ือดอกไมด้ อกราพฤกษ์
ช่ืออ่ืน
คูน(อีสาน), ลมแลง้ (ภาคเหนือ), ลกั เกลือ ลกั เคย
(ปัตตานี), ออ้ ดิบ(ภาคใต)้ , กุเพยะ(กะเหรี่ยง-
กาญจนบุรี), ชยั พฤกษ์ ราชพฤกษ(์ ภาคกลาง)
ลกั ษณะทว่ั ไป
ราชพฤกษ์เป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 12–15 เมตร ลาต้นสี
ขาวปนเทา ผวิ เรียบมีรอยเส้นรอบต้น และ รอยปมอยู่บริเวณทเี่ กดิ กง่ิ
ใบเป็ นใบประกอบมใี บย่อยเป็ นคู่ออกจากก้านใบ ใบย่อยมีประมาณ 4–
8 คู่ ใบรี รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบสีเขยี ว
ถิ่นกาเนิด
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ตอนกลาง ทางใตข้ องอเมริกา
และออสเตรเลียตอนเหนื อ
แผนท่ีจงั หวดั นครศรีธรรมราช
สถานทโ่ี บราณนครศรธี รรมราช
“ซากเมืองโบราณ”
นครศรีธรรมราช - สุดอลงั การ! นักประวตั ิศาสตรเ์ ดินป่าคน้ พบ “ซากเมือง
โบราณ” กลางเทือกเขานครศรีธรรมราช คาดมีอายุกวา่ 1,000 ปี สมยั
พราหมณย์ งั รุ่งเรืองในคาบสมุทรทะเลใต้
ภาพบริเวณ “ซากเมืองโบราณ” บนเทือกเขานครศรีธรรมราช ท่ีอยู่บน
ระดบั ความสูง 1,000 เมตรจากระดบั น้าทะเล ซ่ึงบนั ทึกโดย นายภูมิ จิระเดช
วงศ์ นักประวตั ิศาสตรน์ ครศรีธรรมราช โดยไดน้ าคณะเขา้ สารวจเม่ือสปั ดาหท์ ่ี
ผา่ นมา ซ่ึงน่าเช่ือวา่ จะเป็นเมืองโบราณท่ีปรากฏอยูใ่ นบนั ทึกนักเดินทางชาวจีน
เม่ือกวา่ 1,000 ปีกอ่ น ท่ีหายสาบสูญไปจากประวตั ิศาสตร์ จนมีความพยายาม
ในการศึกษาเม่ือ 3 ปีกอ่ น และเขา้ สารวจพ้ืนท่ีบนเทือกเขานครศรีธรรมราช จน
ในท่ีสุดก็ไดค้ น้ พบซากเมืองโบราณแหง่ น้ีอยา่ งชดั เจน โดยไดป้ ระสานกบั สานัก
บริหารพ้ืนท่ีอนุรกั ษท์ ่ี 5 ซ่ึงเป็นผูด้ ูแลอุทยานแหง่ ชาติในพ้ืนท่ีน้ี รวมทง้ั หน่วยงาน
ท่ีเก่ียวขอ้ งใหเ้ ขา้ ทาการสารวจอยา่ งเป็นทางการ
โบสถพ์ ราหมณ์
ต้งั อยู่ ต.ในเมือง อ.เมืองฯ จ.นครศรีธรรมราช ในบริเวณเดียวกบั หอพระอิศวรและเสาชิงชา้
สร้างข้ึนในสมยั อยธุ ยา โดยมีฐานะเป็นเทวสถานประจาเมืองนครศรีธรรมราชใชส้ าหรับ
ประกอบพิธีกรรมสาคญั ของพราหมณ์โดยเฉพาะพิธีตรียมั ปวาย และตรีปวาย ภายในเคย
ประดิษฐานรูปเคารพเน่ืองในศาสนาพราหมณ์ท่ีสาคญั หลายองค์ ไดแ้ ก่ พระศิวนาฏราช
สาริด พระอุมาสาริด พระวษิ ณุสาริด พระหริหระสาริด พระคเณศสาริด และหงส์สาริด
ไดร้ ับการประกาศข้ึนทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา
วดั จนั ทน์ธาตุ
ทารามตงั้ วดั เม่ือวนั ท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2521 ไดร้ บั พระราชทานวิสุงคามสีมา
เม่ือวนั ท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2523[1]
ภายในวดั มีเจดียป์ ะการงั เช่ือกนั วา่ มีอายุมากกวา่ 1000 ปี
ประวตั ิการกอ่ สรา้ งไมป่ รากฏหลกั ฐานท่ีเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร โบราณสถานท่ีพบเป็นสถูปเจดีย์
ตง้ั อยูบ่ นยอดเขาธาตุซ่ึงเป็นภูเขาดินขนาดเล็กวางตวั อยูใ่ นแนวทิศเหนือ-ใตส้ ูงจากระดบั น้าทะเลปาน
กลางประมาณ 85 เมตร อยูห่ า่ งจากชายฝ่งั ทะเลอา่ วไทยทางทิศตะวนั ออกประมาณ 3 กิโลเมตรมี
คลองบา้ นเนียนไหลผา่ นทางทิศใต้
วดั โมคลาน
บทกลอนน้ีแสดงใหเ้ ห็นความเก่าแก่ของบา้ นโมคลานซ่ึงเป็นชุมชนโบราณ ท่ีมีอายปุ ระมาณ ๔,๐๐๐-๕,๐๐๐ ปี มาแลว้ จากลกั ษณะทว่ั ไปของ
บา้ นโมคลาน ซ่ึงเป็นชุมชนใหญ่ อุดมสมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติการต้งั ถิ่นฐานของประชากร โดยต้งั อยตู่ ามแนวยาวของสันทรายเก่า
ลกั ษณะของชุมชนกระจายในแนวยาวเหนือ-ใต้ มีลาน้าไหลมาจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ผา่ นชุมชนโมคลาน ๒ สาย แลว้ ไปลงทะเลท่ีอ่าว
ไทย ไดแ้ ก่ คลองชุมขลิง (คลองยงิ ) และคลองโตะ๊ แน็ง (คลองโมคลาน) แต่เดิมคลองท้งั ๒ น้ีคงเป็นแม่น้าขนาดใหญ่เพราะยงั มรี ่องรอยของ
ตะกอนและการกดั เซาะ (ปัจจุบนั ต้ืนเขิน) มีที่ราบลุ่มท้งั สองฝั่งของคลอง ซ่ึงมีความอุดมสมบูรณ์ ประชากรในชุมชนโมคลานจึงมีอาชีพทานา
และทาสวนมะพร้าว ยางพารา และสวนผลไมบ้ นสันทราย และยงั มีอาชีพทาเครื่องป้ันดินเผามีช่ือเสียงมาต้งั แต่สมยั ก่อน จากการศึกษาสารวจ
ชุมชนโมคลานของนกั โบราณคดีเร่ิมต้งั แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ พบหลกั ฐานทางโบราณคดีท่ีเก่ียวเนื่องกบั อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ลทั ธิไศวนิกาย
และใน ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ศาสตราจารยล์ ูฟส์ (H.H.E. Loofs) แห่งโครงการสารวจทางโบราณคดีไทย-องั กฤษ ไดเ้ ขา้ สารวจและมีความเห็นวา่ เนิน
โบราณสถานของโมคลานหรือแนวหิน ซ่ึงจดั อยใู่ นวฒั นธรรมหินใหญ่ (วฒั นธรรมหินใหญ่อยใู่ นยคุ เหลก็ ประมาณ ๒,๕๐๐ ปี มาแลว้ ลงมา มีการ
นาเอาการนาเอาหินมาใชใ้ นการก่อสร้าง เช่น โต๊ะหิน รูปหินจาหลกั การสร้างสถาปัตยกรรมใหญ่
หอพระนารายณ์
ตง้ั อยูถ่ นนราชดาเนิน เป็นโบราณสถานในศาสนาพราหมณอ์ ีกแหง่ หน่ึงตรงขา้ มกบั หอพระอิศวร
อาคารหอพระนารายณเ์ ดิน ไมส่ ามารถสืบทราบรูปแบบได้ ส่ิงสาคญั ท่ีพบภายในหอพระนารายณ์
ไดแ้ ก่ เทวรูปพระนารายณส์ ลกั จากหินทรายสีเทาทรงมาลารูปกระบอก ปลายสอบและพระหตั ถข์ วา
ทรงสงั ข์ กาหนดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 10 - 11ซ่ึงปจั จุบนั ไดเ้ ก็บรกั ษาไวใ้ นพิพิธภณั ฑสถาน
แหง่ ชาตินครศรีธรรมราช โบราณวตั ถุท่ีตงั้ อยูใ่ นหอพระนารายณข์ ณะน้ีคือ เทวรูปพระนารายณ์
จาลองจากองคจ์ ริงท่ีพบในแหลง่ โบราณสถานคดีแถบอาเภอสิชล
หอพระพทุ ธสิหิงค์
พระพทุ ธสิหิงคเ์ ป็นพระพทุ ธรูปโบราณเก่าแก่มีประวตั ิศาสตร์อนั ยาวนาน เร่ิมต้งั แต่การสร้างและประดิษฐานใน
ลงั กา 1,150 ปี นอกจากน้ีไดไ้ ปประดิษฐานยงั เมืองต่างๆ ของประเทศไทยอีกหลายแห่ง พระพุทธสิหิงค์ เป็น
พทุ ธศิลป์ ที่สร้างในลงั พระสรีระไดส้ ดั ส่วนและงดงามท่ีสุด เป็นพระพุทธรูปสวยงามศกั ด์ิสิทธ์ิคู่บา้ นคู่เมืองของชาติ
ไทย เป็นสิริมงคลและหลกั ใจของพุทธศาสนิกชน มีอานุภาพสามารถบาบดั ทุกขใ์ นใจใหเ้ หือดหาย เม่ือทอ้ แทห้ มด
มานะแลว้ ไดม้ าสักการะ จะทาใหด้ วงจิตที่เห่ียวแหง้ กลบั สดชื่นมีความเขม้ แขง็ จิตท่ีเคยหวาดกลวั จะกลบั กลา้ หาญ
จิตท่ีเกียจคร้านจะมีวริ ิยะ ผหู้ มดหวงั จะมีกาลงั ใจ พระพทุ ธสิหิงค์ เป็นพระพทุ ธรูปซ่ึงตามประเพณีจะมีพธิ ี
อญั เชิญเสดจ็ ออกใหป้ ระชาชนทาการสกั การะบูชาสรงน้า ตามจารีตประเพณีของไทยในวนั สงกรานตอ์ นั เป็นวนั ข้ึน
ปี ใหม่มาแต่โบราณทุกปี พระพุทธสิหิงค์ ประวตั ิความเป็นมาปรากฏตามตานานของพระโพธิรังษี พระเถระ
ปราชญช์ าวเชียงใหม่ ซ่ึงเป็นไวเ้ ป็นภาษามคธ ราวปี พ.ศ.1960 กล่าววา่ พระพทุ ธสิหิงค์
วดั หนา้ พระลาน
ตงั้ อยูต่ าบลในเมือง อาเภอเมืองฯ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทางดา้ นทิศใตข้ องวดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร เดิมเป็น
วดั สาหรบั พระราชาคณะดารงสมณศกั ด์ิ “พระครูการาม” มีหนา้ ท่ีดูแลรกั ษาวดั พระมหาธาตุวรมหาวิหารดา้ นทิศใต้
ในรชั กาลท่ี ๕ มีวดั ในความปกครอง ๙๐ วดั มีเจา้ คณะแขวงข้ึนตรง ๗ แขวง จึงเป็นวดั ท่ีพระสงฆม์ ีความรู้
ความสามารถในเชิงชา่ งตา่ ง ๆ เชน่ ชา่ งปน้ั ชา่ งหลอ่ ชา่ งเขียน ชา่ งไม้ แมก้ ระทง่ั ชา่ งทาเรื อแขง่ ชา่ งทาวา่ ว มา
จาพรรษาอยูเ่ ป็นจานวนมากนอกจากนน้ั ภายในวดั ยงั มีบอ่ น้าสาคญั บอ่ น้าแหง่ น้ีถือเป็น ๑ ใน ๖ บอ่ น้าศกั ด์ิสิทธ์ิ
ของเมืองนครศรีธรรมราช ท่ีถูกนาไปประกอบพิธีทาน้าอภิเษกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เช่ือกนั วา่ มีความ
ศกั ด์ิสิทธ์ิย่ิงกวา่ บอ่ อ่ืนใดในเมืองนครศรีธรรมราช ผูใ้ ดไดด้ ่ืมกินน้าในบอ่ น้ีจะเป็นผูม้ ีสติปญั ญาดี มีวาสนาสูง โดยมี
เคล็ดวา่ หากจะตกั น้าข้ึนมาด่ืมนั้นตอ้ งตกั เอาน้าทางทิศอีสานของบอ่ ข้ึนมาจึงจะบงั เกิดผลดี
โดยท่ีหนา้ พระเจดียม์ ีพระพุทธรูป เป็นพระน่งั องคใ์ หญอ่ ยูใ่ นวิหาร เป็นฝีมือสมยั อยุธยา เช่ือกนั วา่
เป็นพระพุทธรูปท่ีมีความศกั ด์ิสิทธ์ิมาก เรียกกนั วา่ พระเงินหรือ หลวงพอ่ เงิน
ผูท้ ่ีเขียนถึงเจดียย์ กั ษม์ กั จะกลา่ ววา่ เจดียย์ กั ษ์อยูใ่ นบริเวณวดั พระเงิน (รา้ ง) อยูต่ ิดกบั ศาลาเทศบาล
นครนครศรีธรรมราช ทางดา้ นทิศใต้ ถา้ มองตามสภาพปจั จุบนั ก็คงเป็นเชน่ น้นั เพราะปัจจุบนั
บริเวณน้นั คือตง้ั แตด่ า้ นหนา้ ท่ีติดถนนราชดาเนิน ไดแ้ กบ่ ริเวณท่ีเรียกวา่ "สวนพระเงิน" ซ่ึงมี
พระพุทธรูปองคใ์ หญป่ ระดิษฐานอยูไ่ ปจนถึงเจดียย์ กั ษ์ เป็นบริเวณท่ีชาวบา้ นเรียกรวมกนั ไปวา่ "วดั
พระเงิน" ไมค่ อ่ ยจะมีใครเอย่ ช่ือถึง "วดั พระเจดียย์ กั ษ์" แตจ่ ากหลกั ฐานตา่ ง ๆ ปรากฏวา่ สมยั กอ่ นมี
ช่ือ วดั เจดียย์ กั ษ์ หรือวดั พระเจดีย์ อยูใ่ นบริเวณควบคูก่ บั วดั พระเงิน (วดั พระเงิน อยูท่ ่ีสวนพระเงิน
ขา้ งเทศบาล ฯ วดั เจดียย์ กั ษอ์ ยูท่ ่ีบริเวณเจดียย์ กั ษแ์ ละวิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช)
วดั ประดูพ่ ฒั นาราม หรือ วดั ประดู่ หรือ วดั โด เป็นวดั ท่ีสาคญั วดั หน่ึงของจงั หวดั นครศรีธรรมราช มีประวตั ิความเป็นมาอนั
ยาวนาน ซ่ึงมีความเก่ียวขอ้ งกบั กษตั ริยไ์ ทย และเจา้ เมืองนครศรีธรรมราช ในอดีต วดั ประดู่ ตง้ั อยูใ่ นเขตเทศบาลนคร
นครศรีธรรมราช มีเน้ือท่ีทง้ั หมด 19 ไร่ 54.7 ตารางวา โฉนดท่ีดิน เลขท่ี 7062 เลม่ ท่ี 71 หนา้ ท่ี 62 อาเภอเมือง
นครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรีธรรมราช ตง้ั วดั เม่ือ พ.ศ. 1815 ไดร้ บั วิสุงคามสีมา พ.ศ. 1820 เป็นวดั ฝ่ายมหานิกาย
ตานานการสรา้ งวดั มีอยู่ 2 ระยะ ดงั ปรากฏในหนงั สือ “นอ้ มราลึก” โดยนอ้ ย อุปรมยั (อดีต ส.ส. จงั หวดั
นครศรีธรรมราช และอดีตรองประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร) กลา่ ววา่
ในระยะแรก สมยั สมเด็จพระราเมศวร ไดอ้ พยพพลเมือง จากทางภาคเหนือ แถวแควน้ ลา้ นนา และทางภาคอีสานบางสว่ น
ใหม้ าตง้ั ถ่ินฐานทางภาคใต้ รวมทงั้ เมืองนครศรีธรรมราชดว้ ย ไดผ้ สมผสานกบั ชนพ้ืนเมือง
หอพระอิศวรและเสาชิงชา้
สนั นิษฐานวา่ สรา้ งในสมยั อยุธยา แตข่ องเดิมชารุดไปหมดแลว้ อาคารท่ีปรากฏทุกวนั น้ีเป็นอาคารท่ีกรม
ศิลปากรบูรณะข้ึนใหม่ เม่ือ พ.ศ. 2509 ทางดา้ นเหนือของหอพระอิศวรเป็นวดั เสมาเมือง ทางดา้ นใตเ้ ป็นเสา
ชิงชา้ ซ่ึงสรา้ งข้ึนใหมแ่ ทนของเกา่ ซ่ึงใชใ้ นพิธียมั ปวาย และตรีปวาย ของพราหมณ์ เมืองนครศรีธรรมราช
โดยจาลองแบบมาจากเสาชิงชา้ ในกรุงเทพฯ แตม่ ีขนาดเล็กกวา่ และ เพ่ิงเลิกไปเม่ือ พ.ศ. 2468 เดิมหอพระ
อิศวรเป็นท่ีประดิษฐานเทวรูป พระอิศวรหลายองค์ เป็นปางหรือภาคตา่ งๆ กนั ซ่ึงเป็นเทพสูงสุดตามความเช่ือ
ของพราหณล์ ทั ธิไศวนิกาย แตเ่ ดิมใกลๆ้ กบั เสาชิงชา้ มีโบสถพ์ ราหมณอ์ ยูห่ ลงั หน่ึง แตป่ จั จุบนั ผุพงั ลงจนไม่
เหลือซากแลว้ ภายในบริเวณโบสถเ์ ป็นแหลง่ ท่ีพบช้ินสว่ นเทวรูปท่ีหลอ่ ดว้ ยสาริดอายุระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี 18
- 25 หลายองคด์ ว้ ยกนั อาทิ พระพิฆเนศวร พระศิวะนาฏราช พระอุมา และรูปหงส์ นบั วา่ เกา่ แกม่ ีคา่ ย่ิงนัก
นครศรธี รรมราช ทเ่ี ทย่ี วธรรมชาติ
หาดขนอม
อุทยานแหง่ ชาติหาดขนอม-หมูเ่ กาะทะเลใต้ ตง้ั อยูท่ ่ี ตาบลขนอม อาเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็น
หาดท่ีมีช่ือเสียงของนครศรี ลกั ษณะเป็นหาดทรายท่ีย่ืนยาวออกไปในทะเลคูก่ บั ทิวสน มีปะการงั สวยงาม อุดม
สมบูรณท์ ง้ั ปะการงั จาน ปะการงั สมอง และปะการงั เขากวาง รอบเกาะจะมีชายหาดและน้าใส เหมาะกบั การ
ดาน้าดูปะการงั และเลน่ น้า
อ่าวทอ้ งหยี
มีสภาพแวดลอ้ มเป็นธรรมชาติท่ีสมบูรณ์ เหมาะสาหรบั การพกั แรมแบบแคม้ ป้ิง หรือ เต็นท์ อา่ วทอ้ งหยีมี
พ้ืนท่ีอยูใ่ นวงลอ้ มของเขาเพลาและเขากลาง ทาใหช้ ายหาดสงบเงียบและเป็นสว่ นตวั
หากมุง่ หนา้ ไปใหถ้ ึงใตส้ ุดของทะเลขนอม คุณจะพบกบั อา่ วทอ้ งหยีท่ีตงั้ อยูก่ ลางวงลอ้ มของเขาเพลาและเขา
กลาง ท่ีน่ีเป็นชายหาดสงบเงียบ เป็นสว่ นตวั ทา่ มกลางธรรมชาติบริสุทธ์ิ ตวั ชายหาดเป็นหาดทรายสลบั กบั
แนวโขดหิน และทางตอนใตขั องอา่ วมีแนวปะการงั ฝูงปลาบริเวณน้ีจึงชุกชุม เหมาะสาหรบั การเลน่ น้าหรือ
ดาน้าดูปะการงั น้าต้ืน นอกจากน้ีบริเวณอา่ วทอ้ งหยียงั มีท่ีพกั บริการนกั ทอ่ งเท่ียว
ถา้ เขาวงั ทอง
ตง้ั อยูท่ ่ี ตาบลควนทอง อาเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในการดูแลของ อุทยานแห่งชาติหาด
ขนอม-หมูเ่ กาะทะเลใต้ ถือไดว้ า่ เป็นถา้ ท่ีมีความสวยงามของธรรมชาติแหง่ หน่ึงเลยคะ่ โดยถา้ น้ีจะเป็น
หินปูนผสมแร่เหล็ก โดยภายในถา้ นัน้ จะมีหอ้ งโถงขนาดใหญเ่ ล็กตา่ งกนั ไป ซ่ึงแตล่ ะหอ้ งจะมีหินงอก
หินยอ้ ยท่ีสวยงามมากๆ ทง้ั หินยอ้ ยแบบหลอด
อุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง
เป็นอุทยานแหง่ ชาติท่ีตง้ั อยูใ่ นทอ้ งท่ี จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดถ้ ูกจดั ตง้ั ข้ึนตามมติคณะรฐั มนตรี กาหนดใหป้ ่า
เขาหลวงและป่าอ่ืนๆ ในทอ้ งท่ีจงั หวดั นครศรีธรรมราช รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแหง่ ชาติ กรมป่าไมไ้ ดท้ าการสารวจ
เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั สภาพพ้ืนท่ีบริเวณป่าเขาหลวงจะถูกวาตภยั ในปี พ.ศ. 2505 ทาใหไ้ มข้ นาดใหญล่ ม้ โคน่ เป็นจานวน
มาก นอกจากน้นั ป่าแหง่ น้ียงั มีคุณคา่ ควรแกก่ ารเก็บรกั ษาไว้ เพ่ือประโยชน์ในการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ การศึกษา
คน้ ควา้ วิจยั และคุม้ ครองรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่า นับวา่ ควรคา่ แกก่ ารจดั เป็นอุทยานแหง่ ชาติ ซ่ึงตอ่ มาไดม้ ีมติ
คณะกรรมการอุทยานแหง่ ชาติ จากการประชุมครง้ั ท่ี 1/2517 เม่ือวนั ท่ี 22 มกราคม 2517 เห็นชอบในหลกั การให้
จดั ตง้ั เป็นอุทยาน โดยไดม้ ีพระราชกฤษฎีกากาหนดบริเวณท่ีดินป่าเขาหลวง
หาดในเพลา
ตอ้ งเรียกวา่ หาดน้ีเป็นหาดดงั ที่สุดของอ่าวขนอม เป็นที่รู้จกั ของท่องเท่ียวท้งั ชาวไทยและชาวต่างชาติ
เป็นหาดที่อยทู่ างตอนใตส้ ุดของอ่าว ลกั ษณะเป็นแนวยาวโคง้ คร่ึงวงกลมขนานกบั แนวภูเขาที่ตอนปลาย
ยน่ื ไปในทะเล หาดทรายเป็นทรายขาวละเอียดเนียนนุ่ม สลบั กบั หาดหินและโขดหินเป็นช่วงๆ มีธารน้าท่ี
ไหลมาจากน้าตกหินลาด น้าทะเลใสสะอาดสีครามในอ่าวกวา้ ง เหมาะสาหรับการลงเล่นน้าทะเล สาหรับ
คนชอบมองทะเล ภาพมุมต่าง ๆ ของหาดในเพลางดงาม ชายหาดมีทิวมะพร้าวอนั ร่มร่ืน และยงั เขียว
ชะอุ่มดว้ ยตน้ ไมน้ านาพนั ธุ์ หาดในเพลาจึงเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวใหค้ วามรื่นรมย์ สบายดว้ ยธรรมชาติ มี
เสน่หช์ วนใหไ้ ปพกั ผอ่ น นอกจากทะเลจะสวยแลว้ ไม่ไกลกนั นกั มีธารน้าตกหินลาดใหเ้ ท่ียวชม หากมา
พกั ผอ่ นในเดือนกมุ ภาพนั ธ์และมีนาคม ซ่ึงเป็นช่วงเวลาท่ีลมตะเภาและลมเภตรา พดั เขา้ หาฝ่ังทะเลตลอด
ชายหาด
หาดหินงาม
ต้งั อยทู่ ี่ ตาบลสิชล อาเภอสิชล จงั หวดั นครศรีธรรมราช น่ีเองคะ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่จดั วา่ มีชื่อของ
เมืองสิชลค่ะ ตีคู่มากบั หาดสิชล เลยค่ะ หาดหินงาม จะมีลกั ษณะเป็นหาดหินโคง้ ยาวขนานไปกบั คลื่น
ชายฝั่ง มีหาดทรายสีขาวนวลตดั กบั สีของโขดหินและสีน้าทะเล ร่มรื่น ท่ีมาของช่ือ หาดหินงาม น้นั
กม็ าจากหินกอ้ นเลก็ ใหญ่ ท่ีมีอยทู่ วั่ หาดนี่แหละค่ะ เลยทาใหบ้ ริเวณน้ีไม่เหมาะท่ีจะเล่นน้าเท่าไหร แต่
เหมาะสาหรับชมววิ และถ่ายรูปสวยๆ มากกวา่ ค่ะ ที่นี่เลยเหมือนเป็นสถานท่ีท่องเท่ียวพกั ผอ่ นหยอ่ น
ใจ ท้งั ชาวบา้ นในพ้ืนท่ีและบริเวณใกลเ้ คียงต่างกใ็ ชเ้ ป็นที่พกั ผอ่ นกนั ค่ะ
หาดสิชล
เป็นหาดโคง้ ยาว ท่ีมีวิวทิวทศั น์สวยงามมาก ชาวบา้ นแถวน้ีจะเรียกกนั วา่ อา่ วทองโหนด น้าทะเลของท่ีน่ีจะ
ใส ชายหาดเป็นทรายขาว มีความลาดเอียงไปในทะเล ทาใหส้ ามารถลงเลน่ น้าไดอ้ ยา่ งสบายๆ เลย เป็นหาดยอด
ฮิตของนครศรีธรรมราชเลยก็วา่ ได้ นอกจากนน้ั บริเวณใกล้ ยงั มี หาดหินงาม แตห่ าดน้ีจะตา่ งกบั หาดสิชล ตรง
ท่ีวา่ จะมีทงั้ หินขนาด ท่ีน่ีไดร้ บั ขนานนามวา่ หวั หินสิชล เลยทีเดียวคะ่ เพราะเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวท่ีมีช่ือเสียง
มานานของอาเภอสิชล ตงั้ แตบ่ ริเวณชายหาดท่ีเป็นแนวหินไปจนถึงหาดทรายโคง้ จะสายเนน้ ถา่ ยรูปหรือสาย
เลน่ น้ามนั ส์ ก็ตอบโจทยท์ งั้ นนั้ เลยคะ่ และนอกจากน้ียงั มีรา้ นอาหารซีฟ้ดู เกา้ อ้ีน่ังริมทะเล เป็นสถานท่ีท่ีสาหรบั
การพกั ผอ่ นในชว่ งสุดสปั ดาหข์ องชาวบา้ นในพ้ืนท่ีและนักทอ่ งเท่ียว
เขาพลายดา เป็นภูเขาท่ีติดทะเลเป็นรอยตอ่ อาเภอขนอมและอาเภอสิชล จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ปจั จุบนั เป็นท่ีตงั้ ของสถานท่ีพฒั นาและอนุรกั ษพ์ นั ธุส์ ตั วป์ ่าเขาพลายดา ตง้ั อยูใ่ นตาบลทุง่ ใส มีหาดท่ี
สวยงามคือ บริเวณหาดทอ้ งยาง สามารถลงเลน่ น้าได้ เขาพลายดามีสตั วป์ ่าประเภทกินพืชอาศยั อยู่
จานวนหน่ึง เชน่ กวาง กระจง และนกนานาชนิด การเดินทางแยก
น้าตกกรุงชิง
เป็นสถานท่ีท่องเที่ยวช่ือดงั ของ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ต้งั อยใู่ น อุทยานแห่งชาติเขาหลวง ตาบลกรุงชิง อาเภอนบพติ า เป็น
น้าตกขนาดใหญ่ มาจากคลองกรุงชิง ที่ไหลตดั ผา่ นหุบผาหินแกรนิต ตามความลาดเอียงของภูเขา ทาใหก้ ลายเป็นช้นั น้าตกท่ี
สวยงดงาม สามารถเที่ยวชมน้าตกไดม้ ากถึง 7 ช้นั ดว้ ยกนั ค่ะ แต่บริเวณของ หนานมดั แพ และ หนานฝนแสนห่า จะเป็นช้นั ท่ีมี
ความสวยงามท่ีสุด แต่กต็ อ้ งใชเ้ วลาเดินไปมากกวา่ 4 กิโลเมตร เลยทีเดียว ส่วนที่ไดช้ ื่อวา่ กรุงชิง น้นั กเ็ พราะมาจากคาวา่
ตน้ ชิง ที่เป็นพนั ธุ์ไมต้ ระกลู ปาลม์ ชนิดหน่ึงท่ีมีอยมู่ ากในเขตน้ี เชื่อกนั วา่ พ้ืนที่น้ีเคยเป็นชุมชนมาต้งั แต่สมยั โบราณ และเป็น
พ้นื ท่ีที่มีการต่อสู้อนั เกิดจากความขดั แยง้ ดา้ นการปกครอง โดยพ้นื ที่ผนื ป่ ากรุงชิงน้นั เคยถูกครอบครองโดยคอมมิวนิสต์ มา
ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2517 แต่ต่อมาฝ่ ายรัฐบาลสามารถยดึ พ้ืนท่ีได้ ทาใหค้ อมมิวนิสตท์ ่ีกรุงชิงแตกในไปปี พ.ศ. 2524 สภาพพ้นื ท่ีของ
กรุงชิงเป็นพ้ืนที่ราบสูงและมีภูเขาลอ้ มรอบ จึงเกิดเป็นที่มาท่ีชาวบา้ นเลยเรียกกนั วา่ อ่าวกรุงชิง นน่ั
น้าตกพรหมโลก
เป็นน้าตกขนาดใหญต่ ง้ั อยูท่ ่ี ตาบลบา้ นเกาะ อาเภอพรหมคีรี จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในบริเวณของน้าตกน้นั จะมีลาน
หินกวา้ งขวาง และมีแอง่ น้าคลา้ ยกบั สระน้า ท่ีเกิดข้ึนจากธรรมชาติ ซ่ึงจริงๆ แลว้ น้าตกสายน้ี มีถึงกวา่ 50 ชนั้ ดว้ ยกนั
แตเ่ ปิดใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวเขา้ ชมไดแ้ คเ่ พียง 4 ชน้ั เ โดยจะมี ชนั้ หนานวงั น้าวน ชน้ั หนานวงั ไมป้ ัก ชน้ั หนานวงั หวั บวั และ
ชนั้ หนานวงั อา้ ยแล ซ่ึงในอดีตนั้นเอง ในหลวงรชั กาลท่ี 9 และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิฯ ก็ไดเ้ คยเสด็จประพาสมาชม
ความสวยงามของ น้าตกพรหมโลก แหง่ น้ี เม่ือปี พ.ศ. 2502 อีกดว้ ย และทรงจารึกพระปรมาภิไธยยอ่ "ภ.ป.ร" และ
"ส.ก." ไวบ้ ริเวณหนา้ ผาน้าตกชนั้ ท่ี 1 หรือ ชน้ั หนานวงั น้าวน
จดั ทาโดย
นายจิรายุทธ์ิ จนั ทะสาร เลขท่ี7
นายเตชินท์ โตจาเริญ เลขท่ี11
นาเสนอคุณครูวิไล ไชยหงส์