The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย สู่ผู้จำหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ กรณีศึกษาร้านเจ๊อร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supattar Noisomwong, 2021-04-22 00:06:53

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย สู่ผู้จำหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ กรณีศึกษาร้านเจ๊อร

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย สู่ผู้จำหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ กรณีศึกษาร้านเจ๊อร

ใบรับรองโครงการ
วทิ ยาลยั เทคนิคพจิ ติ ร

เร่ือง การบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย สู้ผจู้ าหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ กรณีศึกษาร้านเจ๊อร

โดย 1. นางสาวบณั ฑิตา กะวีระ รหสั 6122011109
2. นางสาวรพีพรรณ แจ่มศรี รหสั 6122011114
3. นางสาวสุทธิดา ชูจิตร รหสั 6122011128

ไดร้ ับการอนุมตั ิใหน้ บั เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
สาขาวชิ าการบญั ชี

.....................................ครูผสู้ อน .....................................ครูที่ปรึกษาโครงการ
(นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ)์ (นางสาววรรณวิไล ฤทธิเดช)

………………………
(นางสุขใจ ตอนปัญญา)
หวั หนา้ แผนกวชิ าการบญั ชี

...............................
(นายอิศรา อยยู่ ง่ิ )
รองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการ
วนั ท่ี......เดือน................พ.ศ. .........



ช่ือโครงการ การบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย สู้ผจู้ าหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ
กรณีศึกษาร้านเจ๊อร

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวรพพี รรณ แจ่มศรี
นางสาวบณั ฑิตา กะวรี ะ
นางสาวสุทธิดา ชูจิตร

สาขาวิชา การบญั ชี

คณุ ครูท่ีปรึกษา นางสาววรรณวิไล ฤทธิเดช

ครูผู้สอน นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ์

ปี การศึกษา 2/2563

บทคดั ย่อ

การออกให้บริการการจัดทาบัญชีรายรับ - รายจ่ายให้กับร้านก๋วยเต๋ียวเรือ เจ๊อร
โครงการน้ีมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือนาความรู้จากการที่ไดศ้ ึกษามาจากสถานศึกษามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
ในร้านคา้ การดาเนินการสอน ทาบญั ชี รูปแบบการลงบญั ชีที่เหมาะสมตอ้ งประกอบดว้ ยสร้าง
เอกสาร แบบฟอร์มจาเป็ นตอ้ งใชร้ ูปแบบและการถ่ายทอดความรู้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพมี
ข้นั ตอนการศึกษาคือการเตรียมการเร่ืองรูปแบบการลงบญั ชีท่ีเหมาะสม



กติ ติกรรมประกาศ

โครงการ การให้ความรู้เกี่ยวกับการทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย เร่ืองสอนทาบัญชี
รายรับ - รายจ่ายให้กิจการร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ เจ๊อร คณะผูจ้ ัดทาโครงการขอขอบพระคุณ
คุณครูอรวลัญช์ น้อยสมวงษ์ ท่ีกรุณาให้ความเมตตาให้คาปรึกษาโครงการดูแลให้คาแนะนา
เสนอแนะแนวทาง ตรวจแกไ้ ขขอ้ บกพร่องและใหก้ าลงั ใจแก่คณะผจู้ ดั ทา

ขอขอบพระคุณร้านก๋ วยเต๋ียวเรื อ เจ๊อร กลุ่มตัวอย่างร้านนางสาวอรอุมา บุญคา
ที่ให้ความร่วมมือในการเรียน การสอนทาบญั ชีของกิจการร้านก๋วยเตี๋ยวเรือทาใหโ้ ครงการคร้ังน้ี
ประสบความสาเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี

หวงั เป็ นอย่างยิ่งว่า โครงการการให้ความรู้เก่ียวกับการทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย
เร่ืองสอนทาบญั ชีรายรัย - รายจ่าย ท่ีจดั ทาข้ึนน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผทู้ ่ีสนใจท่ีจะนาไปศึกษาต่อ
ในประเด็นท่ีไดเ้ สนอแนะไวใ้ นโครงการฉบบั น้ี หรือเป็ นแนวทางในการออกไปสอนให้กิจการ
ร้านคา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งใหบ้ รรลผุ ลอยา่ งมีประสิทธิภาพต่อไป

รพพี รรณ แจ่มศรี
บณั ฑิตา กะวรี ะ
สุทธิดา ชูจิตร



สารบัญ

บทคดั ยอ่ หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบญั ตาราง ค
สารบญั ภาพ จ


บทที่ 1

1. บทนา

1.1 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา 1

1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2

1.3 ขอบเขตของโครงการ 2

1.4 ข้นั ตอนการดาเนินโครงการ 2

1.5 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3

1.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 3

บทท่ี 2

2. เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง

2.1 หลกั การ แนวคดิ เกี่ยวกบั ตน้ ทนุ 4

2.2 ความรู้เก่ียวกบั ค่าใชจ้ ่ายในครัวเรือน 10

2.3 สภาพทวั่ ไปของชุมชน 14 หมทู่ ่ี 11 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก จงั หวดั พจิ ิตร 13

2.4 งานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 14

บทที่ 3

3. วธิ ีการดาเนินงาน

3.1 กลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศึกษา 16

3.2 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 16

3.3 วิธีดาเนินการศึกษา 16

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 18



สารบญั (ต่อ)

บทที่ 4 หน้า
4. ผลการดาเนินงาน
4.1 ขอ้ มูลสภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 19
4.2 สรุปผลการวิเคราะห์สอบถามร้านคา้ กลุม่ ตวั อยา่ ง 22

บทท่ี 5 26
5. สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ 27
5.1 อภิปรายผลการดาเนินงาน 27
5.2 ปัญหาและอปุ สรรคที่เกิดข้ึน 28
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
30
บรรณานุกรม 33
35
ภาคผนวก 37
39
ภาคผนวก ก แบบประเมินความพงึ พอใจ 41
ภาคผนวก ข แสดงภาพสถานท่ีดาเนินงาน 44
ภาคผนวก ค แสดงภาพสอนนางสาวอรอมุ า ประยรู คา ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย 63
ภาคผนวก ง แสดงภาพตรวจสอบบญั ชีรายรับ - รายจ่าย 70
ภาคผนวก จ แสดงภาพเก็บขอ้ มลู แบบสอบถามความพึงพอใจ 76
ภาคผนวก ฉ ภาพพบครูท่ีปรึกษาและครูสอนวชิ าโครงการ
ภาคผนวก ช แสดงตารางบญั ชีรายรับ - รายจ่าย 2 เดือน
ภาคผนวก ซ แสดงบญั ชี รายรับ - รายจ่าย
ภาคผนวก ฌ แบบเสนอขออนุมตั ิโครงการ

ประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงการ



สารบัญตาราง หน้า

ตารางท่ี 20
20
4.1.1 แสดงจำนวนและคำ่ ร้อยละของสถำนะภำพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถำม 20
4.1.2 แสดงจำนวนและค่ำร้อยละของอำยผุ ตู้ อบแบบสอบถำม 21
4.1.3 แสดงจำนวนและค่ำร้อยละของสถำนะภำพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถำม 22
4.1.4 แสดงค่ำเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมำตรฐำนควำมคิดเห็นของเจอ๊ ร 24
4.1.5 แสดงขอ้ มูลสินทรัพยแ์ ละค่ำเสื่อมอุปกรณ์ 24
แสดงกรำฟสรุป เดือนธนั วำคม 25
แสดงกรำฟสรุป เดือนมกรำคม 44
แสดงกรำฟสรุป เปรียบเทียบระหวำ่ งเดือนธนั วำคมกบั เดือนมกรำคม
แสดงตำรำงบญั ชีรำยรับ - รำยจ่ำย 2 เดือน



สารบัญภาพ หน้า

ภาพท่ี 33
35
1 ภาพสถานที่ดาเนินงาน 37
2 ภาพสอนนางสาวอรอมุ า ประยรู คา ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่าย 39
3 ภาพตรวจสอบบญั ชีรายรับ – รายจ่าย 41
4 ภาพเกบ็ ขอ้ มูลแบบสอบถามความพงึ พอใจ 76
5 ภาพพบครูท่ีปรึกษาและครูผสู้ อนวชิ าโครงการ
6 ภาพประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงการ



บทที่ 1

บทนำ

1.1 ทีม่ ำและควำมสำคัญของปัญหำ

จากสภาวะสงั คมปัจจุบนั ที่เตม็ ไปดว้ ยกระแสวตั ถุนิยมและความฟ่ ุมเฟื อย ฟุ้งเฟ้อ จนทา
ให้คนไทยหลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็ นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินที่ไม่มี
วนั จบสิ้น อยา่ งไรก็ตามคนไทยยงั มีทางออก ซ่ึงการจะดารงชีวิตใหอ้ ยรู่ อดภายใตส้ งั คมในปัจจุบนั
เป็ นแนวทางหน่ึงท่ีประชาชนไทยควรยึดถือคือการพ่ึงตนเอง รู้จักความพอประมาณ และไม่
ประมาท ตามแนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวท่ีทรงมองเห็นถึง
ความสาคญั ของการสร้างภูมิคุม้ กันให้กับตัวเอง รู้จักความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึง
หลกั เหตผุ ลและการประมาณตนเอง ซ่ึงเป็นไปตามคณุ ลกั ษณะสาคญั 3 ประการ ในองคป์ ระกอบ
ของเศรษฐกิจพอเพียงโดยอยู่ภายใต้ 2 เงื่อนไข คือ ความรู้ในการจัดทาบัญชีครัวเรื อน
การวิเคราะห์รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายที่ไดบ้ นั ทึกไว้ และคุณธรรม คือการดาเนินชีวิตดว้ ยความขยนั
อดทน และใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต ผบู้ นั ทึกบญั ชีครัวเรือนสามารถทาใหเ้ กิดความพอเพียง
หรือพอประมาณกบั ตนเอง อยู่ไดอ้ ย่างพอกินพอใชไ้ ม่เดือดร้อน เป็นการยึดทางสายกลาง เมื่อทา
อะไรก็ตามให้พอเหมาะพอควรและมีเหตุมีผล จึงถือไดว้ ่าบญั ชีครัวเรือนเป็นเคร่ืองมืออยา่ งหน่ึงที่
ถูกนามาใชใ้ นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปัจจุบนั คนไทยไม่คอ่ ยใหค้ วามสนใจในการทาบญั ชีรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน เน่ืองจาก
คนไทยไม่เขา้ ใจความหมายของการบญั ชีครัวเรือนอย่างถ่องแท้ คือเขา้ ใจว่าบญั ชีครัวเรือนเป็ น
บญั ชีที่จดั ไวส้ าหรับกลุ่มเกษตรกรโดยเฉพาะ และมีบทบาทสาคญั เฉพาะครอบครัวที่มีหัวหน้า-
ครอบครัวหรือคนใดคนหน่ึงเป็ นผูท้ าหน้าท่ีบนั ทึกบญั ชีเท่าน้ัน ผูท้ ่ีไม่มีหน้าที่จึงไม่สนใจที่จะ
เรียนรู้เพื่อช่วยเหลือหรือพ่ึงพาตนเอง ปัญหาการขาดสภาพคล่องของประชาชนท่ีมีรายรับน้อยจึง
เป็นปัญหาใหญท่ ่ีรัฐบาลตอ้ งแกไ้ ขและควรส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีความรู้ความเขา้ ใจถึงความสาคญั
และประโยชน์ของบญั ชีครัวเรือนให้มากข้ึน อยา่ งนอ้ ยก็เพ่ือให้สามารถจดั การการเงินของตนเอง
และครอบครัวได้

2

จากขอ้ ความขา้ งตน้ น้นั กลุ่มของขา้ พเจา้ จึงมีแนวคิดจดั ทาโครงการบริการความรู้การทา
บญั ชีรายรับ - รายจ่ายให้แก่ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ เจ๊อรเพ่ือใชค้ านวณตน้ ทุน กาไรขาดทุนในแต่ละวนั
ซ่ึงจะทาใหเ้ ห็นภาพรวมวา่ มีรายรับ-รายจ่ายเทา่ ใด เพอ่ื นาไปใชใ้ นการวางแผนใชจ้ ่ายเงินใหเ้ หมาะสม

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงกำร

1.2.1 เพอ่ื บริการความรู้เก่ียวกบั การทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
1.2.2 เพือ่ ศึกษารายรับ - รายจ่ายของร้าน
1.2.3 เพอื่ ช่วยในการวางแผนกาไร และควบคมุ ค่าใชจ้ ่ายของร้าน

1.3 ขอบเขตของโครงกำร

1.3.1 ร้านก๋วยเตี๋ยวที่จะบริการความรู้
1.3.2 สถานท่ีดาเนินการ ร้านก๋ วยเตี๋ยวเรื อ เจ๊อร 14/4 หมู่ 11 ตาบลบางไผ่
อาเภอบางมลู นาก จงั หวดั พิจิตร
1.3.3 วิธีการดาเนินการศึกษา
1.3.4 รวบรวมขอ้ มลู รายรับ - รายจ่ายของร้าน
1.3.5 ใหบ้ ริการความรู้การบนั ทึกบญั ชีแก่เจา้ ของร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ

1.4 ข้นั ตอนกำรดำเนินโครงกำร

1.4.1 ศึกษาโครงการที่สนใจ ดงั น้ี
1) รวบรวมสมาชิกกลมุ่ ท่ีตอ้ งการทางานร่วมกนั
2) เลือกหวั หนา้ โครงการ
3) ช่วยกนั คิดโครงการเพือ่ นาเสนอโครงการท่ีน่าสนใจ
4) ตดั สินใจเลือกโครงการ

1.4.2 ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูล ดงั น้ี
1) ศึกษาขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั การศึกษารายรับ – รายจ่าย
2) สารวจกิจการร้านคา้ ที่ไม่มีการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
3) ติดตอ่ ผปู้ ระกอบกิจการร้านเกี๋ยวเตี๋ยว เรือเจอ๊ ร เพ่ือนามาศึกษารายรับ – รายจ่าย

1.4.3 จดั ทาแผนดาเนินโครงการ ดงั น้ี
1) ประชุมวางแผนการดาเนินงานโครงการ

3

2) เขียนรายละเอียดแบบเสนอโครงการ
1.4.4 รวบรวม ดงั น้ี

1) ตรวจสอบเอกสารใหเ้ รียบร้อย
2) สรุปโครงการและนาเสนอ

1.5 ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รับ

1.5.1 เจา้ ของร้านก๋วยเต๋ียวเรือไดร้ ับความรู้วธิ ีการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
1.5.2 ทาใหเ้ จา้ ของร้านไดท้ ราบตน้ ทุนและกาไรในทุก ๆ วนั
1.5.3 ทาใหด้ ารงชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง รู้จกั กิน รู้จกั ใช้ รู้จกั ออม

1.6 นิยำมศัพท์เฉพำะ

การทาบญั ชี หมายถึง งานประจาที่เกี่ยวขอ้ งกบั การบนั ทึกและรวบรวมขอ้ มลู ประจาวนั
เพ่อื ใหส้ ามารถจดั ทางบการเงิน

กาไร หมายถึง ผลที่ไดเ้ กินตน้ ทนุ
ขาดทุน หมายถึง ทนุ หมดไป , ไดไ้ มค่ รบทนุ
คงเหลือ หมายถึง มีเหลืออยู่ , ยงั เหลือ
รายรับ หมายถึง รายไดห้ รือผลประโยชนท์ ่ีรับเขา้ มา
รายจ่าย หมายถึง รายการจ่าย เช่น เดือนน้ีรายจ่ายสูงกวา่ เดือนที่แลว้ , คูก่ บั รายรับ

1

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง

การศึกษาให้การบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่ายสู่ผจู้ าหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ
กรณีศึกษาร้านเจ๊อร ผจู้ ดั ทาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การต่าง ๆ จากเอกสารและงานวจิ ยั
ที่เกี่ยวขอ้ งดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1 หลกั การ แนวคดิ เก่ียวกบั ตน้ ทุน
2.2 ความรู้เก่ียวกบั ค่าใชจ้ ่ายในครัวเรือน
2.3 สภาพทว่ั ไปของชุมชน 14 หมูท่ ่ี 11 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก จงั หวดั พิจิตร
2.4 งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2.1 หลกั การ แนวคดิ เกย่ี วกบั ต้นทุน

ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่องค์กรใช้ประโยชน์เพื่อให้บรรลุ
วตั ถุประสงคต์ ามท่ีไดก้ าหนดไว้ เช่น ตน้ ทุนของวตั ถุดิบและแรงงานท่ีเกิดข้ึนเพื่อผลิตสินคา้ และ
บริการ และเม่ือตน้ ทุนไดก้ ่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อธุรกิจแลว้ ตน้ ทุนส่วนน้นั จะเปล่ียนสภาพไปเป็น
ค่าใชจ้ ่าย (Expense) ซ่ึงจะนาไปหกั รายไดใ้ นแต่ละงวดบญั ชี

ตน้ ทุนการผลิต คือ ตน้ ทุนที่ทาให้ไดส้ ินคาสาเร็จรูปใด ๆ ประกอบดว้ ย วตั ถุดิบทาง
ตรงท่ีเบิกใชใ้ นการผลิต แรงงานทางตรงที่เก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการผลิตและค่าใชจ้ ่ายในการผลิต
เมื่อท้งั 3 ส่วนประกอบ ไดเ้ ขา้ สู่ขนั ตอนต่าง ๆ ของการผลิตกจ็ ะถกู แปรสภาพเป็นสินคา้ สาเร็จรูป

การจาแนกประเทของตน้ ทนุ ออกเป็น 7 ประเภท ไดแ้ ก่
2.1.1 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะส่วนประกอบชองผลิตภณั ฑ์
2.1.2 การจาแนกตน้ ทุนตามความสัมพนั ธ์กบั ระดบั ของกิจกรรม
2.1.3 การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ที่งานหรือตามแผนกที่เกิดตน้ ทุน
2.1.4 การจาแนกตน้ ทุนตามงวดบญั ชีจากช่วงเวลาที่ทากาไร
2.1.5 การจาแนกตามระยะเวลา

5

2.1.6 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะการวเิ คราะห์ปัญหาเพอื่ การตดั สินใจ
2.1.7 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะของความรับผิดชอบ

ซ่ึงมีรายละเอียดของการจาแนกตน้ ทนุ แตล่ ะประเภท ดงั น้ี
2.1.1 การจาแนกตน้ ทนุ ตามส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์
การจาแนกต้นทุนตามความสาคัญและลักษณะของต้นทุนการผลิตน้ัน จะมี

ลกั ษณะท่ีคลา้ ยคลึงกบั การจาแนกตน้ ทุนตามส่วนประกอบของการผลิต ซ่ึงวตั ถุประสงคข์ องการ
จาแนกตน้ ทนุ ในลกั ษณะน้ี ก็เพือ่ ใชใ้ นการวางแผนและควบคมุ มากกวา่ ท่ีจะจาแนกเพ่ือการคานวณ
ตน้ ทุนของสินคา้ หรือบริการ การจาแนกตน้ ทุนตามความสาคญั และลกั ษณะของตน้ ทุนการผลิต
เราสามารถจาแนกได้ 3 ลกั ษณะ คือ

1) วตั ถดุ ิบทางตรง (Direct materials) หมายถึง วตั ถดุ ิบหลกั ที่ใชใ้ นการผลิตและ
สามารถระบุไดอ้ ย่างชดั เจนว่าใชใ้ นการผลิตสินคา้ ชนิดใดชนิดหน่ึงในปริมาณและตน้ ทุนเท่าใด
รวมท้งั จดั เป็นวตั ถุดิบส่วนใหญ่ท่ีใชใ้ นการผลิตสินคา้ ชนิดน้นั ๆ เช่น ไมแ้ ปรรูปจดั เป็น วตั ถุดิบ-
ทางตรงของการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ผ้าท่ีใช้ในอุตสาหกรรมเส้ือผ้า ยางดิบที่ใช้ในการผลิต
ยางรถยนตแ์ ร่เหลก็ ท่ีใชใ้ นอุตสาหกรรมถุงเหลก็ กระดาษที่ใชธ้ ุรกิจสิ่งพิมพ์ เป็นตน้

2) ค่าแรงงานทางตรง (Direct labor) หมายถึง ค่าแรงงานต่าง ๆ ท่ีจ่ายให้แก่
คนงานหรือลูกจา้ งท่ีทาหนา้ ที่เก่ียวกบั การผลิตสินคา้ สาเร็จรูปโดยตรง รวมท้งั เป้นค่าแรงงานที่มี
จานวนมากเม่ือเทียบค่าแรงงานทางออ้ มในการผลิตสินคา้ หน่วยหน่ึง ๆ และจดั เป็นค่าแรงงานส่วน
สาคัญในการแปรรูปวตั ถุดิบให้เป็ นสินคา้ สาเร็จรูป เช่น คนงานที่ทางานเกี่ยวกบั การควบคุม
เครื่องกลท่ีใชใ้ นการผลิต ก็ควรถือเป็นแรงงานทางตรง พนกั งานในสายการประกอบ เป็นตน้

3) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead) หมายถึง แหล่งรวบรวม
ค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตสินคา้ ซ่ึงนอกเหนือจากวตั ถดุ ิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง
เช่น วตั ถดุ ิบทางออ้ ม คา่ แรงงานทางออ้ ม คา่ ใชจ้ ่ายในการผลิตทางออ้ มอื่น ๆ ไดแ้ ก่ คา่ น้า ค่าไฟ
ค่าเช่า ค่าเสื่อมราคา ค่าประกันภาษี เป็ นต้น แต่อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายเหล่าน้ีก็จะต้องเป็ น
ค่าใชจ้ ่ายที่เกี่ยวกบั การดาเนินการผลิตในโรงงานเท่าน้ันไม่รวมถึงเงินเดือน ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า
คา่ เสื่อมราคา ที่เกิดข้นึ จากการดาเนินงานในสานกั งาน

6

2.1.2 การจาแนกตน้ ทุนตามความสัมพนั ธ์กบั ระดบั ของกิจกรรม
เป็ นการวิเคราะห์พฤติกรรมตน้ ทุนว่าผนั แปรตามปริมาณกิจกรรมที่ปรับสูงข้ึน

หรือลดลงหรือไม่ เช่น หน่วยสินคา้ ที่ผลิต จานวนชวั่ โมงเครื่องจกั ร เป็นตน้
ซ่ึงสามารถจาแนกตน้ ทนุ ประเภทน้ีไดเ้ ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่

1) ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) หมายถึง ต้นทุนที่จะมีต้นทุนรวม
เปลี่ยนแปลงไปตามสัดส่วนของการเปล่ียนแปลงในระดบั กิจกรรมหรือปริมาณการผลิตในขณะท่ี
ตน้ ทุนรวมต่อหน่วยจะคงที่เท่ากนั ทุก ๆ หน่วย โดยทวั่ ไปแลว้ ตน้ ทุนผนั แปรน้ีสามารถควบคุมได้
โดยแผนกหรือหน่วยงานท่ีทาให้เกิดตน้ ทุนผนั แปรน้นั ในเชิงการบริหารน้นั ตน้ ทุนผนั แปรจะเขา้
มามีบทบาทอยา่ งมาก เช่น การกาหนดราคาสินคา้ ของกิจการจะตอ้ งกาหนดใหค้ รอบคลุมท้งั ส่วน
ท่ีเป็นตน้ ทุนผนั แปร และตน้ ทุนคงที่ท้งั หมดในกรณีท่ีกิจการจะทาการผลิตและจาหน่ายสินคา้ ใน
ส่วนท่ีนอกเหนือจากกาลงั การผลิตปกติ แต่ไมเ่ กินท่ีต่ากวา่ ตน้ ทุนผนั แปรต่อหน่วย

2) ตน้ ทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึง ตน้ ทุนรวมท่ีมิไดเ้ ปลี่ยนแปลงไปตาม
ระดบั ของการผลิตในช่วงของการผลิตระดบั หน่ึง แต่ตน้ ทุนคงท่ีต่อหน่วยก็จะเปล่ียนแปลงในทาง
ลดลงถ้าปริมาณการผลิตเพิ่มมากข้ึน นอกจากน้ีตน้ ทุนคงท่ียงั แบ่งออกเป็ นต้นทุนคงที่อีก 2
ลกั ษณะ คือ ตน้ ทุนคงที่ระยะยาว (Committed Cost) เป็นตน้ ทุนคงท่ีท่ีไมส่ ามารถเปลี่ยนแปลงได้
ในระยะส้ัน เช่น สัญญาเช่าระยะยาว ค่าเสื่อมราคา เป็ นต้น และต้นทุนคงท่ีระยะส้ัน
(Discretionary Fixed Cost) จดั เป็นตน้ ทุนคงท่ีที่เกิดข้ึนเป็นคร้ังคราวจากการประชุมหรือตดั สิน
ในของผูบ้ ริหาร เช่น ค่าโฆษณา ค่าใช้จ่ายในการคน้ ควา้ และวิจยั เป็ นตน้ สาหรับในเชิงการ
บริหารแลว้ ตน้ ทุนคงที่ส่วนใหญม่ กั จะควบคมุ ไดด้ ว้ ยผบู้ ริหารระดบั สูงเท่าน้นั

3) ตน้ ทุนก่ึงผนั แปร (Semi variable cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีจะมีตน้ ทุนส่วน
หน่ึงคงท่ีทกุ ระดบั ของกิจกรรม และมีตน้ ทนุ อีกส่วนหน่ึงจะผนั แปรไปตามระดบั ของกิจกรรม เช่น
ค่าโทรศพั ท์ ค่าโทรสาร เป็นตน้ อยา่ งไรก็ตามในบางคร้ังก็เป็นการยากที่จะระบุไดว้ า่ ตน้ ทุนส่วน
ใดเป็ นตน้ ทุนผนั แปร ดังน้ัน จึงจาเป็ นตอ้ งใช้เทคนิคในการประมาณตน้ ทุนเขา้ มาช่วยในการ
วิเคราะห์ซ่ึงเทคนิคในการประมาณตน้ ทุนจะไดศ้ ึกษาต่อไปในส่วนของการบญั ชีตน้ ทุนท่ีเกี่ยวกบั
การใชข้ อ้ มลู เพื่อการตดั สินใจ

7

2.1.3 การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ที่งานหรือตามแผนกที่เกิดตน้ ทุน
การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ท่ีงานหรือตามที่เกิดตน้ ทุน เป็นการจาแนกโดยการพิจารณรา
ตน้ ทุนที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงานหรือปฏิบตั ิงานของหนา้ ท่ีงานฝ่ ายต่าง ๆ ของแต่ละแผนกท่ีทา
ตามงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย จึงแบ่งตน้ ทุนส่วนประกอบที่เก่ียวขอ้ งกับตน้ ทุนการผลิตสินคา้ กับ
ตน้ ทนุ ที่ไม่เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต

1) ตน้ ทุนการผลิต หมายถึง ตน้ ทุนที่เก่ียวกับการผลิตสินค้า เพ่ือแปรสภาพ
วตั ถุดิบให้เป็ นสินคา้ สาเร็จรูปออกมาเพื่อจาหน่ายซ่ึงก็คือต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต ซ่ึงผ่าน
กระบวนการผลิตเพอ่ื เป็นสินคา้ สาเร็จรูป หรือตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑน์ นั่ เอง

2) ตน้ ทนุ ท่ีเก่ียวกบั การตลาด (Marketing cost) หมายถึง ตน้ ทุนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกบั
การส่งเสริมการจาหน่ายสินคา้ หรือบริการ คา่ โฆษณา คา่ นายหนา้ พนกั งานขาย

3) ตน้ ทุนเก่ียวกบั การบริหาร (Administrative cost) ไดแ้ ก่ ตน้ ทุนที่เกิดข้ึนใน
ลกั ษณะท่ีเกี่ยวกบั การส่งั การควบคุม และการดาเนินงานของกิจการ นอกจากน้ียงั รวมถึงเงินเดือน
ของผบู้ ริหารและพนกั งานในแผนกตา่ ง ๆ ที่ไม่เกี่ยวกบั แผนกผลิต และแผนกขาย

4) ตน้ ทุนทางการเงิน (Financial costs) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนอนั เน่ืองมาจาก
การจดั หาเงินทุน หรือการบริหารเงินทนุ ของกิจการ เช่น ค่าดอกเบ้ีย ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เป็นตน้

2.1.4 การจาแนกตน้ ทนุ ตามงวดบญั ชีจากช่วงเวลาท่ีทากาไร
การจาแนกต้นทุนตามงวดบัญชีจากช่วงเวลาที่ทกาไร เป็ นการวดั ผลการดาเนินงาน
สาหรับงวดบญั ชีหน่ึง โดยเปรียบเทียบรายไดค้ า่ ใชจ้ ่ายของงวดบญั ชีเดียวกนั จึงตอ้ งมีการพจิ ารณา
วา่ ตน้ ทุนจานวนใดไดป้ ระโยชน์ และหากหมดประโยชน์ตอ้ งตดั เป็ นค่าใชจ้ ่ายประจางวดแต่หาก
จานวนใดยงั ไม่หมดประโยชน์ถือเป็ นสินทรัพยย์ กไปงวดหน้า จาแนกเป็ นตน้ ทุนผลิตภณั ฑ์และ
ตน้ ทุนตามงวดเวลา

1) ตน้ ทนั ผลิตภณั ฑ์ หมายถึง ตน้ ทุนท้งั หมดท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต ผลิตภณั ฑ์
ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม เป็นตน้ ทนุ ที่ใชแ้ ลว้ มิไดห้ มดไปแต่จะแสดงอยใู่ นรูปของตน้ ทุนการผลิต
หรือตน้ ทุนผลิตภณั ฑ์ ประกอบดว้ ยตน้ ทุนวตั ถดุ ิบทางตรง และตน้ ทุนค่าใชจ้ ่ายการผลิต

2) ตน้ ทนุ ตามงวดเวลา หมายถึง ตน้ ทุนที่ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การผลิตเป็นตน้ ทุนหรือ
คา่ ใชจ้ ่ายที่มิไดเ้ กิดข้ึน โดยตรงทางการผลิตสินคา้ เป็นตน้ ทุนท่ีใชแ้ ลว้ หมดไปในแต่ละงวด ตน้ ทุน
ส่วนน้ีจะถือเป็ นค่าใช้จ่ายเพ่ือนาไปหักออกจากรายได้กาไรสุทธิ เช่น เงินเดือน พนักงาน
คา่ โฆษณา ค่านายหนา้ คา่ ขนส่งสินคา้ และค่าเส่ือมราคา เป็นตน้

8

2.1.5 การจาแนกตน้ ทุนตามระยะเวลา
1) ตน้ ทุนในอดีต (Historical cost) หมายถึง ตน้ ทุนที่กิจการไดจ้ ่ายไปจริงตาม

หลกั ฐานอนั เท่ียงธรรมที่ปรากฎ จานวนเงินที่กิจการไดจ้ ่ายไปน้ันจึงถือเป็นมูลค่าหรือตน้ ทุนของ
สินค้าหรือสินทรัพยข์ องกิจการในอดีต แต่ต้นทุนในอดีตน้ีอาจจะไม่มีความเหมาะสมในการ
นามาใช้เพ่ือการตัดสินใจของฝ่ ายการบริหารในปัจจุบัน ท้งั น้ีเพราะค่าของเงินในอดีตกับใน
ปัจจุบนั ยอ่ มมีความแตกตา่ งอนั เน่ืองมาจากภาวะเงินเฟ้อ และความเจริญทางดา้ นเศรษฐกิจ

2) ตน้ ทุนทดแทน (Replacement cost) หมายถึง มูลค่า หรือราคาตลาดปัจจุบนั
ของสินทรัพยป์ ระเภทเดียวกนั กบั ท่ีกิจการใชอ้ ยกู่ ล่าวอีกนยั หน่ึงก็คือสินทรัพยท์ ี่กิจการเคยซ้ือมาใน
อดีตถา้ ตอ้ งการท่ีจะซ้ือใหม่ในขณะน้ีจะตอ้ งจ่ายเงินในจานวนเท่าไร ซ่ึงโดยปกติมูลค่าหรือราคา
ตน้ ทุนทดแทนย่อมมีมูลค่าสูงกว่าตน้ ทุนในอดีต ท้งั น้ีอาจจะเป็ นเพราะการเกิดภาวะเงินเฟ้อส่วน
หน่ึงและจากการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีของสินทรัพย์ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพการทางานท่ี
สูงข้ึนส่วนหน่ึง

3) ตน้ ทนุ ในอนาคต (Future cost) หมายถึง ตน้ ทนุ หรือคา่ ใชจ้ ่ายที่กิจการคาดวา่
จะเกิดข้ึนในอนาคต จากการตดั สินใจเรื่องใดเรื่องหน่ึงของผบู้ ริหาร ซ่ึงตน้ ทนุ ในอนาคตน้นั อาจจะ
ไดม้ าจากการประมาณการหรือการพยากรณ์เป็นไดบ้ ่อยคร้ังท่ีตน้ ทนุ ในอนาคตจะถกู นามาใชใ้ นการ
วางแผน ฉะน้นั การประมาณตน้ ทุนในอนาคตจึงตอ้ งทาดว้ ยความระมดั ระวงั และรอบคอบ

2.1.6 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตดั สินใจ
การจาแนกตน้ ทุนโดยวิธีน้ี เป็ นการจาแนกตน้ ทุนของการวิเคราะห์ตน้ ทุนตาม

ปัญหาที่เกิดข้ึนเพื่อการตดั สินใจ ซ่ึงเป็นหนา้ ที่ท่ีสาคญั อนั หน่ึงของผบู้ ริหาร คือ การตดั สินใจใน
การดาเนินงานของธุรกิจซ่ึงบางคร้ังอาจจะตอ้ งประสบปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนท้งั ปัญหาประจาวนั
หรือปัญหาเฉพาะหน้า ผูบ้ ริหารจาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลต้นทุนเป็ นเครื่องมือในการตดั สินใจเลือก
ทางเลือกที่ดีที่สุด ทาใหธ้ ุรกิจไดร้ ับประโยชน์สูงสุด ในบางกรณีจะตอ้ งคาดหวงั หรือตอ้ งปรับปรุง
ตน้ ทนุ ที่เกิดข้นึ ในอดีตมาปรับแกไ้ ขใหเ้ ขา้ กบั เหตกุ ารณ์ในปัจจุบนั และยงั ตอ้ งพจิ ารณาตน้ ทุนท่ีใช้
ในการตดั สินใจหรือต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือทางเลือกที่ผูบ้ ริหารจาเป็ นต้องพิจารณา
เพ่ือการตัดสินใจ จาแนกเป็ นต้นทุนส่วนต่าง ต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนที่หลี กเลี่ยงได้
และตน้ ทนุ จม

9

1) ตน้ ทุนส่วนต่าง หมายถึง ผลต่างของตน้ ทุนรวมระหว่างสองทางเลือกหรือ
ตน้ ทุนท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากตน้ ทุนเดิมตามแบบที่เคยปฏิบตั ิ โดยเปรียบเทียบกบั ทางเลือกอื่น ๆ
เน่ิองจากการตดั สินใจ กระทาแทนการดาเนินการ ดว้ ยการเพิ่มลดหรือเปล่ียนแปลงวิธีการใหม่ ๆ
อาจจะมีผลทาใหธ้ ุรกิจมีผลกาไรเพ่ิมข้ึน จึงเป็นตน้ ทุนท่ีใชว้ ิเคราะห์การเลือกปฏิบตั ิวิธีการเดิมกบั
วิธีการใหม่ หากตน้ ทุนหรือรายไดม้ ีควมแตกต่างกนั ตน้ ทนุ ส่วนต่างที่จะช่วยใหผ้ บู้ ริหารใชใ้ นการ
ตดั สินใจเลือกการผลิตท่ีมีหลายทางเลือก โดยสนใจเฉพาะตน้ ทุนท่ีมีส่วนต่างเทา่ น้นั ส่วนตน้ ทุนที่
เหมือนกนั ก็ไม่สนใจพิจารณานามาตดั สินใจ ตน้ ทุนที่ไม่แตกต่างระหวา่ งทางเลือกจะเป็นตน้ ทนุ ที่
ไม่มีความหมายต่อการตดั สินใจเลือกทางเลือกน้นั ๆ

2) ตน้ ทุนค่าเสียโอกาส หมายถึง รายไดห้ รือประโยชน์ที่ไม่ไดเ้ กิดจากทางเลือก
ใดทางเลือกหน่ึง และปฏิเสธทางเลือกอีกทางหน่ึง ทาใหส้ ูญเสียรายไดท้ ่ีควรจะไดร้ ับจากทางเลือก
ท่ีไม่ไดเ้ ลือก โดยปกติตน้ ทุนค่าเสียโอกาสจะไม่มีการบนั ทึกบญั ชีลงบญั ชีของกิจการ เพราะมิได้
เป็นตน้ ทนุ ท่ีเกิดข้ึนจริง แต่เป็นตน้ ทุนที่สมมติข้นึ เพอ่ื ใชใ้ นการตดั สินใจ

3) ตน้ ทนุ ท่ีหลีกเล่ียงได้ หมายถึง ตร้ ทุนที่สามารถหลีกเล่ียงได้ จากการลดระดบั
กิจกรรมหรือหยุดกิจกรม และสามารถประหยดั ไดจ้ ากการตดั สินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหน่ึง
ซ่ึงหากยกเลิกหรือหยุดกิจกรรมใดแลว้ สามารถยกเลิกตน้ ทุนน้ันได้ และตน้ ทุนจะเพิ่มข้ึนเม่ือ
กิจกรรมเพิม่ ข้นึ

4) ตน้ ทุนจม หมายถึง ตน้ ทุนที่เกิดข้ึนเนื่องมาจากผลการตดั สินใจอดีต ไม่มีผล
ต่อการตดั สินใจในปัจจุบนั และอนาคตไม่สามรถนามาพิจารณาในการตดั สินใจ ตน้ ทุนจมเป็ น
ตน้ ทุนที่เกิดข้ึนแลว้ จะไม่เปล่ียนแปลงไม่วา่ การตดั สินใจจะเป็นอยา่ งไร ท้งั ในปัจจุบนั หรืออนาคต
ส่วนใหญ่จะเป็ นการลงทุนในสินทรัพยถ์ าวร เช่น บริษทั ไดต้ ดั สินใจซ้ือเครื่องจกั รเมท่อ 5 ปี
ก่อน แต่หลงั จากซ้ือแลว้ ก็มาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ค่าเครื่องจกั รที่ซ้ือจะกลายเนตน้ ทุนทันที
ถึงแมว้ ่าตน้ ทุนจมจะไม่มีผลต่อการตดั สินใจในปัจจุบนั แต่ควรตดั สินใจเลือกทางที่สามารถใช้
ประโยชน์จากตน้ ทุนไดม้ ากท่ีสุด

2.1.7 การจาแนกตน้ ทนุ ตามลกั ษณะของความรับผิดชอบ
1) ตน้ ทุนท่ีควบคุมได้ (Controllable cost) หมายถึง ตน้ ทุน หรือ ค่าใช้จ่ายท่ี

สามารถระบุหรือกาหนดไดว้ ่า หน่วยงานใดหรือบุคคลใดบุคคลหน่ึงเป็ นผูร้ ับผิดชอบโดยตรง
กล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือ มีอานาจ มีหนา้ ท่ี หรือมีความสามารถท่ีจะทาให้ตน้ ทุนจานวนน้นั เพิ่มขน้
หรือลดลงจากการตดั สินใจของตน ซ่ึงถ้าจะพิจารณาให้มากข้ึนก็พอที่จะสรุปได้ว่า ตน้ ทุนที่

10

ควบคุมได้ในหน่วยงานหรื อผูบ้ ริหารคนใดคนหน่ึง ก็อาจจะเป็ นตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ได้ในอีก
หน่วยงานหรือผบู้ ริหารอีกคนหน่ึงกไ็ ด้

2) ตน้ ทุนที่ควบคุมไมไ่ ด้ (Uncontrollable cost) หมายถึง ตน้ ทุน หรือค่าใชจ้ ่าย
ท่ีไม่อยู่ภายใตอ้ านาจหน้าท่ี ที่หน่วยงานหรือผูบ้ ริหารในระดบั น้ันๆ จะควบคุมไวไ้ ด้ น่ันคือ
สามารถท่ีจะกาหนดตน้ ทุนประเภทน้ีให้เพิ่มข้ึนหรือลดลงได้ โดยปกติตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ไดข้ อง
ผบู้ ริหารระดบั ล่างกม็ กั จะเกิดจากการตดั สินใจของผบู้ ริหารระดบั สูงนน่ั เอง

2.2 ความรู้เกยี่ วกบั ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

จากสภาวะสังคมในปัจจุบนั ที่เต็มไปดว้ ยกระแสวตั ถุนิยม และความฟ่ ุมเฟื อย ฟุ้งเฟ้อ
จนทาให้คนไทยหลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินท่ี
ไม่มีวนั จบสิ้น อย่างไรก็ตามคนไทยยงั มีทางออก ซ่ึงการจะดารงชีวิตให้อยู่รอดภายใตส้ ังคมใน
ปัจจุบนั แนวทางหน่ึงที่ประชาชนไทยควรยดึ ถือ คือการพ่ึงตนเอง รู้จกั ความพอประมาณ และไม่
ประมาท ตามแนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ที่ทรงมองเห็น
ถึงความสาคญั ของการสร้างภมู ิคมุ้ กนั ใหก้ บั ตวั เอง รู้จกั ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึงหลกั
เหตผุ ลและการประมาณตนเอง พร้อมกบั ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ใหป้ ระมาท โดยเฉพาะ
การใชจ้ ่ายเงินอนั เป็นปัจจยั สาคญั ในการดาเนินชีวิต

การทาบญั ชี คือ การจดบนั ทึก ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เงื่อนไขปัจจยั ในการดารงชีวิตของตวั เอง
และภายในครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการบนั ทึกจะเป็นตวั บ่งช้ีอดีตปัจจุบนั
และอนาคตของชีวิตของตัวเอง สามารถนาขอ้ มูลอดีตมาบอกปัจจุบัน และอนาคตไดข้ ้อมูลที่
บนั ทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวติ และกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตในครอบครัว

บญั ชีครัวเรือน มิไดห้ มายถึง การทาบญั ชีหรือบนั ทึกรายรับรายจ่ายประจาวนั เทา่ น้นั แต่
อาจหมายถึงการบนั ทึกขอ้ มลู ดา้ นอื่น ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นตน้ ของเราไดด้ ว้ ย เช่น บญั ชี
ทรัพยส์ ิน พนั ธุ์พืช พนั ธุ์ไม้ ในบา้ นเราในชุมชนเรา บญั ชีความรู้ความคิดของเรา บญั ชีผทู้ รงคุณ
ผูร้ ู้ในชุมชนเรา บัญชีเด็กและเยาวชนของเรา บัญชีภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ ของเรา เป็ นต้น
หมายความวา่ สิ่งหรือเร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวิตของเรา เราจดบนั ทึกไดท้ ุกเร่ือง หากประชาชนทุก
คนจดบันทึกจะมีประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ จะเป็ นแหล่งเรียนรู้
ครอบครัวเรียนรู้ ชุมชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรู้การเรียนรู้เป็นที่มาของปัญญา ปัญญาเป็นที่มา
ของความเจริญท้งั กาย สังคม ใจ และจิตวิญญาณของมนุษยจ์ ะเห็นว่า การทาบญั ชี หรือการจด

11

บนั ทึกน้ีสาคญั ย่ิงใหญ่มาก บุคคลสาคญั ในประเทศหลายท่านเป็ นตวั อย่างที่ดีของการจดบันทึก
เช่น ท่านพุทธทาส ในหลวง และสมเด็จพระเทพ ลว้ นเป็นนกั บนั ทึกท้งั สิ้น การบนั ทึก คือ การ
เขียน เมื่อมีการเขียนย่อมมีการคิด เม่ือมีการคิดย่อมก่อปัญญา แก้ไขปัญหาได้โดยใช้เหตุผล
วเิ คราะห์พจิ ารณา ไดถ้ ูกตอ้ ง นนั่ คอื ทางเจริญของมนุษย์

การทาบญั ชีครัวเรือนในด้านเศรษฐกิจ หรือการบันทึกรายรับ-รายจ่ายที่ทางราชการ
พยายามส่งเสริมใหป้ ระชาชนไดท้ ากนั น้นั เป็นเร่ืองการบนั ทึกรายรับ-รายจ่ายประจาวนั ประจาเดือน
ว่า มีรายรับจากแหล่งใดบ้าง จานวนเท่าใด มีรายจ่ายอะไรบา้ ง จานวนเท่าใด ในแต่ละวนั
สัปดาห์ เดือน และ ปี เพ่ือจะไดเ้ ห็นภาพรวมว่า ตนเองและครอบครัวมีรายรับเท่าใด รายจ่าย-
เท่าใด คงเหลือเท่าใด หรือ เงินไม่พอใชเ้ ท่าใด คือ รายจ่ายมากกวา่ รายรับ และสารวจวา่ รายการ
ใดจ่ายนอ้ ยจ่ายมาก จาเป็นนอ้ ยจาเป็นมาก จาเป็นนอ้ ย อาจลดล ง จ่ายเฉพาะที่จาเป็นมาก เช่น ซ้ือ
กบั ขา้ ว ซ้ือยา ซ้ือเส้ือผา้ ซ่อมแซมบา้ น การศึกษา เป็นตน้ ส่วนรายจ่ายท่ีไม่จาเป็นใหล้ ด ละ เลิก
เช่น ซ้ือบุหรี่ ซ้ือเหลา้ เล่นการพนัน เป็ นตน้ เม่ือนารายรับ-รายจ่าย มาบวกลบกนั แลว้ ขาดดุล
เกินดุลไปเท่าใด เม่ือเห็นตวั เลข จะทาให้เราคิดไดว้ า่ สิ่งไม่จาเป็นน้นั มีมากหรือนอ้ ยสามารถลดได้
หรือไม่ เลิกไดไ้ หม ถา้ ไม่ลดไม่เลิกจะเกิดอะไร กบั ตวั เอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ หาก
เราวางแผนการรับการจ่ายเงินของตนเองได้ เท่ากบั ว่า รู้จกั ความเป็นคนไดพ้ ฒั นาตนเอง ใหเ้ ป็ น
คนมีเหตุมีผล เป็ นคนรู้จักพอประมาณ เป็ นคนรักตนเอง รักครอบครัว รักชุมชน และ
รักประเทศชาติมากข้ึนจึงเห็นไดว้ า่ การทาบญั ชีครัวเรือน ในเรื่องรายรับรายจ่าย ก็คือวิถีแห่งการ
เรียนรู้เพ่ือพฒั นาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นนั่ เอง เพราะปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ
ปรัชญาชีวิตท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม พอดี สอดคลอ้ งถูกตอ้ งตามกฎธรรมชาติที่มีท้งั ความเป็ นเอกภาพ
และดุลยภาพอยเู่ สมอ

การทาบัญชีครัวเรือนเป็ นการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายประจาวนั ของครัวเรือน และ
สามารถนาข้อมูลมาวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ทาให้เกิดการออม
การใชจ้ ่ายเงินอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า ไม่ฟ่ มุ เฟื อย ดงั น้นั การทาบญั ชีชีครัวเรือนมีความสาคญั ดงั น้ี

2.2.1 ทาใหต้ นเองและครอบครัวทราบรายรับ-รายจ่าย หน้ีสิน และเงินคงเหลือในแต่ละ
วนั รายรับ หรือ รายได้ คือ เงิน หรือสินทรัพยท์ ี่วดั มูลค่าได้ ที่ไดร้ ับจากการประกอบอาชีพ
หรือผลตอบแทนท่ีไดร้ ับจากการให้ผอู้ ื่นใชส้ ินทรัพย์ หรือ ผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น รายไดจ้ ากค่าจา้ งแรงงาน เงินเดือน ดอกเบ้ียรับจากเงินฝากธนาคาร หรือ จากเงินให้
กูย้ มื รายไดจ้ ากการขายสินคา้ หรือบริการ เป็นตน้ รายจ่าย หรือ คา่ ใชจ้ ่าย คือ เงิน หรือสินทรัพย์

12

ที่วดั มูลค่าได้ ที่จ่ายออกไปเพื่อให้ไดส้ ิ่งตอบแทนกลบั มา สิ่งตอบแทนอาจเป็ นสินคา้ หรือบริการ
เช่น คา่ อาหาร ค่าน้าค่าไฟฟ้า (ค่าสาธารณูปโภค) คา่ น้ามนั ค่าหนงั สือตารา เป็นตน้ หรือรายจ่าย
อาจไม่ได้รับสิ่งตอบแทนคือสินค้าหรือบริการก็ได้ เช่น เงินบริจาคเพื่อการกุศล เงินทาบุญ
ทอดกฐิน ทอดผา้ ป่ า เป็นตน้ หน้ีสิน คือ ภาระผกู พนั ที่ตอ้ งชดใชค้ ืนในอนาคต การชดใชอ้ าจจ่าย
เป็ นเงินหรือของมีค่าท่ีครอบครัวหรือตนเองมีอยู่ หน้ีสินเป็ น เงินหรือส่ิงของท่ีมีค่าที่ครอบครัว
หรือตนเองไดร้ ับมาจากบคุ คลหรือแหล่งเงินภายนอก เช่น การกูย้ มื เงินจากเพอื่ นบา้ น การกูย้ มื เงิน
จากกองทุนต่าง ๆ การซ้ือสินคา้ หรือบริการเป็นเงินเชื่อ การซ้ือสินทรัพยเ์ ป็นเงินผ่อนชาระ หรือ
การเช่าซ้ือ เป็นตน้ เงินคงเหลือ คือ เงิน หรือ ทรัพยส์ ินที่วดั มูลคา่ ได้ หลงั จากนารายรับลบดว้ ย
รายจ่ายแลว้ ปรากฏรายรับมากกว่ารายจ่ายจะทาให้มีเงินคงเหลือ หรือในหลกั ทางบญั ชีเรียกว่า
กาไร แต่หากหลงั จากนารายรับลบดว้ ยรายจ่ายแลว้ ปรากฏว่ารายจ่ายมากกว่ารายรับจะทาให้เงิน
คงเหลือติดลบหรือทางบญั ชีเรียกวา่ ขาดทุน นนั่ เอง

2.2.2 นาขอ้ มูลการใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจดั เรียงลาดบั ความสาคญั ของรายจ่าย
และวางแผนการใชจ้ ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวนั มีรายจ่ายใดที่มีความสาคญั มาก
และรายจ่ายใดไม่จาเป็นใหต้ ดั ออก เพอื่ ใหก้ ารใชจ้ ่ายเงินภายในครอบครัวมีพอใชแ้ ละเหลือเก็บเพื่อ
การออมทรัพยส์ าหรับใชจ้ ่ายสิ่งท่ีจาเป็นในอนาคต บญั ชีครัวเรือนถือเป็นส่วนสาคญั ในการปฏิบตั ิ
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยยดึ หลกั 3 ขอ้ คือ การพอประมาณ ถา้ รู้รายรับรายจ่าย ก็จะใชแ้ บบ
พอประมาณ แต่ มีเหตุผล รู้วา่ รายจ่ายใดจาเป็นไม่จาเป็น และเม่ือเหลือจากใชจ้ ่ายก็เกบ็ ออม นน่ั
คือภูมิคุม้ กนั ท่ีเอาไวค้ ุม้ กนั ตวั เราและครอบครัว บญั ชีครัวเรือนสามารถจดั ได้หมด จึงนบั ว่ามี
ประโยชน์มาก ขอ้ ควรระวงั ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน คือ ลืมบนั ทึกบญั ชี ทาให้ขาดความ
ต่อเนื่องในการบนั ทึก และส่งผลให้ไม่อยากบนั ทึก ผูจ้ ดั ทาเขา้ ใจผิดในรายการบญั ชี ไม่เขา้ ใจ
รายการท่ีเป็นรายรับ จึงไมไ่ ดบ้ นั ทึกบญั ชี เช่น ลกู ส่งเงินมาใหพ้ ่อแม่สาหรับใชจ้ ่ายทุกวนั สิ้นเดือน
แต่พ่อแม่ไม่ไดบ้ นั ทึกบญั ชีรายรับเนื่องจากเขา้ ใจว่าเงินที่ได้รับมาน้ันมิไดเ้ กิดจากการประกอบ
อาชีพของตนเองหรือ เขา้ ใจผิดรายการหน้ีสินแต่บนั ทึกว่าเป็นรายรับ ทาใหม้ ิไดเ้ กบ็ เงินไวส้ าหรับ
จ่ายชาระหน้ีในอนาคต เช่น ยมื เงินจากเพื่อนบา้ นมาใชจ้ ่ายภายในครอบครัว ถึงแมจ้ ะไดร้ ับเงินมา
แต่รายการดงั กล่าวไม่ถือว่าเป็นรายรับเนื่องจากตนเองมีภาระผูกพนั ที่ตอ้ งชดใชใ้ นอนาคต ซ่ึงอาจ
ตอ้ งชดใชเ้ งินตน้ พร้อมดว้ ยดอกเบ้ียดว้ ย จากสาเหตุดงั กล่าวอาจทาให้ครอบครัววางแผนการใช้
จ่ายเงินผดิ พลาด ส่วนขอ้ ผิดพลาดอีกประการหน่ึงคือ การเขยี นชื่อรายการผิด การบนั ทึกตวั เลขผิด
การบวกหรือการลบจานวนเงินผิดอาจเกิดจากการลืมจดบนั ทึกรายการบญั ชี หรือบนั ทึกรายการ
ซ้าๆ กนั หลายรายการ ปัญหาดงั กล่าวแกไ้ ขโดยการคานวณจานวนเงินกระทบยอดเงินคงเหลือใน

13

บญั ชีกบั ยอดเงินฝากธนาคารท่ีครอบครัวมีอยู่จริง หรือยอดเงินท่ีเก็บไวส้ าหรับใช้จ่ายจริง หาก
พบว่ายอดเงินคงเหลือในบญั ชีเท่ากบั ยอดเงินคงเหลือในบญั ชีเงินฝากธนาคาร แสดงวา่ การจดั ทา
บญั ชีถูกตอ้ ง แต่หากกระทบยอดแลว้ ยอดเงินท้งั สองไม่เท่ากนั อาจเกิดจากการบนั ทึกบญั ชีผิดพลาด
หรือเงินสดของครอบครัวสูญหาย การวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมระหว่างรายรับและ
รายจ่าย ครอบครัวตอ้ งมีรายรับมากกวา่ รายจ่าย หากพบวา่ รายรับนอ้ ยกวา่ รายจ่าย ตอ้ งหาแนวทาง
นาเงินมาใช้จ่ายให้เพียงพอ โดยอาจตอ้ งกูย้ ืมเงินมาใช้จ่าย แต่การกูย้ ืมเงินไม่ใช่แนวทางแกไ้ ข
ปัญหาดงั กลา่ วได้ เพียงแตช่ ่วยใหก้ ารใชจ้ ่ายมีสภาพคล่องชวั่ ขณะเท่าน้นั และในระยะยาวยงั ส่งผล
ใหค้ รอบครัวมีภาระหน้ีสินจานวนมาท้งั เงินตน้ และดอกเบ้ียซ่ึงจะเพิ่มจานวนมากข้ึนตามระยะเวลา
ท่ียาวนานในการกูย้ มื เงิน เป็นปัญหาท่ีแกไ้ ขไดย้ าก สาหรับการแกไ้ ขปัญหาการขาดสภาพคลอ่ งใน
การใชจ้ ่ายเงินหรือปัญหารายรับไม่เพียงพอกบั รายจ่ายน้นั มีแนวทางดงั น้ี

1) การตดั รายจ่ายที่ไม่จาเป็ นออก เพื่อลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัว เช่น
รายจ่ายเกี่ยวกบั การพนนั สิ่งเสพติดของมึนเมา รายจ่ายฟ่ ุมเฟื อย เป็นตน้ เป็นการสร้างนิสัยมิใหใ้ ช้
จ่ายฟ่ ุมเฟื อย

2) การลดรายจ่ายท่ีจาเป็นลง เพอ่ื สร้างนิสยั การประหยดั อดออม การใชท้ รัพยากรท่ี
มีอยจู่ ากดั อยา่ งคุม้ คา่ เช่น การปลกู ผกั ผลไมไ้ วร้ ับประทานเอง เพอ่ื ช่วยลดคา่ อาหาร และค่าเดินทาง
ไปตลาด อีกท้งั ทาใหส้ ุขภาพดีอีกดว้ ย ลดการใชน้ ้ามนั เช้ือเพลิงแลว้ หันมาออกกาลงั กายโดยการปั่น
จกั รยาน หรือ การเดิน การวงิ่ แทนการขบั รถจกั รยานยนต์ หรือรถยนต์ เป็นตน้

3) การเพิ่มรายรับ หารายไดเ้ สริมนอกเวลาทางานปกติ เช่น การใช้เวลาวา่ งรับจา้ ง
ตดั เยบ็ เส้ือผา้ การขายอาหารหลงั เลิกงาน การปลกู ผกั หรือเล้ียงสัตวไ์ วข้ าย เป็นตน้

4) การทาความเขา้ ใจกนั ภายในครอบครัวเพื่อใหท้ ุกคนร่วมมือกนั ประหยดั รู้จกั อดออม
การใชท้ รัพยากรต่างๆ ลด ละ เลิก รายจ่ายหรือส่ิงท่ีไม่จาเป็ น และช่วยกนั สร้างรายรับให้เพียงพอ
เหมาะสมกบั เศรษฐกิจปัจจุบนั

2.3 สภาพทว่ั ไปของชุมชน หมู่ที่ 11 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก จังหวดั พจิ ิตร

ตาบลบางไผ่ เดิมสภาพพ้ืนท่ีเป็นป่ าไมเ้ บญจพรรณอยู่ริมแม่น้าน่าน ซ่ึงเป็นสายสาคญั
ท่ีหล่อเล้ียงประชาชน มีป่ าไผ่มากบงั สายตาคนที่เดินทางตามแม่น้า จึงเรียกว่า “บา้ นบงั ไพร”
จนกระทง่ั มีคนชื่อเลิก มาต้งั รกรากเป็นคนแรก และเม่ือคนช่ือเลิก เสียชีวิตลงประชาชนจึงเรียกวา่
“บา้ นวงั ตาเลิก” และต่อมาขุนไผ่ ภูมิเขต เป็ นกานัน จึงเปลี่ยนชื่อหมู่บา้ นเป็ น “บา้ นบางไผ่”
และไดน้ าชื่อบา้ นบางไผ่

14

ส ภาพพ้ืนท่ี ส่ วนใ หญ่เป็ นที่ ราบ จานวนครัวเรื อนท่ีมีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต.
จานวน 1,569 ครัวเรือน จานวนบ้านที่มีโทรศัพท์ 304 หลังคาเรือน คิดเป็ นร้อยละ 19.38
ของจานวนหลงั คาเรือน ทิศเหนือ ติดกบั ตาบลไทรโรงโขน, ตาบลไผ่หลวง อาเภอตะพานหิน
จงั หวดั พิจิตร ทิศใต้ ติดกบั ตาบลหอไกร อาเภอบางมูลนาก จงั หวดั พิจิตร ทิศตะวนั ออก ติดกบั
ตาบลลาประดา อาเภอบางมูลนาก จงั หวดั พิจิตร ทิศตะวนั ตก ติดกบั คลองคูณ อาเภอตะพานหิน
จงั หวดั พิจิตร

2.4 งานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง

อญั ญเรศ ชมสวรรค.์ (2554). ไดศ้ ึกษา และจดั ทา โครงการพฒั นาระบบบญั ชีครัวเรือน
เพื่อส่งเสริมการบริหารทางการเงินให้แก่นักเรียนนักศึกษาโรงเรียน บา้ นแม่โจ้ จ.เชียงใหม่
มีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการรวมท้งั สิ้น 20 คน โดยมงุ่ ใหม้ ีความเขา้ ใจถึงระบบบญั ชีครัวเรือน การบนั ทึก
บญั ชีครัวเรือน และการสรุปยอดรายรับ - รายจ่ายในแต่ละวนั ผลสมั ฤทธ์ิร้อยละ 57 ของผเู้ ขา้ ร่วม
โครงการมีความเขา้ ใจในการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย และร้อยละ 60 มีระบบการจดั การดา้ น
การเงินอยา่ งมน่ั คงและมีประสิทธิภาพ ขอ้ เสนอแนะ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเสนอแนะใหผ้ จู้ ดั โครงการ
ให้คาแนะนาเกี่ยวกบั การวางแผนการเงินท่ีหลากหลายมากกว่าการจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
และควรเพ่ิมเวลาในการให้คาแนะนา เพี่อให้ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการสามารถเขา้ ใจรายละเอียดต่าง ๆ
เพม่ิ มากข้นึ

สุภาวดี รัตนวิเศษ. (2555). ได้จดั ทาโครงการคนรุ่นใหม่ใส่ใจบญั ชีครัวเรือนโดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ในการจัดทาบัญชีครัวเรือน เพ่ือให้เกษตรกรมีการจัดทา -
บญั ชีครัวเรือนเพิ่มข้ึน โดยมีกลุ่มตวั อย่างคือชาวบา้ นหมู่บา้ นหนองหัวฟาน ต.หนองหัวฟาน
อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา จานวน 60 คน ผลสัมฤทธ์ิเกษตรกรมีความพึงพอใจท่ีไดร้ ับ
ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน เน่ืองจากทาให้ทราบว่าในแต่ละวนั ตนเองมีการใช้จ่ายอย่างไร
บา้ ง และเล็งเห็นปแระโยชน์ของการจดั ทาบญั ชีเพิ่มมากข้ึน ขอ้ เสนอแนะ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ
เสนอแนะให้มีการจดั ทาครัวเรือนในรูปแบบใหม่ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจในการจดั ทารวมท้งั สื่อ
การใหค้ วามรู้ควรเป็นสื่อที่ดูงา่ ยและใชค้ าพูดที่เขา้ ใจง่าย

อรทยั ดุษฎีดาเกิง. (2557). ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั ทศั นคติในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน ของ
เกษตรกรลูกคา้ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขต อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพการจัดทาบัญชีครัวเรือน และทัศนคติต่อการจัดทาบัญชี

15

ครัวเรือน ซ่ึงมีกลุ่มตวั อย่างคือเกษตรกรท่ีเขา้ ร่วมโครงการครอบครัวเกษตรกรไทยร่วมใจทาบญั ชี
ครัวเรือน ใน จ.เชียงใหม่ จานวน 2908 หลงั คาเรือน ผลสมั ฤทธ์ิผวู้ ิจยั พบวา่ เกษตรกรมีทศั นคติที่
ดีต่อการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน และทราบถึงประโยชน์ของการจดั ทาแต่ยงั พบปัญหาว่าเกษตรขาด
ความรู้ความเขา้ ใจเรื่องการทาบญั ชีครัวเรือน และมีการกินที่ตอ้ งรับผิดชอบในแตล่ ะวนั มาก ทาให้
ไม่สามารถจดบนั ทึกบญั ชีไดอ้ ยา่ งสม่าเสมอรวมถึงขาดแหลง่ ขอ้ มูลจากภาครัฐและเอกชนเพื่อศึกษา
เพิ่มเติมเกี่ยวกบั การจดั ทาบญั ชีและคิดว่าการจดั ทาบญั ชีเป็ นเรื่องยุง่ ยากและเสียเวลาขอ้ เสนอแนะ
เกษตรกรกลมุ่ ตวั อยา่ งตอ้ งการใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีใหเ้ ขา้ มาใหค้ วามรู้และคาแนะนารวมถึงการจดั ฝึกอบรม
อยา่ งตอ่ เน่ืองและใกลช้ ิดเพ่อื ช่วยแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ที่พบระหวา่ งการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน

ณัฐภทั ร คาสิงห์วงษ์. (2558). ไดศ้ ึกษาการวางแผนชาระหน้ีของเกษตรกรรายย่อยด้วย
บญั ชีครัวเรือนกรณีศึกษาลูกคา้ เกษตรกรธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขายาง
หล่อ อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบวั ลาภู เพื่อศึกษารูปแบบการจดั ทาบญั ชีครัวเรือนของลูกคา้ ธ.ก.ส.
ที่เป็ นเกษตรกรจานวน 1756 ครัวเรือน ผลสัมฤทธ์ิผูว้ ิจยั พบว่าลูกคา้ เกษตรกรมีการจดั ทาบญั ชี
ครัวเรือน 3 รูปแบบ 1. การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน 2 -3 วนั คร้ัง (ร้อยละ58) 2. จดั ทาบัญชี
ครัวเรือนเป็นประจาทุกวนั (ร้อยละ19) และ 3. จดั ทาบญั ชีครัวเรือนทุกสปั ดาห์ (16) ขอ้ เสนอแนะ
ดา้ นปัญหาอุปสรรคในการวางแผนทางการเงินดว้ ยบญั ชีครัวเรือนของลูกคา้ เกษตรกร คือ การทา
บญั ชีครัวเรือนทาใหเ้ สียเวลาและมีความยงุ่ ยากและการไม่สามารถบนั ทึกรายการไดเ้ นื่องจากการมี
ปัญหาในเรื่องการเขียนหนงั สือ ดงั น้ันเจา้ หน้าที่ ธ.ก.ส. ควรเขา้ ไปให้ความรู้และให้คาแนะนา
เกี่ยวกบั การจดั ทาบญั ชีครัวเรือนอยา่ งสม่าเสมอเพื่อกระตุน้ ให้ลูกคา้ เกษตรกรจดั ทาบญั ชีครัวเรือน
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและตอ่ เน่ือง

ปัทมาภรณ์ แลบัว. (2555). ได้จัดทา “โครงการคนรุ่นใหม่ใส่ใจบัญชีครัวเรือน”
โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเผยแพร่ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน เพอื่ ใหเ้ กษตรกรมีการจดั ทาบญั ชี
ครัวเรื อนเพิ่มข้ึน โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือชาวบ้านหมู่บ้านหนองหัวฟาน ต.หนองหัวฟาน
อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา จานวน 60 คน ผลสัมฤทธ์ิ เกษตรกรมีความพึงพอใจที่ได้รับ
ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน เน่ืองจากทาให้ทราบว่าในแต่ละวนั ตนเองมีการใชจ้ ่ายอย่างไร
บา้ ง และเล็งเห็นประโยชน์ของการจัดทาบัญชีเพิ่มมากข้ึน ข้อเสนอแนะ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ
เสนอแนะให้มีการจดั ทาครัวเรือนในรูปแบบใหม่ เพ่ือเพิ่มความน่าสนใจในการจดั ทารวมท้งั ส่ือ
การใหค้ วามรู้ควรเป็นส่ือที่ดูง่ายและใชค้ าพูดที่เขา้ ใจงา่ ย

บทที่ 3

วิธีการดาเนินงาน

การดาเนินงานการศึกษาคร้ังน้ี เพ่ือจัดทาโครงการให้บริการความรู้จัดทาบัญชี
รายรับ – รายจ่ายสู่ผจู้ าหน่ายก๋วยเต๋ียวเรือ ซ่ึงผจู้ ดั ทาโครงการไดด้ าเนินการศึกษาตามลาดบั ข้นั ตอน
ดงั น้ี

3.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการศึกษา
3.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา
3.3 วธิ ีดาเนินการศึกษา
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

3.1 กลุ่มเป้าหมายท่ใี ช้ในการศึกษา

กลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศึกษาและบริการให้ความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
ให้แก่ร้าน นางสาวอรอุมา ประยูรคา บา้ นเลขท่ี 14/4 หมู่ที่ 11 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก
จงั หวดั พิจิตร

3.2 เครื่องมือท่ใี ช้ในการศึกษา

3.2.1 แบบฟอร์มสมุดบญั ชี
3.2.2 งบรายรับ - รายจ่าย
3.2.3 สรุป

3.3 วิธกี ารดาเนินการศึกษา

3.3.1 ขอคาแนะนาจากอาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงการ
3.3.2 คดั เลือกหัวขอ้ โครงการที่น่าสนใจศึกษา คณะผูจ้ ดั ทาโครงการตดั สินใจเลือก
หัวขอ้ โครงการบริการความรู้จดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายคณะผูจ้ ดั ทาโครงการควรพิจารณา
องคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี

17

1) ตอ้ งมีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานอยา่ งเพียงพอในหวั ขอ้ เร่ืองท่ีจะศึกษา
2) สามารถจดั ทาแบบฟอร์มบญั ชีรายรับ - รายจ่ายและขอ้ มลู ที่เกี่ยวขอ้ งได้
3) มีแหลง่ ความรู้ที่จะคน้ ควา้ หรือขอคาปรึกษา
4) มีงบประมาณเพียงพอ
5) มีทกั ษะการสอนจดั ทาบญั ชีท่ีเขา้ ใจงา่ ย
3.3.3 ประชุมกลุม่ โครงการ (เลือกหวั หนา้ กลุ่มโครงการ)
3.3.4 ศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งเอกสารและแหล่งขอ้ มลู
การศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสารและแหล่งขอ้ มลู ซ่ึงรวมถึงการขอคาปรึกษาจากคณะ
อาจารยป์ ระจาวิชาและอาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการ จะช่วยใหไ้ ดแ้ นวคดิ ท่ีใชใ้ นการกาหนด ขอบเขต
ของเรื่องท่ีจะปรึกษาไดเ้ ฉพาะเจาะจงมากย่ิงข้ึน รวมท้งั ไดค้ วามรู้เพ่ิมเติมในเรื่องที่จะปรึกษา จน
สามารถชิออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงการน้นั ได้
3.3.5 จดั ทาเคา้ โครงของโครงงานท่ีจะทา มีรายละเอียดดงั น้ี
1) ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารอา้ งอิงและรวบรวมขอ้ มลู
2) วเิ คราะห์ขอ้ มูล เพือ่ กาหนดขอบเขตและลกั ษณะของโครงการท่ีจะพฒั นา
3) ทาการพฒั นาโครงการข้นั ตน้ เพ่ือศึกษาความเป็นไปไดเ้ บ้ืองตน้ โดยอาจจะทา
การพฒั นาส่วนยอ่ ย ๆ บางส่วนตามที่ไดอ้ อกแบบ
4) เสนอเคา้ โครงของโครงการบริการใหค้ วามรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
ของกิจการร้านของนางสาวอรอุมา ประยูรคา ต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษาเพ่ือขอคาแนะนาและปรับปรุง
แกไ้ ขเพื่อให้การวางแผนและดาเนินการ ทาโครงการเป็ นไปอย่างเหมาะสมเป็ นข้นั ตอนต้งั แต่
เร่ิมตน้ จนสิ้นสุด
3.3.6 การลงมือทาโครงการ
เมื่อเคา้ โครงของการไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาแลว้ กเ็ สมือนวา่ การ
จดั ทา-โครงการไดผ้ า่ นพน้ ไปแลว้ มากกวา่ คร่ึง ข้นั ตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพฒั นาตามข้นั ตอนท่ี
วางแผนไว้ เช่น จดั เตรียมวสั ดุ - อุปกรณ์ใหพ้ ร้อม รวมถึงกาหนดหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบในกลุม่
ให้ชดั เจนว่าแต่ละคนจะมีหน้าที่ทาอะไร แลว้ จึงดาเนินการทาโครงการขณะเดียวกนั ตอ้ งมีการ
ทดสอบ ตรวจสอบปรับปรุงแกไ้ ข และพฒั นาโครงการเป็นระยะ ๆ เพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ เจา้ ของกิจการ
เขา้ ใจในการจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายในกิจการแลว้

18

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผจู้ ดั ทาโครงการไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยดาเนินการตามขอ้ มลู ดงั น้ี
3.4.1 นาแบบฟอร์มไปเก็บขอ้ มูลจากร้านนางสาวอรอุมา ประยูรคา บา้ นเลขท่ี

14/4 หมู่ที่ 11 ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก จงั หวดั พจิ ิตร
3.4.2 นาขอ้ มลู ที่ไดม้ าบนั ทึก วิเคราะหแ์ บบฟอร์มใหเ้ หมาะสมกบั กิจการ
3.4.3 ทาการบนั ทึกรายรับ - รายจ่าย
3.4.4 ติดตามการบนั ทึกรายรับ - รายจ่ายของกิจการ

บทท่ี 4

ผลการดาเนินงาน

จากการศึกษาคร้ังน้ีสามารถแสดงผลการวิจยั และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดด้ งั น้ี
การประเมินความคิดเห็นผูต้ อบแบบสอบถามโครงการบริการความรู้การจดั ทาบัญชี
รายรับ - รายจ่าย สู่ผู้จาหน่ายก๋ วยเตี๋ยวเรื อ กรณีศึกษาร้านเจ๊อร ของแผนกการบัญชี
วทิ ยาลยั เทคนิคพิจิตร คณะผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูล และนาเสนอผลการวิเคราะห์
หลกั เกณฑก์ ารประเมิน โดยใหร้ ะดบั คะแนน 1 – 5 ตามเกณฑด์ งั น้ี

- ระดบั คะแนน 4.51 - 5.00 ดีมาก
- ระดบั คะแนน 3.51 - 4.50 ดี
- ระดบั คะแนน 2.51 - 3.50 ปานกลาง
- ระดบั คะแนน 1.51 - 2.50 นอ้ ย
- ระดบั คะแนน 1.00 - 1.50 นอ้ ยที่สุด

4.1 ข้อมูลสภาพทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
การศึกษาคร้ังน้ี ผศู้ ึกษาไดเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อยา่ งท่ีเป็นผจู้ าหน่ายก๋วยเต๋ียว

ซ่ึงผศู้ ึกษาไดน้ ามาวเิ คราะหข์ อ้ มลู สภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกบั เพศ อายุ สถานภาพ
ดงั แสดงในตารางท่ี 4.1.1 - 4.1.5

20

ตารางท่ี 4.1.1 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานะภาพทวั่ ไปของผตู้ อบ
แบบสอบถาม

รายการ จานวน ร้อยละ
ชาย 0 0.00
หญิง 1 100.00

รวม 1 100.00

จากตารางที่ 4.1.1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง จานวน 1 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100

ตารางที่ 4.1.2 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของอายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม

ต่ากวา่ 15 ปี รายการ จานวน ร้อยละ
15 - 18 ปี รวม
18 - 20 ปี 0 0.00
40 ปี ข้นึ ไป 0 0.00
0 0.00
1 100.00
1 100.00

จากตารางท่ี 4.1.2 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีอายุ 40 ปี ข้ึนไป จานวน 1 คน
คิดเป็น ร้อยละ 100

ตารางที่ 4.1.3 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของสถานะภาพทว่ั ไปของผตู้ อบ
แบบสอบถาม

รายการ จานวน ร้อยละ
โสด 0 0.00
สมรส 1 100.00

รวม 1 100.00

21

จากตารางที่ 4.1.3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีสถานภาพสมรสแลว้ จานวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 100

ตารางที่ 4.1.4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนแบบมาตรฐานความคิดเห็นของเจอ๊ ร

รายการ ผลการวิเคราะห์ ระดบั
̅ S.D. ความคดิ เห็น

1. รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม 5.00 5.00 มากที่สุด
มากที่สุด
2. มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชี 5.00 5.00
มากท่ีสุด
บญั ชีรายรับ - รายจ่าย
มากที่สุด
3. ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความ 5.00 5.00
มากท่ีสุด
มีความเหมาะสมมากนอ้ ยเพียงใด
มากท่ีสุด
4. ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการ 5.00 5.00 มากท่ีสุด
มากที่สุด
ใหบ้ ริการของนกั ศึกษาใหค้ วามรู้
มากที่สุด
5. นกั ศึกษามีความเป็นกนั เองใหค้ วาม 5.00 5.00
มากที่สุด
สนใจที่จะบริการ

6. ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการฝึกทาบญั ชี 5.00 5.00

7. ความประทบั ใจในการทากิจกรรม 5.00 5.00

8. สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการทาบญั ชี 5.00 5.00

ของกิจการร้านก๋วยเต๋ียว

9. การใหบ้ ริการของนกั ศึกษาช่วยในการ 5.00 5.00

นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั

รวม 5.00 5.00

จากตารางที่ 4.1.4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวา่ การใหค้ วามรู้บญั ชี
รายรับ- รายจ่าย มีค่าเฉล่ียสูงสุด 5 ( ̅ = 5.00 , S.D. = 5.00 )

22

ตารางท่ี 4.1.5 แสดงขอ้ มูลสินทรัพยแ์ ละคา่ เสื่อมอปุ กรณ์

ท่ี รายการ ราคา อายกุ ารใชง้ าน (ปี ) คา่ เสื่อมต่อปี
417.50
1 หมอ้ ก๋วยเตี๋ยว 1,670 4 920.00
2 ตแู้ ช่แขง็ 4,600 5
1,337.50
ค่าเส่ือมราคาต่อปี 111.45
ค่าเสื่อมราคาสะสมต่อเดือน

จากตารางที่ 4.1.5 แสดงข้อมูลทรัพยส์ ินและค่าเสื่อมราคาเฉล่ียต่อใบ ในการทา
ก๋วยเต๋ียวเฉล่ียต่อใบ อนั ดบั แรกคือ ตูแ้ ช่แขง็ ราคา 920.00 บาทต่อปี หมอ้ ก๋วยเตี๋ยวราคา 417.50
บาทตอ่ ปี รวมค่าเสื่อมตอ่ ปี 1,137.50 บาท ต่อเดือน 111.45 บาท

4.2 สรุปผลการวิเคราะห์สอบถามร้านค้ากลุ่มตวั อย่าง มีดังนี้

จากการวิเคราะหจ์ ากแบบสอบถามของกลุ่มร้านคา้ ตวั อย่างปรากฎวา่

4.2.1 รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามวา่ รูปแบบบญั ชีมีความ
เหมาะสม อยใู่ นระดบั คา่ เฉลี่ย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.2 มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย จากการตอบแบบสอบถาม
ปรากฏวา่ มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย อยใู่ นระดบั คา่ เฉล่ีย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.3 ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามว่า
ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั คา่ เฉล่ีย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.4 ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการให้บริการของนกั ศึกษาให้ความรู้ จากการ
ตอบแบบสอบถามปรากฏว่าลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการใหบ้ ริการของนกั ศึกษาให้ความ
รู้อยใู่ นระดบั คา่ เฉลี่ย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.5 นกั ศึกษาท่ีมีความเป็นกนั เองใหค้ วามสนใจที่จะบริการ จากการตอบแบบสอบถาม
ปรากฏวา่ นกั ศึกษาท่ีมีความเป็นกนั เองใหค้ วามสนใจที่จะบริการ อยใู่ นระดบั ค่าเฉล่ีย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.6 ทา่ นไดร้ ับประโยชนจ์ ากการฝึกทาบญั ชี จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าท่าน
ไดร้ ับประโยชน์ จากการฝึกทาบญั ชีอยใู่ นระดบั คา่ เฉล่ีย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

23

4.2.7 ความประทบั ใจในการทากิจกรรม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าความ
ประทบั ใจในการทากิจกรรม อยใู่ นระดบั ค่าเฉล่ีย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.8 สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการทาบัญชีของกิจการร้านค้า จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่าสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการบญั ชีของกิจการร้านค้า อยู่ในระดับ
ค่าเฉลี่ย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

4.2.9 การใหบ้ ริการของนกั ศึกษาช่วยในการไปประยกุ ตใ์ นชีวิตประจาวนั จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่าการให้บริ การของนักศึกษาช่วยในการนาไปประยุกต์ในชี วิตประจาวนั
อยใู่ นระดบั ค่าเฉลี่ย 5 อยใู่ นระดบั ดีมาก

คำ่ ใชจ้ ่ำย เดือนธนั วาคม 24
48%
กำไรสุทธิ กำไรสทุ ธิ
2% รำยได้
คำ่ ใชจ้ ำ่ ย
รำยได้
50%

จากกราฟสรุป เดือนธนั วาคม มีรายได้ 15,030 บาท ให้เป็น 100 % ค่าใชจ้ ่าย 14,100.45 บาท
คิดเป็น48 % จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ 929.55 บาท คิดเป็น 2 %

เดือนมกราคม

คำ่ ใช้จ่ำย กำไรสุทธิ กาไรสุทธิ
43% 7% รายได้
คา่ ใชจ้ ่าย
รำยได้
50%

จากกราฟสรุป เดือนมกราคม มีรายได้ 16,295 บาท ให้เป็น 100% ค่าใชจ้ ่าย 13,990.45 บาท
คิดเป็น 43% จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ 2,304.55 บาท คิดเป็น 7%

25

เปรียบเทียบระหวา่ งเดือนธนั วาคมกบั เดือนปัจจุบนั

16500
16000
15500
15000
14500
14000
13500
13000
12500

เดือนธนั วาคม เดือนมกราคม
รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย

ในเดือนมกราคม จะมีรายไดม้ ากกวา่ เดือนธนั วาคม คดิ เป็น 100% และมีคา่ ใชจ้ ่าย
นอ้ ยกวา่ เดือนธนั วาคม 110 บาท คดิ เป็น 8.69%

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

การออกให้บริ การการจัดทาบัญชีรายรับ - รายจ่ายให้กับร้านค้าโครงการน้ี
มีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้จากการที่ได้ศึกษาจากสถานศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ เจ๊อร การดาเนินงานการสอนบัญชี รูปแบบการลงบัญชีท่ีเหมาะสมต้อง
ประกอบดว้ ยการสร้างเอกสารแบบฟอร์มจาเป็ นตอ้ งใชร้ ูปแบบและการถ่ายทอดความรู้รูปแบบ
การศึกษาเชิงคุณภาพมีข้นั ตอนการศึกษาคือการเตรียมการเรื่องรูปแบบการลงบญั ชีท่ีเหมาะสม

5.1 อภปิ รายผลการดาเนนิ งาน
5.1.1 รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏวา่ รูปแบบ

บญั ชีมีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั ดีมาก
5.1.2 มีความเข้าใจกระบวนการบันทึกบัญชีรายรับ - รายจ่ายจากการตอบ

แบบสอบถามปรากฏวา่ มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย อยู่ในระดบั ดีมาก
สามารถนาความรู้การบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่ายไปใชไ้ ดจ้ ริง

5.1.3 ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถาม
ปรากฏวา่ ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั ดีมาก

5.1.4 ลาดับข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการให้บริการของนักศึกษาให้ความรู้
จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการให้บริการของนักศึกษา
ใหค้ วามรู้ อยใู่ นระดบั ดีมาก

5.1.5 นักศึกษาที่มีความเป็ นกันเองให้ความสนใจท่ีจะบริการ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏวา่ นกั ศึกษาที่มีความเป็นกนั เองใหค้ วามสนใจท่ีจะบริการ อยใู่ นระดบั ดีมาก

5.1.6 ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการฝึ กทาบญั ชี จากการตอบแบบสอบถามปรากฏ
วา่ ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการฝึกทาบญั ชี อยใู่ นระดบั ดีมาก

5.1.7 ความประทบั ใจในการทากิจกรรม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่า
ความประทบั ใจในการทากิจกรรม อยใู่ นระดบั ดีมาก

27

5.1.8 สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในการทาบญั ชีของกิจการร้านคา้ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏวา่ สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการบญั ชีจองกิจการร้านคา้ อยใู่ นระดบั ดีมาก

5.1.9 การให้บริการของนกั ศึกษาช่วยในการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั
จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าการให้บริการของนกั ศึกษาช่วยในการนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั อยใู่ นระดบั ดีมาก

หากวิเคราะห์งบกาไรขาดทุนเดือนธันวาคมคมมีรายได้ 15,030.00 บาท ให้เป็ น
100 เปอร์เซ็นต์ ค่าใชจ้ ่าย 14,100.45 บาท คิดเป็น 93.80 เปอร์เซ็นต์ จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ 929.55 บาท
คิดเป็ น 6.20 เปอร์เซ็นต์ และเดือนมกราคมมีรายได้ 16,295.00 บาท ให้เป็ น 100 เปอร์เซ็นต์
ค่าใชจ้ ่าย 13,990.45 บาท คิดเป็น 85.90 เปอร์เซ็นต์ จึงทาให้กาไรสุทธิ 2,304.55 บาท คิดเป็น
14.14 เปอร์เซ็นต์

ผลการวเิ คราะห์งบแสดงฐานะการเงินของผจู้ าหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ ร้านเจ๊อร จะเห็นไดว้ า่
เงินสดเทา่ กบั 16,295.00 บาท คดิ เป็นร้อยละ 100.00 เปอร์เซ็นต์ ทุน - เจอ๊ รเท่ากบั 13,990.45 บาท
คดิ เป็นร้อยละ 85.90 เปอร์เซ็นต์ กาไรสุทธิเทา่ กบั 2,304.55บาท คิดเป็นร้อยละ 14.10 เปอร์เซ็นต์

หากเปรียบเทียบในเดือนธันวาคมเงินสดลดลง 1,265 บาท คิดเป็นร้อยละ 7.77 เปอร์เซ็นต์
ทุน - เจ๊อร เดือนมกราคมเพ่ิมข้ึน 110 บาท คิดเป็ นร้อยละ 2.26 เปอร์เซ็นต์ และกาไรสุทธิ
เพ่ิมข้นึ 1,375 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.43 เปอร์เซ็นต์

5.2 ปัญหาและอปุ สรรคท่ีเกิดขึน้

5.2.1 กลุ่มร้านคา้ ตวั อยา่ งไม่ค่อยเขา้ ใจในเรื่องการทาบญั ชี
5.2.2 รายรับ - รายจ่าย อาจจะไม่ตรงตามความเป็ นจริ งเน่ื องจากมีบางรายการที่

ไมไ่ ดบ้ นั ทึก

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ควรจดั ทาบญั ชีร้านคา้ ในรูปแบบใหม่ ๆ เพอ่ื ความน่าสนใจ
5.3.2 ควรเพ่ิมระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือที่จะนามาเสนอขอ้ มูลที่ได้
ไปเปรียบเทียบก่อนทาบญั ชีร้านคา้ กบั หลงั ทาบญั ชีร้านคา้

28

บรรณานุกรม

นางสาว มณีวรรณ “ความรู้เกี่ยวกบั การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com [สืบคน้ เม่ือ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2563]

ดร.ภทั รา เรืองสินภิญญ “บญั ชีครัวเรือน” , [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ms.pbru.ac.th [สืบคน้ เมื่อ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2563]

นางอญั เรศ ชมสวรรค์ “งานวิจยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ethesisarchive.library.tu.a.th [สืบคน้ เม่ือ 4 ธนั วาคม 2563]

นางสุภาวดี รัตนวเิ ศษ “งานวจิ ยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ethesisarhive.library.tu.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 4 ธนั วาคม 2563]

นางอรทยั ดุษฎีดาเกิง “งานวิจยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://etesisrchive.library.tu.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 4 ธนั วาคม 2563]

นายณฐั ภทั ร คาสิงหว์ งษ์ “งานวิจยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ethesisarchive.library.tu.ac.th [สืบคน้ เมื่อ 4 ธนั วาคม 2563]

นางปัทมาภรณ์ แลบวั “งานวจิ ยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ethesisarchive.library.tu.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 4 ธนั วาคม 2563]

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

31

แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ัย

เร่ือง ความพงึ พอใจของเจา้ ของกิจการร้านก๋วยเต๋ียวเรือ ท่ีมีตอ่ การบริการความรู้ -
การจดั ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่าย สู่ผจู้ าหน่ายก๋วยเตี๋ยวเรือ กรณีศึกษา ร้านเจ๊อร

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ

2. อายุ ( ) ชาย ( ) หญิง
3. สถานภาพ
( ) ต่ากวา่ 20 ปี ( ) 21 – 30 ปี
( ) 31 – 40 ปี ( ) 40 ปี ข้ึนไป

( ) โสด ( ) สมรส

32

ส่วนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจ
ทาเครื่องหมาย / ลงในตารางแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจ

รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สุด

รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม

มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชี
รายรับ – รายจ่าย

ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความ
เหมาะสมมากนอ้ ยเพียงใด
ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการ
ใหบ้ ริการของนกั ศึกษาใหค้ วามรู้
นกั ศึกษาท่ีมีความเป็นกนั เองใหค้ วาม
สนใจท่ีจะบริการ
ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากการฝึกทาบญั ชี

ความประทบั ใจในการทากิจกรรม
สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการทา
บญั ชีของกิจการร้านก๋วยเต๋ียว
การใหบ้ ริการของนกั ศึกษาช่วยในการ
นาไปประยกุ ตใ์ ชช้ ีวติ ประจาวนั

รวมคะแนน

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

33

ภาคผนวก ข
แสดงภาพสถานทด่ี าเนนิ งาน

34
ภาพที่ 1 ผจู้ ำหน่ำยก๋วยเต๋ียวเรือ ร้ำนเจ๊อร
ภาพท่ี 2 ผจู้ ำหน่ำยก๋วยเตี๋ยวเรือ ร้ำนเจ๊อร

34

ภาคผนวก ค
แสดงภาพสอนนางสาวอรอมุ า ประยูรคา ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย

36
ภาพท่ี 3 สอนนางสาวอรอุมา ประยรู คา ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่าย
ภาพที่ 4 สอนนางสาวอรอุมา ประยรู คา ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่าย

36

ภาคผนวก ง
แสดงภาพตรวจสอบบญั ชีรายรับ - รายจ่าย

38
ภาพที่ 5 ตรวจสอบบญั ชีรายรับ – รายจ่าย

ภาพที่ 6 ตรวจสอบบญั ชีรายรับ - รายจ่าย


Click to View FlipBook Version