The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำหอมเพื่อจำหน่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supattar Noisomwong, 2022-05-19 04:44:24

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำหอมเพื่อจำหน่าย

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้ำหอมเพื่อจำหน่าย

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตนา้ หอมเพื่อจ้าหนา่ ย

นางสาววรัญญา หนุนเมือง รหสั ประจ้าตวั 62202011132
นางสาวสภุ สั สร เจริญสขุ รหัสประจ้าตัว 62202011138

ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี
สาขาวิชา การบัญชี สาขางาน การบญั ชี ห้อง 1

ครูทปี่ รกึ ษา
นางสาวนศิ ารตั น์ ไมส้ นธิ์

วิทยาลยั เทคนิคพจิ ิตร อาชีวศกึ ษาจังหวดั พิจติ ร
สา้ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

ใบรบั รองโครงงาน

รายวิชา โครงงาน รหสั วชิ า 20201-8501 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

ชอื่ โครงงาน การศกึ ษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ นา้ หอมเพื่อจ้าหนา่ ย
ผ้รู ับผิดชอบโครงงาน 1. นางสาววรัญญา หนุนเมอื ง รหสั ประจา้ ตัว 62202011132

2. นางสาวสภุ สั สร เจริญสุข รหสั ประจา้ ตวั 62202011138
ครทู ป่ี รกึ ษา นางสาวอรวลัญช์ น้อยสมวงษ์
ปกี ารศึกษา 2564

ไดร้ ับอนมุ ตั ิใหเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษารายวิชาโครงงาน สาขาวชิ า การบัญชี
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2562

คณะกรรมการสอบโครงงาน

ลงชอ่ื ..............................................ประธาน
(นางสาวจารณุ ี จุลบตุ ร)

ลงชื่อ..............................................กรรมการ
(นางสาวนศิ ารตั น์ ไมส้ นธิ์)

ลงชื่อ............................................. กรรมการและเลขานกุ าร
(นางสาวอรวลญั ช์ น้อยสมวงษ)์

ลงชือ่ ..............................................หวั หนา้ แผนกวชิ า
(นางสาวมณฑกาญจน์ ทศแกว้ )

ลงชื่อ..............................................รองผ้อู ้านวยฝ่ายวิชาการ
(นายอศิ รา อยู่ยิ่ง)

ลงช่ือ..............................................ผูอ้ ้านวยการวิทยาลยั
(นายชัยณรงค์ คัชมาตย)์

ชื่อผลงาน : การศึกษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอมเพอ่ื จ้าหนา่ ย
ผ้จู ัดทา : นางสาววรัญญา หนุนเมือง
นางสาวสภุ สั สร เจรญิ สขุ
ครทู ่ีปรึกษา : นางสาวอรวลัญช์ น้อยสมวงษ์
สาขาวชิ า : การบญั ชี
สาขางาน : การบัญชี
ปกี ารศึกษา : 2564

บทคดั ย่อ

ในการวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1. เพ่ือศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนใน
การผลิตน้าหอม 2. เพ่ือศึกษาค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการผลิตน้าหอม 3. เพ่ือศึกษา
ความพึงพอใจของผใู้ ชท้ ม่ี ตี ่อการใชน้ ้าหอม

โดยมีสมมติฐานในการวิจัย คือประชากรที่ใช้ในการศึกษาตามโครงงานน้าหอมเพ่ือจ้าหน่าย
ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา จ้านวน 36 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียน นักศึกษา ที่สนใจ
ในน้าหอมกลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ช้ในการวจิ ัยครังนีประกอบดว้ ย

เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจโดยใช้แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ล้าดับ และน้าข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพืนฐานการแจกแจงความถ่ี
และค่ารอ้ ยละ

ผลการวจิ ัย มีดงั นี
1. ต้นทนุ ในการผลติ น้าหอม เฉล่ยี ตอ่ ขวด
2. ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการผลิตน้าหอมต่อขวด ในปริมาณ 1 ขวดในราคาบาท
คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลติ บาทต่อขวด
3. ความพึงพอใจในการใช้น้าหอม ในภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุดและเม่ือพิจารณา
เป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ 1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปัจจัยด้านราคา
และ 3. ปัจจยั ด้านบุคคลและส่งเสรมิ การขาย

กติ ติกรรมประกาศ

การจัดทาโครงงานครั้งนี้ สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดีด้วยความอนุเคราะห์ และความกรุณาให้
คาปรึกษา ต้ังแต่ต้นจนเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้ความรู้และประสบการณ์ที่ดี แก่ข้าพเจ้าจาก
นางสาวอรวลัญช์ น้อยสมวงษ์ ครูผู้สอนวิชาโครงงาน ผู้จัดทาโครงงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
มา ณ โอกาสน้ี

ขอกราบขอบพระคุณ นางสาวนิศารัตน์ ไม้สนธิ์ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ท่ีได้กรุณาให้
คาแนะนา และใหค้ าปรกึ ษามาตลอดจนใหค้ วามชว่ ยเหลือแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ เพือ่ ใหจ้ ดั ทาโครงงาน
ฉบับนี้ให้มีความสมบูรณ์ ผู้จัดทาโครงงานขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาท
วิชาบ่มเพราะจนผู้ศึกษาสามารถนาเอาหลักการมาประยุกต์ใช้และอ้างอิงในการจัดทาโครงงานคร้ังน้ี
อีกทั้ง บิดา มารดา ญาติ พ่ีน้องและเพื่อน ๆ ของผู้จัดทาโครงงาน ซ่ึงให้กาลังใจและความช่วยเหลือ
มาโดยตลอด

คุณค่าอันพึงมีจากการศึกษาค้นคว้าวิจัยอิสระฉบับนี้ ขอมอบเพ่ือบูชาคุณพระบิดา มารดา
ครอู าจารย์ และผู้มพี ระคณุ ทกุ ทา่ น

วรญั ญา หนนุ เมอื ง
สภุ ัสสร เจรญิ สุข

สารบญั หน้า

บทคัดยอ่ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบญั ตาราง จ
สารบัญภาพ
บทท่ี 1
1. บทนา 2
2
1.1 ที่มาและความสาคญั ของปญั หา 2
1.2 วตั ถุประสงค์ในการศึกษา
1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 3
1.4 นยิ ามคาศัพท์ 8
2. เอกสารงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 9
2.1 หลักการแนวคดิ เก่ยี วกับตน้ ทุน 12
2.2 หลกั การแนวคิดเกย่ี วกบั ผลตอบแทน
2.3 งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง 13
2.4 กรอบแนวคดิ ในการศึกษา 13
3. วธิ ีดาเนินการศกึ ษา 14
3.1 กลุ่มเป้าหมายทใี่ ช้ในการศึกษา 14
3.2 เครื่องมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษา 14
3.3 วธิ ีการดาเนินการศึกษา 15
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.6 สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สารบญั (ต่อ) หนา้

4. ผลการศึกษาค้นคว้า 15
4.1 ขอ้ มูลต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ นาหอม 21
4.2 ข้อมูลสารภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 23
4.3 ขอ้ มลู ปัจจัยทีม่ ผี ลตอ่ พฤติกรรมการใชน้ าหอม 25
4.4 ข้อมลู เก่ยี วกบั การผลติ นาหอม
26
5. สรุปการศกึ ษา การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 27
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา 28
5.2 อภิปรายผลการศกึ ษา 29
5.3 ข้อเสนอแนะ
31
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 35

ภาคผนวก ก เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษาแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบั 42
ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ การใชน้ าหอม
52
ภาคผนวก ข แบบเสนอหวั ข้อและเค้าโครง โครงงานการศึกษาตน้ ทุนและ
ผลตอบแทนในการผลิตนาหอมเพ่ือจาหนา่ ย 63

ภาคผนวก ค แสดงภาพการลงพนื ทีก่ ารเกบ็ ข้อมลู ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั
ปจั จัยที่มผี ลตอ่ พฤติกรรมการใช้นาหอม

ภาคผนวก ง บัญชี การศกึ ษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลิตนาหอม
เพ่ือจาหนา่ ย

ภาคผนวก จ แสดงภาพการพบครูผู้สอนและครทู ปี่ รึกษาโครงงาน
ประวัตผิ จู้ ัดทาโครงงาน

สารบญั ตาราง หนา้
16
ตารางท่ี 16
4.1.1 แสดงการแบง่ ประเภทตน้ ทุนที่ทาการศกึ ษา 17
4.1.2 แสดงต้นทุนค่าวัตถดุ บิ ในการผลิตนาหอม 17
4.1.3 แสดงต้นทนุ ค่าแรงงานในการผลติ นาหอม 18
4.1.4 แสดงตน้ ทุนค่านาประปาทีใ่ ชใ้ นการผลิตนาหอม 18
4.1.5 แสดงตน้ ทนุ ค่ารถและคา่ เดินทางที่ใชใ้ นการผลิตนาหอม 19
4.1.6 แสดงข้อมลู สนิ ทรัพย์และค่าเส่ือมราคาอปุ กรณ์ 19
4.1.7 แสดงขอ้ มูลต้นทนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ 20
4.1.8 แสดงข้อมลู ตน้ ทนุ ในการผลิตนาหอม 20
4.1.9 แสดงต้นทนุ ของราคาขายตอ่ ขวด ของผลติ ภัณฑน์ าหอม 20
4.1.10 แสดงกาไรขันต้นจากการผลติ นาหอมต่อขวด 21
4.1.11 แสดงการคานวณหาอตั ราผลตอบแทนจากการผลติ นาหอม 22
4.2.1 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม 22
4.2.2 แสดงจานวนและค่ารอ้ ยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 23
4.2.3 แสดงจานวนและค่ารอ้ ยละของอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.2.4 แสดงจานวนและค่าร้อยละของอาชีพผู้ตอบแบบสอบถาม 23
4.3 แสดงคา่ เฉลยี่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความคดิ เหน็ เกยี่ วกับปจั จยั ทีม่ ี 25
ผลตอ่ การใชน้ าหอม
4.4 ข้อมูลเก่ยี วกับการผลิตนาหอม

สารบญั ภาพ หนา้
33
ภาพท่ี 33
1. ภาพการสง่ เวบ็ ไซต์ใหน้ ักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์ 42
2. ภาพการสง่ เวบ็ ไซต์ให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์ 42
3. วัตถดุ บิ ทใ่ี ชใ้ นการผลติ นาหอม
4. อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการผลิตนาหอม 43

5. นาหัวเชือนาหอมท่เี ตรยี มไว้หยดใส่ภาชนะ 43
44
6. เตมิ แอลกอฮอลล์ นาหอมลงไปใส่ภาชนะ 44
7. เตมิ แอลกอฮอล์ลงไปผสมกบั หวั เชอื นาหอมแลว้ ผสมให้เขา้ กัน 45
8. ใสน่ าเปลา่ ลงไปผสม 45
9. นาหอมที่ผลิตเสรจ็ แล้ว 46
10. นานาหอมท่ีผลติ เสร็จแล้วใส่บรรจภุ ัณฑท์ ่เี ตรยี มไว้ 46
11. ปิดฝาใหเ้ รยี บร้อย 47
12. ตดิ โลโก้ 47
13. ผลติ ภัณฑ์นาหอมพร้อมจาหน่าย 48
14. ผลิตภัณฑน์ าหอมพรอ้ มจาหน่าย 48
15. ภาพการจาหนา่ ยนาหอม 49
16. ภาพการจาหนา่ ยนาหอม 49
17. ภาพการจาหน่ายนาหอม 64
18. ภาพการจาหน่ายนาหอม 64
19. ภาพพบครวู ิชาโครงงาน วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2565 65
20. ภาพพบครทู ่ีปรกึ ษาโครงงาน วนั ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 65
21. ภาพพบครวู ิชาโครงงาน วนั ที่ 20 กมุ ภาพันธ์ 2565
22. ภาพพบครูทีป่ รึกษาโครงงาน วนั ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั

น้ำหอม เป็นสำรละลำยที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหย สำรประกอบที่ให้กล่ินหอมมี
แอลกอฮอล์และน้ำ โดยเอเวอร่ี กิลเบริ ์ต นักจิตวทิ ยำด้ำนประสำทสัมผัสท่ำนหน่งึ ซึง่ เป็นทป่ี รกึ ษำ
ในอุตสำหกรรมน้ำหอมกล่ำวว่ำ กลิ่นจะต้องเป็นโมเลกุลขนำดเล็กท่ีเบำพอจะลอยอยู่ในอำกำศได้
ทังนีเซลล์ท่ีมีควำมส้ำคัญในกำรรับรู้กล่ินก็คือเซลล์ประสำทรับกล่ินที่อยู่ภำยในจมูก ส่วนผสมหลัก
ของน้ำหอมคือ น้ำมันหอมระเหย แอลกอฮอล์และน้ำ ส้ำหรับส่วนผสมอย่ำงแอลกอฮอล์และน้ำ
นันถูกน้ำมำใช้เป็นตัวท้ำละลำยในกำรเจือจำงน้ำมันหอม เพ่ือให้น้ำหอมมีจุดแข็งของกล่ินท่ีแตกต่ำง
กนั นอกจำกนีน้ำหอมยังสำมำรถนำ้ มำใชใ้ นกำรเพิม่ ควำมหอมให้กับรำ่ งกำย ดงึ ดดู ควำมสนใจตอ่ คน
รอบข้ำง แลว้ ยงั นำ้ มำใชใ้ นกำรดบั กลิ่นอบั อนั ไม่พึงประสงคอ์ ีกด้วย

ในปัจจุบันมีน้ำมันหอมระเหยท่ีได้มำจำกธธรมชำติและน้ำมันหอมท่ีสังเครำะห์ ได้จำก
สำรเคมีในห้องปฏิบัติกำร ส่วนใหญ่น้ำหอมที่ถูกผลิตขึนจะเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีส่วนผสมของสำร
สังเครำะห์มำกกว่ำเน่ืองด้วยมีกำรควบคุมคุณภำพและกระบวนกำรผลิต ดังนันกำรเลียนแบบกล่ิน
หอมจำกธรรมชำติด้วยสำรท่ีสังเครำะห์จำกกล่ินของดอกไม้จึงเป็นท่ีนิยม เช่น กุหลำบ มะลิ
ดอกบวั ดอกแก้ว ลำเวนเดอร์ ฯ ท้ำให้มีน้ำหอมเพิ่มขึนหลำกหลำยชนิด และมีควำมส้ำคัญมำกใน
กำรใชช้ ีวิตประจ้ำวนั ทำ้ ใหส้ ่งผลกระทบต่อรำคำนำ้ หอมทีแ่ พงขนึ ตำมวตั ถุดบิ และขันตอนในกำรผลิต
รวมไปถึงควำมนยิ มและควำมทนั สมยั ของน้ำหอม

จำกข้อมูลข้ำงต้นผู้จัดท้ำมีควำมสนใจและมองเห็นช่องทำงธุรกิจที่จะท้ำเรื่องกำรศึกษำ
ต้นทุนและผลตอบแทนในกำรท้ำน้ำหอม เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของผู้บริโภค ดังนันใน
กำรศึกษำครังนีจึงมุ่งเน้นท่ีจะศึกษำต้นทุนและผลตอบแทน เพ่ือน้ำข้อมูลที่ได้มำพิจำรณำ
เปรียบเทียบต้นทนุ ในกำรจ่ำยซือ และน้ำมำผลติ เป็นรำยไดเ้ สริมต่อไปในอนำคต

2

1.2 วัตถปุ ระสงคก์ ำรศึกษำ

1.2.1 เพือ่ ศึกษำตน้ ทนุ และผลตอบแทนในกำรทำ้ นำ้ หอม
1.2.2 เพ่ือศึกษำควำมพงึ พอใจของผูบ้ ริโภคที่มตี ่อกำรใชน้ ้ำหอม
1.2.3 เพอื่ ให้มปี ระสบกำรณแ์ ละน้ำมำประกอบอำชีพเปน็ รำยได้เสรมิ

1.3 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

3.1.1 ด้ำนตวั แปร
-

3.1.2 ดำ้ นเนอื หำ
กำรวจิ ัยครงั นเี ปน็ กำรศึกษำต้นทนุ และผลตอบแทนในกำรผลิตน้ำหอม ดังนี
1) ศกึ ษำต้นทนุ กำรผลติ น้ำหอม ตงั แต่ขันตอนกำรเตรียมกำรท้ำไปจนถึง

ขันตอนกำรจำ้ หน่ำย และวิเครำะหโ์ ครงสร้ำงตน้ ทนุ ในกำรผลติ นำ้ หอม
2) ศกึ ษำผลตอบแทนที่ได้รับจำกกำรลงทุนในกำรผลิตนำ้ หอม

3.1.3 ด้ำนเวลำ
พฤศจกิ ำยน 2564 – กุมภำพนั ธ์ 2565

1.4 นิยำมศัพท์

ต้นทุน หมำยถึง ต้นทนุ ทังสนิ ที่ใช้ในกำรซอื วัตถดุ ิบกำรทำ้ นำ้ หอม แลว้ แปรรูปเปน็
น้ำหอมทพ่ี ร้อมจำ้ หนำ่ ย

ผลตอบแทน หมำยถงึ อตั รำก้ำไรตอ่ ทนุ อตั รำกำ้ ไรต่อยอดขำย อัตรำผลตอบแทนจำก
เงินลงทนุ และอัตรำผลตอบแทนจำกสนิ ทรัพย์

บทท่ี 2

เอกสารงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

การศึกษาในคร้ังน้ี เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอมเพ่ือจ้าหน่าย
ผจู้ ัดท้าโครงงานได้ศกึ ษาหลกั การ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้องดงั นี้

2.1 หลักการแนวคดิ เกี่ยวกับต้นทนุ
2.2 หลักการแนวคดิ เกีย่ วกบั ผลตอบแทน
2.3 งานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ ง
2.4 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา

2.1 หลักการแนวคิดเก่ยี วกับต้นทุน

ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่องค์กรใช้ประโยชน์เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
ตามท่ีได้ก้าหนดไว้ เช่น ต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงานที่เกิดขึ้นเพื่อผลิตสินค้าและบริการ และเมื่อ
ต้นทุนได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธุรกิจแล้ว ต้นทุนส่วนนั้นจะเปล่ียนสภาพไปเป็นค่าใช้จ่าย (Expense)
ซ่งึ จะน้าไปหักรายได้ในแต่ละงวดบัญชี

ตน้ ทุนการผลิต คือ ต้นทุนท่ีท้าให้ได้สินค้าส้าเร็จรูปใด ๆ ประกอบดว้ ยวัตถุดบิ ทางตรงที่เบิก
ใช้ในการผลิต แรงงานทางตรงท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการผลิตและค่าใช้จ่ายในการผลิตเมื่อทั้ง
3 สว่ นประกอบ ไดเ้ ข้าสขู่ นั้ ตอนต่าง ๆ ของการผลิตก็จะถูกแปรสภาพเป็นสินค้าส้าเร็จรปู ต่อไป

4

การจา้ แนกประเภทต้นทุนแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่
2.1.1 การจา้ แนกตน้ ทุนตามระยะเวลา
2.1.2 การจา้ แนกต้นทนุ ตามลักษณะการดา้ เนินงาน
2.1.3 การจ้าแนกตน้ ทนุ ตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
2.1.4 การจา้ แนกตน้ ทุนตามปรมิ าณกิจกรรม
2.1.5 การจ้าแนกต้นทุนเพอื่ ควบคุมและวัดผลการปฏบิ ัตงิ าน
2.1.6 การจ้าแนกตน้ ทนุ เพอ่ื การตัดสินใจ
มรี ายละเอยี ดของการจา้ แนกตน้ ทุนแต่ละประเภท ดงั ตอ่ ไปนี้

2.1.1 การจา้ แนกตน้ ทุนตามระยะเวลา

เป็นการพิจารณาในการจัดหาสินทรัพย์และบริการต่าง ๆ ซ่ึงจะต้องสัมพันธ์กับ
ระยะเวลาในการดา้ เนินธุรกิจโดยสามารถแบง่ ตน้ ทนุ ออกเป็น 3 ประเภท คือ

1) ต้นทุนท่เี กิดข้นึ ในอดีต (Historical Cost) คอื ตน้ ทนุ ที่เกิดข้ึนเม่อื ไดม้ าซ่งึ สนิ ทรัพย์
หรือบริการต่าง ๆ และกิจการได้จ่ายช้าระเงินสดสินทรัพย์อ่ืนใดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด โดยปกติ
จะใชต้ ้นทนุ ประเภทนี้ในการบันทึกบัญชีประกอบกับการจัดทา้ งบการเงิน แตไ่ มน่ ยิ มนา้ ไปใช้ประกอบการ
ตัดสินใจปัญหาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอนาคต เนื่องจากสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจมีการ
เปลยี่ นแปลงไปตามกาลเวลา

2) ต้นทุนทดแทนหรือต้นทุนเปล่ียนแทน (Replacement Cost) คือต้นทุนที่จ่ายไป
เพื่อใช้ในการจัดหาสินทรัพย์มาเปล่ียนแทนหรือทดแทนสินทรัพย์เดิม ซ่ึงสินทรัพย์ท่ีจัดหามาต้องมี
ลักษณะคล้ายคลึงกับสินทรัพย์เดิม เพ่ือน้ามาเปรียบเทียบต้นทุนปะกอบการตัดสินใจในการเลือก
ทางเลือกต่าง ๆ ว่าควรเปล่ียนแทนหรือปรับปรุงสินทรัพย์ที่อยู่เดิมหรือควรซ้ือสินทรัพย์เพ่ือทดแทน
สินทรัพยเ์ ดิม โดยเปรียบเทยี บราคาตลาดของสินทรพั ย์นน้ั ๆ

3) ต้นทุนในอนาคต (Future Cost) คือต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตเม่ือ
กิจการต้องตัดสินใจเลือกโครงงานใดโครงงานหน่ึงในอนาคต ซ่ึงกิจการต้องพยากรณ์ต้นทุนท่ีกิจการคาด
วา่ จะเกิดขึ้นเพื่อใชใ้ นการตดั สินใจเลือกลงทุนในโครงงานจัดแนวโน้มของต้นทนจริงในอดีตหรือจากระบบ
งบประมาณของกจิ การ

5

2.1.2 การจ้าแนกต้นทุนตามลกั ษณะการด้าเนินงาน

เป็นการพิจารณาต้นทุนที่เกิดจากการด้าเนินงานหรือปฏิบัติงานของธุรกิจซึ่งแบ่งได้
2 ประเภทใหญด่ งั ต่อไปน้ี

1) ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Cost) คือต้นทุนที่เกิดขึ้นท้ังหมดกระบวนการ
ผลิตเพื่อแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้า ซ่ึงปกติต้นทุนการผลิตจะเกิดข้ึนในธุรกิจผลิตสินค้าเท่านั้นเช่น
วัตถดุ ิบทางตรง คา่ ใชจ้ ่ายในการผลิต เป็นต้น

2) ต้นทุนท่ีไม่เก่ียวข้องกับการผลิต (Nonmanufacturing Cost) คือต้นทุนอ่นื ๆ ท่ี
ไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การผลิตสินค้า ซึง่ จ้าแนกต้นทนุ โดยพิจารณาตามหนา้ ทีห่ รือลกั ษณะของการปฏบิ ัติดงั นี้

1.1) ต้นทุนในการจัดซ้ือหรือจัดหาสินค้า (Merchandise Cost) ซึ่งเปน็ ต้นทุนใน
การจัดหาสินค้า เชน่ คา่ ขนสง่ เข้า เป็นตน้

1.2) ต้นทุนทางการตลาด (Marketing Cost) เป็นต้นทุนท่ีเกิดจากการส่งเสริม
การขายหรือแนะนา้ ผลติ ภัณฑเ์ ข้าสู่ตลาดเชน่ ค่าโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ เป็นต้น

1.3) ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Administrative Cost of Expense)
เป็นต้นทนุ จากการบรหิ ารงานโดยรวม เชน่ เงินเดอื นฝา่ ยบริหาร ค่าใช้จ่ายแผนกบญั ชี เป็นต้น

1.4) ต้นทุนทางการเงิน (Financing Cost) คือต้นทุนจากการจัดหาเงินทุนมา
ด้าเนินงาน เช่น ดอกเบ้ยี ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ เป็นต้น

1.5) ต้นทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research and Development
Cost) เป็นต้นทุนจากการวิจัยหาสินค้าใหม่ ๆ หรือพัฒนาสินค้าท่ีมีอยู่ให้ทันสมัยจากเดิมเพอ่ื ตอบสนอง
ความต้องการของทางการตลาดของลูกค้า เช่น เงนิ เดอื นนักวจิ ยั และผู้เชย่ี วชาญ เปน็ ตน้

2.1.3 การจา้ แนกต้นทุนตามส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์

ส่วนประกอบของต้นทุนที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดจะประกอบด้วย
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต ซึ่งถ้าเราพิจารณาในด้านทรัพยากรที่เป็น
ส่วนประกอบของสินค้าแล้วจะประกอบไปด้วยวัตถุดิบ ถือว่าเป็นส่วนประกอบที่ส้าคัญส้าหรับการผลิต
สินค้า ต้นทุนท่ีเกี่ยวกับการใช้วัตถุดิบในการผลิตสินค้าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ วัตถุดิบ
ทางตรง หมายถึง วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต และสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าใช้ในการผลิตสินค้า
ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ในปรมิ าณเท่าใด ตน้ ทนุ เท่าใด รวมทง้ั จัดเป็นวัตถุดิบสว่ นใหญท่ ใ่ี ช้ในการผลิตสนิ ค้าชนิด
น้ัน ๆ วัตถุดิบทางอ้อม หมายถึง วัตถุดิบต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องโดยทางอ้อมกับการผลิตสินค้า แต่ไม่ใช่

6

วัตถดุ ิบหลักหรอื วตั ถุดิบสว่ นใหญ่ ค่าแรงงาน คอื คา่ จา้ งหรือผลตอบแทนทจ่ี า่ ยให้แก่ลูกจ้างหรอื คนงานท่ี
ท้าหน้าท่ีในการผลิตสินค้า ซึ่งค่าแรงน้ันสามารถแบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ ค่าแรงงานทางตรง คือ
ค่าแรงงานต่าง ๆ ท่ีจ่ายให้แก่คนงานหรือลูกจ้างที่ท้าหน้าที่ในการผลิตสินค้าส้าเร็จรูปโดยตรง ซ่ึงเป็น
ค่าแรงงานที่มีจ้านวนมากเม่ือเทียบกับค่าแรงงานทางอ้อมในการผลิตสินค้าหน่วยหน่ึง ๆ และจัดเป็น
ค่าแรงงานท่ีส้าคญั ในการแปรรูปวัตถุดิบใหเ้ ปน็ สนิ ค้าส้าเรจ็ รปู คา่ แรงงานทางอ้อม หมายถึง คา่ แรงงาน
ท่ไี ม่เกี่ยวขอ้ งกับคา่ แรงงานทางตรงทใ่ี ช้ในการผลิตสนิ คา้ คา่ ใช้จา่ ยการผลิต คอื แหลง่ รวบรวมคา่ ใชจ้ า่ ย
ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การผลติ สนิ ค้า ซงึ่ นอกเหนือจากวตั ถุดิบทางตรง คา่ แรงงานทางตรง เชน่ วตั ถดุ บิ
ทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าใช้จ่ายในการผลิตทางอ้อมอ่ืน ๆ ได้แก่ ค่าน้า ค่าไฟ ค่าเช่า ค่าเส่ือม
ราคา ค่าประกันภัย ค่าภาษี เปน็ ตน้

2.1.4 การจา้ แนกตน้ ทุนตามปรมิ าณกจิ กรรม

การจ้าแนกต้นทุนตามปริมาณกิจกรรมมักจะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามลักษณะ
กิจกรรมของต้นทุน กล่าวคือ ต้นทุนจะเปล่ียนแปลงหรือไม่ข้ึนอยู่กับระดับปริมาณกิจกรรม จ้านวน
ชว่ั โมงแรงงาน จ้านวนชว่ั โมงเคร่อื งจักรหรอื ฝา่ ยบริหารทใี่ ช้ประโยชนใ์ นการวางแผนควบคุมการสรา้ งการ
จูงใจ การตัดสินใจ ซ่ึงผู้บริหารจะต้องท้าการประมาณต้นทุนต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนโดยวิธีการ
ประมาณต้นทุน ต้องเข้าจพฤติกรรมของต้นทุนและเทคนิคในการประมาณต้นทุนวิธีการจดประเภท
ต้นทุนตามความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนและระดับกิจกรรม โดยแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในระดับ
กจิ กรรมท่มี ีตอ่ ตน้ ทุน จ้านวนการขาย ปรมิ าณการผลติ ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ การตัดสนิ ใจด้านตา่ ง ๆ ของ
ผบู้ รหิ าร

2.1.5 การจา้ แนกต้นทนุ เพ่อื การควบคุมและวัดผลการปฏิบตั งิ าน

เป็นการควบคุมต้นทุนให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ เป็นหน้าท่ีส้าคัญของผู้บริหาร
ซึ่งจะต้องก้าหนดหน่วยงานที่ต้องการควบคุมต้นทุนแล้ววางแผนการควบคุม ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ
และการวัดผลการปฏิบัตกิ ารควบคุมดังกล่าว ว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ซึ่งในการควบคุมต้นทุน
น้ันสามารถจา้ แนกได้เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้

1) ต้นทนุ ที่ควบคมุ ได้ คอื ตน้ ทุนที่ผ้จู ัดการหรอื หวั หนา้ งานสามารถสั่งการหรือควบคุม
ได้ เช่น ค่าลว่ งเวลา คา่ วัสดุสิ้นเปลือง เปน็ ต้น

7

2) ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ คือ ต้นทุนที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานไมส่ ามารถสงั่ การเพราะ
อยู่ในอา้ นาจการตัดสินใจของผบู้ ริหารหรือได้รับการปันสว่ นมาจากส่วนกลางไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ เชน่
ค่าเสื่อมราคาโรงงาน คา่ สาธารณปู โภค เป็นตน้

2.1.6 การจ้าแนกต้นทนุ เพ่ือการตดั สนิ ใจ

ตน้ ทุนประเภทนีส้ ามารถแยกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ดงั น้ี
1) ต้นทุนที่เก่ียวข้องกับการตัดสินใจ คือ ต้นทุนท่ีมีสัมพันธ์กับการตัดสินใจของ
ผู้บริหารเพื่อใช้ในการประเมินทางเลือก ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบต้นทุนในอดีตหรือการ
พยากรณ์โดยอาศัยเทคนคิ ทางสถติ ิ ซึ่งสามารถจ้าแนกประเภทได้ ดงั นี้

1.1) ต้นทุนส่วนต่าง คือ ต้นทุนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ปฏิบัติเดิมให้เป็นวิธีการปฏิบัติใหม่ เช่น ก้าลังการผลิต 100 หน่วย ต้นทุนต่อหน่วย 2 บาท ถ้าเพิม่
ก้าลังการผลิตเป็น 150 หน่วย ต้นทุนต่อหน่วยเป็น 1.80 บาท ท้าให้เกิดต้นทุนส่วนต่างท่ีลดลงจาก
เดมิ เม่อื เทียบกับกา้ ลังการผลิตเดิมอยู่ 0.20 บาท

1.2) ต้นทุนท่ีเล่ียงได้ คือ ต้นทุนท่ีสามารถประหยัดจากการตัดสินใจเลือก เช่น
การยบุ สาขาที่ได้กา้ ไรนอ้ ยหรอื ขาดทนุ จะชว่ ยลดตน้ ทุนไดล้ งจากเดมิ

1.3) ตน้ ทุนค่าเสียโอกาส คือผลตอบแทนท่ีกิจการไดร้ ับจากการตัดสินใจเลือกทาง
ใดทางหน่ึง แต่กิจการต้องสูญเสียผลตอบแทนจากทางเลือกท่ีไม่ได้เลือก เช่น มีเงินอยู่ 10,000 บาท
ถ้าฝากเงินประจ้าปีได้ดอกเบี้ย 200 บาท ต่อปี แต่ถ้าปล่อยเงินกู้ดอกเบี้ย 500 บาท ต่อปี ซ่ึงถ้า
เลือกปล่อยเงินกจู้ ะทา้ ให้เสยี โอกาสได้รับดอกเบยี้ จากการฝากเงินเปน็ จ้านวน 200 บาท

2) ต้นทุนทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งกับการตัดสินใจ คอื ตน้ ทนุ ท่ีไม่แสดงความสมั พนั ธ์เกี่ยวข้องกับ
การตดั สนิ ใจ ไม่วา่ ผบู้ ริหารจะเลอื กทางใดกต็ าม ซ่ึงสามารถจ้าแนกได้ดงั น้ี

2.1) ต้นทุนจม คือ ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนในอดีตที่ไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้ เช่น การ
ซ้ือเครอ่ื งจกั รมาในราคา 20,000 บาท เป็นเวลา 2 ปี ไม่ว่ากจิ การจะขายหรือไม่ขาย ต้นทนุ ดังกล่าว
ก็ได้เกดิ ขนึ้ จากการซอื้ เคร่อื งจักร

2.2) ต้นทุนท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ คือต้นทุนท่ียังคงมีอยู่ไม่ว่ากิจการจะเปลี่ยนแปลงไป
จากเดมิ หรอื ไม่ เช่น ค่าเสยี ภาษที รพั ยส์ นิ โรงงาน เปน็ ตน้

8

2.2 หลกั การแนวคดิ เก่ียวกบั ผลตอบแทน

การวิเคราะห์การลงทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนของโครงงานใด ๆ โดยเป็นการ
เปรียบเทียบผลตอบแทนและตน้ ทุนของโครงงานนั้น ๆ ซ่งึ ผลตอบแทนและต้นทุนของโครงงานจะเกิดขึ้น
ในระยะเวลาท่ตี า่ งกนั ตลอดอายุของโครงงาน ดังน้ันจงึ จา้ เป็นตอ้ งมกี ารปรับค่าเวลาของโครงงานเพื่อให้
ได้มาซึ่งผลตอบแทนที่ไดร้ ับและตน้ ทุนท่ีเสยี ไปในช่วงระยะเวลาที่ตา่ งกันใหเ้ ป็นเวลาปัจจุบนั ก่อน แล้วจงึ
จะสามารถท้าการเปรียบเทียบกันได้อย่างถูกต้องแน่นอนชัดเจนมากยิ่งขึ้น (เสถียร ศรีบุญเรือง 2542)
การวิเคราะห์ทางด้านการเงินเป็นการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายหรือเงินลงทุนและผลตอบแทนหรือผลก้าไรทาง
การเงินของรายงานโครงงาน เพ่ือวิเคราะห์ว่าโครงงานที่จัดท้าขึ้นนั้นมีความคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่
โดยทั่วไปแล้วแบ่งการวิเคราะห์เป็น 2 ประเภทคือ

2.2.1) วิธีการวิเคราะห์โดยไม่มีการคิดลด (Undiscounted Approach) คือการวัดค่าของ
ต้นทุนและผลตอบแทนจากโครงงาน โดยไม่ค้านึงถึงว่าเงินที่ได้มาหรือใช้ไปในช่วงเวลาท่ีต่างกัน เช่น
เงินสดรับในปีที่ 1 จ้านวนหน่ึงกับเงินจ้านวนเดียวกันน้ีท่ีจะได้รับในปีที่ 5 จะถือว่ามีมูลค่าที่เท่ากัน
การวิเคราะห์วิธีน้ี เช่น การหาระยะเวลาคืนทุน (Playback Period) ซึ่งเป็นการค้านวณว่านับจาก
จุดเร่ิมต้นโครงงานจะใช้ระยะเวลาอีกเท่าไร จึงจะมีกระแสเงินสดรับสุทธิจากโครงงานรวมกันเท่ากับ
มลู ค่าในการลงทนุ (Total Capital Investment)

2.2.2) วิธีการวเิ คราะห์โดยมีวิธีการคิดลด (Discounted Approach) วธิ ีการวิเคราะห์โดยมี
การคิดลดเป็นวิธีการวัดคา่ ของผลตอบแทนและตน้ ทุนหรอื คา่ ใช้จ่ายท่ีเกิดจากโครงงานโดยคา้ นึงถึงคา่ เสยี
โอกาสผ่านวิธีการคิดลด(Discounted Method) ซ่ึงวิธีที่นิยมใช้ ได้แก่ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
อัตราผลตอบแทนภายในจากการลงทุน (IRR) วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ทางการเงิน โดยทั่วไป
วิเคราะห์ทางการเงินมีวตั ถปุ ระสงค์ 4 ประการ ดังน้ี

1) เพ่ือประเมินความเป็นไปได้ทางการเงิน วัตถุประสงค์ส้าคัญของการวิเคราะห์ทาง
การเงิน คือการประเมินความสามารถในโครงงานน้ันคือโครงงานสามารถก่อให้เกิดรายได้ท่ีคุ้มค่ากับ
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และมีอัตราผลตอบแทนท่ีดี การประเมินส่วนน้ีจะต้องมีการประมาณต้นทุ นและ
ผลตอบแทนทั้งสิ้น เพื่อการศึกษาหาผลตอบแทนสทุ ธขิ องโครงงาน

2) เพื่อประเมินแรงจูงใจการวิเคราะห์ทางการเงินจะมีความส้าคัญต่อการประเมิน
แรงจูงใจท่ีมตี ่อเจ้าของและผู้มสี ่วนร่วมกับโครงงาน ถ้าเป็นโครงงานรัฐวิสาหกจิ หรือท่รี ัฐบาลใหส้ นับสนุน
ก็จะพิจารณาว่าผลตอบแทนท่ีได้รับนั้นเพียงพอต่อการเลี้ยงตัวเองและบรรลุวัตถุประสงค์ทางการเงิน
ตามท่ีตอ้ งการหรอื ไม่

9

3) เพื่อจัดให้มีแผนการเงินที่ดีเพ่ือให้โครงงานมีก้าไรและผลตอบแทนท่ีดีก็จะต้องมี
แผนการเงินท่ีดีด้วยโดนเฉพาะการวางแผนจัดหาเงินทุน เพื่อให้ได้มาซ่ึงเงินทุนในจ้านวนและในเวลา
ตามท่ีต้องการโดยเสียค่าจ่ายต้่าสุดรวมทั้งเพื่อให้ข้อเสนอแนะถึงวิธีการปรับปรุงความเป็นไปได้ทาง
การเงินของโครงงาน โดยเฉพาะความเหมาะสมของอัตราค่าบริการราคาและปรมิ าณการผลิตทค่ี ุม้ ทนุ

4) เพื่อประเมินขดี ความสามารถในการบริหารการเงนิ ส้าหรับโครงงานลงทุนขนาดใหญ่
ท่ีมีการบริหารการเงินท่ีสลับซับซ้อน ก็จ้าเป็นต้องพิจารณาถึงระบบการจัดการด้านการเงิน การ
เปล่ียนแปลงขององค์กรและการจัดการ ควรจัดให้มีระบบการควบคุม การตรวจสอบการเงิน รวมท้ัง
การฝกึ อบรมทกั ษะเฉพาะทางเรอ่ื งตา่ ง ๆ เพ่ือให้โครงงานด้าเนนิ ไปตามวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี ้าหนดไว้

2.3 เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

การศึกษาปจั จัยด้านประชากรศาสตรท์ ่มี ีความสัมพันธก์ ับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อนา้ หอมของ
ผู้ใช้บริการห้างสรรพสินค้า ในเขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ศึกษาถึงข้อมูลด้านประชากรศาสตร์รวมถึงข้อมูลส่วนประกอบทางการตลาดท่ีมี ผลต่อการตัดสินใจซื้อ
น้าหอม และเพ่ือศึกษาถึงปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ท่ีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ
น้าหอมของผู้ใช้บริการห้างสรรพสินค้า ในเขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างท่ีในการ
วิจัยคร้ังน้ีคือผู้บริโภคน้าหอมแบรนด์ต่างประเทศของผู้บริโภค ที่มาใช้บริการห้างสรรพสินค้าเขตปทุมวัน
จังหวดั กรุงเทพมหานคร จ้านวน 390 คน ทดสอบสมมติฐานสถิติ (Independent Samples) และ
(Multiple Regression) โดยก้าหนดค่านัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยได้พบว่า ลักษณะ
ทางประชากรศาสตร์บางประการส่งผลต่อพฤตกิ รรมการตัดสินใจ ปจั จัยส่วนบุคคลท่ีแตกต่างกันมีผลต่อ
การ ตัดสินใจซ้ือน้าหอมของผู้บริโภคท่ีมาใช้บริการห้างสรรพสินค้าเขตปทุมวันกรุงเทพมหานครต่างกัน
และปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดส่งผลกับการตัดสินใจซ้ือน้าหอมของผู้บริ โภคท่ีมาใช้บริการ
หา้ งสรรพสนิ คา้ เขตปทมุ วัน (สุธาทิพย์ พัวพงศ์ , บญุ ญรตั น์ สัมพันธ์วัฒนชยั . 2560)

10

การศึกษาประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือน้าหอม
ต่างประเทศ โดยการศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาอิทธิพลการสื่อสารทางการตลาดของน้าหอม
ตา่ งประเทศและเพื่อศึกษาพฤตกิ รรมการตดั สินใจซื้อน้าหอมต่างประเทศและเพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ของ
อิทธิพลการส่ือสารทางการตลาดท่ีมีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซ้ือน้าหอมต่างประเทศประชากรท่ีใช้ใน
การศึกษาคือ ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ทั้งเพศชายและหญิงที่ใช้ เคยใช้ ตั้งใจที่จะใช้
น้าหอมตา่ งประเทศ ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้ตารางส้าเร็จรูปของ (Taro Yamane 1967) โดย
ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความสะดวก (Convenience Sampling) จ้านวน 400 คน ในเขต
กรุงเทพมหานคร โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามที่มีความน่าเชื่อถือได้เท่ากับ 964
และมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช่ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองตัน
คือ สถิติเชิงพรณนาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ียส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ที่ใช้ในการ
ทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยส้าคัญท่ี 0.5 คือการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคุณ ผลการศึกษา
พบวา่ ประสิทธภิ าพการสื่อสารทางการตลาด ดา้ นการกระตุ้นจูงใจ ด้านการระลึกถึงสินคา้ และ ต้าน
ความสัมพันธ์กับลูกค้า ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อน้าหอมต่างประเทศท่ีนัยส้าคัญทางสถิติท่ี
ระดับ 0.05 แต่ด้านการแจ้งข้อมูลข่าวสารไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าหอมต่างประเทศ ท่ีนัยส้าคัญ
ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.05 และพบวา่ ดา้ นรปู แบบวธิ กี ารการส่ือสาร (นจุ รี เตชะสุกจิ . 2557)

การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซ้ือน้าหอมของผู้หญิ งวัยท้างานใน
กรงุ เทพมหานคร การศึกษาในคร้ังนม้ี ีวตั ถุประสงคห์ ลกั ของการศกึ ษาครัง้ น้ี คือ เพ่อื ศึกษาถึงพฤติกรรม
ของผู้บริโภคในการเลือกซ้ือน้าหอมของผู้หญิงวัยท้างานในกรุงเทพมหานคร รวมท้ังศึกษาถึงปัจจัยส่วน
บุคคลท่ีมีอิทธิพลต่อการเลือกซ้ือน้าหอมของผู้หญิงวัยท้างานในกรุงเทพมหานคร ซ่ึงมีอายุระหว่าง 24-
60 ปี ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ท้าการส้ารวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31-35 ปีมีสถานภาพ
โสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี ระดับรายได้เฉล่ียต่อเดือน 10,000-19,999 บาท และมีอาชีพเป็น
พนักงานธรุ กิจเอกชน จากการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างพบว่า กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่ใช้น้าหอม
ประเภท (Eau de Perfume) มากที่สุด ส่วนใหญ่ใช้น้าหอมเพื่อท้าให้เกิดความม่ันใจมากข้ึน และ
สาเหตุของการใชน้ ้าหอมกลิ่นใหม่เพราะชอบกลนิ่ ของน้าหอม โดยสถานที่ของการเลือกซ้ือนา้ หอม กลุ่ม
ตัวอย่างนิยมเลือกซื้อตามศูนย์การค้ามากท่ีสุด ประเภทของการประชาสัมพันธ์ท่ีมีอิทธิพลมากท่ีสุดคือ
การแจกสินค้าตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ต้องการมีน้าหอมไว้ใช้ประจ้าอยู่ที่ 2 ขวด ลักษณะของ
กล่ินน้าหอมท่กี ลุ่มตวั อย่างมคี วามตอ้ งการมากที่สดุ คือ กล่ินหอมเยน็ ๆ สดช่ืน ด้านปจั จัยส่วนประสม
ทางการตลาดท่ีมีผลตอ่ การตัดสินใจในการเลือกซอื้ น้าหอม เรียงล้าดับความส้าคัญดังนี้ ด้านผลิตภณั ฑ์

11

ด้านราคา ดา้ นชอ่ งทางการจ้าหนา่ ย ดา้ นการส่งเสรมิ การขาย และผลการศึกษาพบวา่ ลกั ษณะทางด้าน
ประชากรศาสตร์ในส่วนของอายุ สถานภาพสมรส ไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือน้าหอมของผู้หญิงวัย
ท้างานในกรุงเทพมหานคร ส่วนดา้ นระดับการศึกษ า ระดับรายไดเ้ ฉลี่ยตอ่ เดือน และอาชีพมีอทิ ธิพลต่อ
การตัดสินใจซื้อน้าหอมของผู้หญิงวัยท้างานในกรุงเทพมหานคร ข้อเสนอแนะท่ีได้จากการศึกษาครั้งน้ี
พบว่า กลมุ่ ตวั อยา่ งใหค้ วามสา้ คัญกบั กล่นิ น้าหอมที่เหมาะสมกับวัย โดยมหี ลายขนาดใหเ้ ลอื ก ตลอดจน
ระบุส่วนผสมในการผลติ ใหช้ ัดเจน (โชตริ ส นุม่ มศี รี. 2548)

12

2.4 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทาโครงงาน

ตน้ ทุน ตน้ ทุนตามส่วนประกอบของการผลิต
ผลตอบแทน นา้ หอม
1. ค่าวตั ถุดิบ
2. คา่ แรงงาน
3. คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ

กา้ ไร (ขาดทุน) จากการผลติ น้าหอม
รายไดจ้ ากการขาย
หกั ตน้ ทนุ ในการผลติ น้าหอม
กา้ ไรข้ันต้น

การวเิ คราะห์
ต้นทุนและผลตอบแทน

โครงสร้างตน้ ทุน อัตราผลตอบแทน
ในการผลิตน้าหอม 1. อัตราก้าไรขน้ั ต้นต่อตน้ ทนุ
2. อัตราก้าไรขั้นต้นต่อยอดขาย

ภาพที่ 1 แสดงแนวคดิ ในการจัดทา้ โครงงาน


บทที่ 3

วิธีการดาเนินงาน

การด้าเนินการศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม
เพื่อจ้าหน่ายของนักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร ผู้จัดท้าโครงงานได้
ด้าเนนิ ตามลา้ ดับขัน้ ตอน ดงั น้ี

3.1 กลุ่มเปา้ หมายที่ใชใ้ นการศกึ ษา
3.2 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศกึ ษา
3.3 วธิ ีการดา้ เนินการศึกษา
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล
3.6 สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์เครอื่ งมอื

3.1 กล่มุ เปา้ หมายที่ใชใ้ นการศึกษา

กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในโครงงานการผลิตน้าหอมเพื่อจ้าหน่าย ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา
แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร จ้านวน 36 คน ก้าหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยเลือกจาก
นกั เรยี น นกั ศกึ ษาทส่ี นใจน้าหอม

3.2 เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อ
พฤติกรรมการใชน้ ้าหอมของผู้ผลติ

14

3.3 วิธีการดาเนนิ การศึกษา

ผู้จัดท้าโครงงาน ได้ด้าเนินการศึกษาขั้นตอนต่าง ๆ ซ่ึงมีรายละเอียดการสร้างแบบสอบถาม
ข้อมูลเก่ียวกับการลงทุนผลิตน้าหอมของนักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบญั ชี วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร
ด้าเนนิ การ ดังนี้

3.3.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎีจากเอกสาร ต้ารา สืบค้นข้อมูลและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ
การศกึ ษาต้นทุนและผลตอบแทนเพ่อื สรา้ งและพัฒนาแบบสอบถาม โดยแบง่ 3 ตอน

ตอนที่ 1 สอบถามสถานภาพและขอ้ มูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 สอบถามขอ้ มลู เกีย่ วกับการผลติ นา้ หอม
ตอนที่ 3 สอบถามข้อมูลเกยี่ วกับต้นทนุ และผลตอบแทนของการผลิตน้าหอม
3.3.2 น้าร่างแบบสอบถามเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงงาน เพ่ือขอค้าปรึกษาและตรวจสอบ
คา้ ถามเพอ่ื ให้ได้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ทถ่ี ูกต้องเหมาะสม
3.3.3 น้าแบบสอบถามทีป่ รับปรุงแล้วเสนอต่อครทู ่ปี รกึ ษาโครงงานอีกคร้งั ก่อนน้าไปใช้ในการ
เก็บรวบรวมข้อมลู

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ผจู้ ัดท้าโครงงานไดด้ า้ เนินเก็บรวบรวมข้อมลู โดยการด้าเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี
3.4.1 น้าแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจากนักเรียน นักศึกษา แผนกวิช าการบัญชี
วิทยาลยั เทคนคิ พิจิตร ซึ่งเปน็ กลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศกึ ษา
3.4.2 นา้ เสนอขอ้ มูลทีไ่ ด้มาท้าการวเิ คราะห์

3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ได้ด้าเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามล้าดับ ดงั น้ี
3.5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มาท้าการประมวลผล
3.5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ในการวิเคราะห์เน้ือหาประกอบด้วย 4 ข้ันตอน
ไดแ้ ก่ การตีขอ้ มลู (Interpretation) การเปรียบเทยี บขอ้ มลู (Constant Comparison)
การสังเคราะห์ข้อมลู (Data Synthesis) และการสรุปผล (Generalization)

15

3.6 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวเิ คราะขอ้ มูลผู้รายงานไดใ้ ช้สถติ ิวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ดงั นี้
3.6.1 คา่ ความถ่ี (Frequency)
3.6.2 ค่ารอ้ ยละ (Percentage)
3.6.3 หาค่าเฉลย่ี (Mean)

บทท่ี 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การด้าเนินการศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม
เพื่อจ้าหน่าย เป็นการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกต้นทุนและแบบสอบถามผู้ศึกษา
น้าเสนอผลวิเคราะหต์ ามล้าดบั ดงั น้ี

4.1 ขอ้ มูลต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม
4.2 ขอ้ มูลสภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.3 ขอ้ มลู ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ พฤตกิ รรมการบริโภคน้าหอม
4.4 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั การผลติ น้าหอม

4.1 ข้อมลู ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม

4.1.1 ข้อมูลเกีย่ วกบั ตน้ ทุนในการผลิตนา้ หอม
การศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอมเพื่อจ้าหน่าย

โดยต้นทุนในการผลิตน้าหอมแบ่งตามส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์ ประกอบด้วย ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน
และค่าใช้จ่ายในการผลิต ดังตารางท่ี 4.1.1 – 4.1.8

16

ตารางที่ 4.1.1 แสดงการแบ่งประเภทต้นทนุ ทที่ ้าการศึกษา

คา่ วตั ถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใชจ้ า่ ยในการผลิต
1. น้ามนั หอมระเหย 1. คา่ แรงงานตนเอง
2. แอลกอฮอล์น้าหอม 1. ค่าบรรจุภัณฑ์
3. น้าเปลา่ 2. ค่าสติก๊ เกอร์โลโก้
3. คา่ น้าประปา
4. คา่ รถและคา่ เดินทาง
5. ค่าเสอื่ มราคาอุปกรณ์

ตารางท่ี 4.1.2 แสดงต้นทนุ ค่าวตั ถดุ บิ ในการผลติ น้าหอม (จ้านวนการผลิตน้าหอม 50 ขวด)

ผลติ ภัณฑ์ วัตถดุ ิบ จา้ นวน (หนว่ ย) ราคา (บาท)
น้าหอม 177.00
1. น้ามนั หอมระเหย 3 ขวด 120.00
20.00
2. แอลกอฮอลน์ า้ หอม 1 ลติ ร 317.00

3. น้าเปล่า 2 ลติ ร 6.34

รวม

ต้นทนุ เฉลี่ยตอ่ ขวด

จากตาราง 4.1.2 แสดงต้นทุนค่าวัตถุดิบในการผลิตน้าหอม (ส้าหรับน้าหอม 50 ขวด)
พบวา่ อนั ดบั แรกคือ น้ามันหอมระเหย จ้านวน 3 ขวด ในราคา 177 บาท รองลงมาคือแอลกอฮอล์
น้าหอม จ้านวน 1 ลิตร ในราคา 120 บาท และน้าเปล่า จ้านวน 2 ลิตร ในราคา 20 บาท
จงึ ทา้ ให้มตี น้ ทนุ เฉลีย่ 6.34 บาทต่อขวด

17

ตารางท่ี 4.1.3 แสดงตน้ ทนุ ค่าแรงในการผลิตน้าหอม (จา้ นวนการผลิตน้าหอม 50 ขวด)

ล้าดับที่ รายการ จ้านวน (บาท/วัน)
1. ค่าแรงงานตนเอง 300.00
6.00
ค่าแรงงานเฉลยี่ ต่อขวด

จากตารางท่ี 4.1.3 พบว่าผลการวิเคราะห์ต้นทุนค่าแรงงานในการผลิตน้าหอมเฉล่ีย
ต่อขวด 6 บาท คดิ เปน็ ค่าแรงงานต่อการผลติ 3 คร้ัง เปน็ เงิน 300 บาท

ตารางท่ี 4.1.4 แสดงต้นทุนค่าน้าประปาท่ีใช้ในการผลิตน้าหอม (จ้านวนการผลิต
นา้ หอม 50 ขวด)

รายการ ระยะเวลา จ้านวน ราคาตอ่ หนว่ ย จ้านวน (บาท)
5 หน่วย 8.00 40.00
คา่ นา้ ประปา 1 เดอื น 40.00
1.25
รวมตน้ ทนุ ค่าน้าประปา

คา่ น้าประปาต้นทนุ เฉล่ียต่อขวด

จากตารางท่ี 4.1.4 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลค่าน้าประปาที่ใช้ในการผลิตน้าหอม จ้านวน
5 หน่วย คิดเปน็ เงนิ 40 บาท มตี น้ ทุนเฉล่ยี 1.25 บาทต่อขวด

18

ตารางท่ี 4.1.5 แสดงต้นทุนค่ารถและค่าเดินทางท่ีใช้ในการผลิตน้าหอม (จ้านวนการผลิต
น้าหอม 50 ขวด)

รายการ ระยะเวลา จ้านวน ราคาต่อหน่วย จ้านวน (บาท)
1 ลติ ร 32.00 32.00
คา่ รถและคา่ เดนิ ทาง 1 เดือน 0.32

คา่ รถและคา่ เดินทางเฉล่ียต่อขวด

จากตารางท่ี 4.1.5 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลค่ารถและค่าเดินทางที่ใช้ในการผลิตน้าหอมคือ
ค่ารถและค่าเดินทาง 1 ลติ ร คดิ เปน็ 32 บาท จงึ ทา้ ใหค้ ่ารถและคา่ เดนิ ทางมีตน้ ทนุ เฉล่ยี 0.32 บาท
ต่อขวด

ตารางที่ 4.1.6 แสดงข้อมูลสินทรัพย์และค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์ (จ้านวนการผลิต
นา้ หอม 50 ขวด)

รายการ อายุ (ปี) ราคา (บาท) ค่าเส่ือมราคา (บาท)
อปุ กรณ์ 1 100.00 8.33
ค่าเส่ือมราคาต่อขวด 0.17

จากตารางท่ี 4.1.6 แสดงผลวิเคราะห์ข้อมูลสินทรัพย์และค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์มีค่าเส่ือม
ราคา 8.33 บาท จึงทา้ ใหค้ า่ เส่อื มราคาอุปกรณม์ ีตน้ ทนุ เฉล่ีย 0.17 บาทตอ่ ขวด

19

ตารางท่ี 4.1.7 แสดงข้อมูลตน้ ทนุ คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ

ล้าดบั ท่ี รายการ ราคา (บาท) รอ้ ยละ
คา่ บรรจุภัณฑ์ 5.58 74.20
1. คา่ สต๊กิ เกอร์โลโก้ 0.20 2.66
2. คา่ นา้ ประปา 1.25 16.62
3. คา่ รถและค่าเดินทาง 0.32 4.26
4. คา่ เส่ือมราคาอปุ กรณ์ 0.17 2.26
5. ค่าใชจ้ า่ ยในการผลติ รวม 7.52 100.00

จากตารางที่ 4.1.7 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูลตน้ ทุนและค่าใช้จ่ายในการผลติ พบวา่ อันดับ
แรกคือ ค่าบรรจุภณั ฑ์ 5.58 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 74.20 รองลงมาคือค่าสตกิ๊ เกอร์โลโก้ 0.20 บาท
คิดเป็นร้อยละ 2.66 ค่าน้าประปา 1.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.62 ค่ารถและค่าเดินทาง 0.32
บาท คิดเป็นร้อยละ 4.26 และค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์ 0.17 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.26 จึงท้าให้มี
ตน้ ทุนในการผลติ เฉลีย่ 7.512 บาทตอ่ ขวด

ตารางท่ี 4.1.8 แสดงขอ้ มูลต้นทุนในการผลิตน้าหอม

ล้าดบั ท่ี รายการ ต้นทุนเฉลยี่ ต่อขวด รอ้ ยละ
1. ค่าวตั ถดุ บิ 6.34 31.92
2. ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ 7.52 37.87
3. คา่ แรงงาน 6.00 30.21
ตน้ ทุนในการผลติ รวม 19.86 100.00

จากตารางท่ี 4.1.8 แสดงการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการผลติ น้าหอม พบวา่ อันแรกคอื ค่าวัตถุดบิ
6.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 31.92 รองลงมาคือค่าใช้จ่ายในการผลิต 7.52 บาท คิดเป็นร้อยละ
37.87 และค่าแรงงาน 6 บาท คิดเป็นร้อยละ 30.21 จึงท้าให้ต้นทุนในการผลิตเฉล่ีย 19.86 บาท
ต่อขวด

20

4.1.9 ข้อมลู เกีย่ วกับผลตอบแทนในการผลติ นา้ หอม

การศึกษาผลตอบแทนจากการผลิตน้าหอม ผู้ศึกษาได้ท้าการศึกษาจากราคาขาย
กา้ ไรข้นั ต้น อัตรากา้ ไรต่อทุน และอัตราก้าไรต่อยอดขาย ดังแสดงในตารางที่ 4.1.9 – 4.1.11

ตารางท่ี 4.1.9 แสดงตน้ ทนุ ของราคาขายตอ่ ขวด ของผลติ ภณั ฑน์ า้ หอม

ชอ่ื ผลิตภัณฑ์ ราคาขายต่อขวด (บาท)

น้าหอม 25.00

จากตารางท่ี 4.1.9 แสดงต้นทุนของราคาขายต่อขวด พบว่าน้าหอมมีราคาขาย 25 บาท
ต่อขวด

ตารางท่ี 4.1.10 แสดงกา้ ไรขน้ั ตน้ จากการผลิตนา้ หอมตอ่ ขวด

รายการ จา้ นวน (บาท)
รายการจากการขายนา้ หอม 25.00
หกั ตน้ ทุนขาย
6.34
ค่าวตั ถดุ ิบ 7.52
คา่ ใช้จ่ายในการผลิต 6.00 19.86
คา่ แรงงาน
ก้าไรขั้นต้น 5.14

จากตารางท่ี 4.1.10 แสดงผลการวิเคราะห์ก้าไรข้ันตน้ พบวา่ มีรายไดจ้ ากการผลิตน้าหอม
25 บาทตอ่ ขวด มีตน้ ทุนขาย อนั ดบั แรกคือ ค่าวตั ถดุ บิ 6.34 บาท รองลงมาคอื คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิต
7.52 บาท และค่าแรงงาน 6 บาท จึงทา้ ให้มีก้าไรขน้ั ต้น 5.14 บาทตอ่ ขวด

21

ตารางที่ 4.1.11 แสดงการค้านวณหาอัตราผลตอบแทนจากการผลติ น้าหอม

อัตราส่วน สูตรการค้านวณ แทนค่า ผลการคา้ นวณ
อตั รากา้ ไรตอ่ ทนุ 25.88%
ก้าไรขั้นต้น 5.14 × 100
อัตรากา้ ไรต่อยอดขาย ต้นทุน 19.86 20.56%
กา้ ไรข้นั ตน้
ราคาขาย 5.14 × 100
25.00

จากตารางท่ี 4.1.11 แสดงผลการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนจากการผลิตน้าหอมเฉลี่ย
ตอ่ ขวด พบวา่ มอี ตั ราก้าไรต่อทุน 25.88% และมีอตั รากา้ ไรต่อยอดขาย 20.56%
4.2 ขอ้ มลู สภาพท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

การศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่สนใจน้าหอม ก้าหนดกลุ่ม
ตัวอย่างโดยเลือกจากนักเรียน นักศึกษาที่สนใจน้าหอม จ้านวน 36 คน ซ่ึงผู้ศึกษาได้น้ามาวิเคราะห์
ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามเก่ียวกับเพศ อายุ และสถานภาพ ดังแสดงในตารางที่
4.2.1 – 4.2.4

ตารางที่ 4.2.1 แสดงจา้ นวนและคา่ รอ้ ยละของสถานภาพทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จ้านวน ร้อยละ
มธั ยมศึกษา 12 33.33
ปวช. 17 47.22
ปวส. 5 13.89
อน่ื ๆ 2 5.56
รวม 36 100.00

จากตารางท่ี 4.2.1 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามทง้ั หมดอนั ดับแรกกอยู่ในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษา
จ้านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมาอยู่ในระดับช้ัน ปวช. จ้านวน 17 คน คิดเป็น
ร้อยละ 47.22 ระดับช้ัน ปวส. จ้านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 13.89 และอ่ืน ๆ จ้านวน 2 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 5.56

22

ตารางท่ี 4.2.2 แสดงจา้ นวนและค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

รายการ จา้ นวน ร้อยละ
ชาย 16 44.44
หญงิ 20 55.56
รวม 36 100.00

จากตารางที่ 4.2.2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามอันดับแรกเป็นเพศชาย จ้านวน 16 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.44 รองลงมาเป็นเพศหญงิ จ้านวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 55.56

ตารางท่ี 4.2.3 แสดงจ้านวนและคา่ ร้อยละอายขุ องผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จา้ นวน ร้อยละ
ตา่้ กวา่ 15 ปี 0 0.00
15 – 20 ปี 30 83.33
20 – 30 ปี 5 13.89
30 ปขี น้ึ ไป 1 2.78
36
รวม 100.00

จากตารางท่ี 4.2.3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุ 15 – 20 ปี จ้านวน 30 คน คิดเป็น
ร้อยละ 83.33 อายุ 20 – 30 ปี จ้านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 13.89 และอายุ 30 ปีขึ้นไป
จา้ นวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.78

23

ตารางท่ี 4.2.4 แสดงจ้านวนและค่าร้อยละของอาชพี ผู้ตอบแบบสอบถาม

รายการ จ้านวน รอ้ ยละ
นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา 33 91.67
ครแู ละบคุ ลากร 0 0.00
อื่น ๆ 3 8.33
36 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.2.4 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามเปน็ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา จ้านวน 36 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 91.67 และอ่นื ๆ จา้ นวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 8.33

4.3 ข้อมูลปจั จัยที่มีผลต่อพฤตกิ รรมการใช้นา้ หอม

ผลการวิเคราะห์ระดับความเห็นของผู้ใช้น้าหอม ท่ีเก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการใช้
น้าหอม ดังแสดงในตารางท่ี 4.3

24

ตารางท่ี 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความคิดเห็นการใช้น้าหอมเกี่ยวกับ
ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การใชน้ ้าหอม

รายการ ผลการวิเคราะห์ ระดับ

ปัจจัยดา้ นผลิตภัณฑ์ ̅ S.D ความคดิ เหน็
1. ความหอม 4.69 0.56 มากที่สุด
2. คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ 4.75 0.49 มากทีส่ ุด
3. ขนาดและรปู แบบของบรรจภุ ณั ฑ์ 4.64 0.63 มากที่สดุ
4.69 0.57 มากท่ีสุด
ปัจจยั ดา้ นราคา 4.72 0.61 มากทีส่ ดุ
1. ราคาเหมาะสมกบั คณุ ภาพและปรมิ าณ 4.72 0.61 มากทส่ี ุด
4.65 0.50 มากท่สี ดุ
ปัจจยั ดา้ นบุคคลและส่งเสริมการขาย 4.50 0.60 มาก
1. การโฆษณา การประชาสัมพนั ธ์ 4.81 0.40 มากทส่ี ุด
2. การให้บรกิ ารของผู้ขาย 4.69 0.55 มากที่สดุ
รวม

จากตารางท่ี 4.3 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้
น้าหอมด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ( ̅=4.69,S.D.=0.56)
รองลงมาเป็นปัจจัยด้านราคา ( ̅=4.72,S.D.=0.61) และปัจจัยด้านบุคลคลและส่งเสริมการขาย
( ̅=4.65,S.D.=0.50)

25

4.4 ขอ้ มูลเกยี่ วกับการผลติ น้าหอม

ตารางที่ 4.4 ขอ้ มูลเก่ียวกับการผลติ นา้ หอม

รายการ ขอ้ มลู
วธิ ีการจ้าหนา่ ย ขายปลีก
ปรมิ าณการผลิตตอ่ เดอื น
จา้ นวนคนผลิต 50
2

จากตาราง 4.4 แสดงข้อมูลเก่ียวกับการผลิตน้าหอม พบว่า วิธีการจ้าหน่ายน้าหอมคือ
วิธกี ารขายปลีก ปริมาณการผลติ น้าหอมต่อเดอื น 50 ขวด คนผลิตน้าหอม จ้านวน 2 คน

บทที่ 5

สรุปการศกึ ษา การอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

การด้าเนินการศึกษาคร้ังนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม
เพอ่ื จา้ หนา่ ยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี

1. เพ่ือศกึ ษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ นา้ หอม
2. เพอื่ ศึกษาคา่ ใช้จา่ ยท่ปี ระหยัดได้จากการผลิตน้าหอม
3. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของผู้บรโิ ภคท่ีมีตอ่ การใช้นา้ หอม
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี
วทิ ยาลัยเทคนคิ พจิ ติ ร จา้ นวน 36 คน ไดม้ าโดยการเลอื กแบบเจาะจง
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีผลต่อการใช้น้าหอมและ
บนั ทกึ ตน้ ทุนจากการผลิตน้าหอม
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ด้าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยน้า
แบบสอบถามท่สี ร้างเสรจ็ แลว้ ไปทา้ การเกบ็ ข้อมลู ดว้ ยตนเอง จากกลุ่มตัวอย่างจา้ นวน 36 คน รวบรวม
แบบสอบถามท่ีได้มาจากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพ้ืนฐานการแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ และ
ใช้ผลตอบแทนโดยใช้อัตราสว่ นทางการเงิน

5.1 สรุปผลการศึกษา

จากการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตน้าหอม
เพื่อจา้ หน่าย ดงั น้ี

5.1.1 ต้นทุนในการผลติ น้าหอมเฉล่ยี ตอ่ ขวด
จากผลการศึกษา พบว่าในการผลิตน้าหอม มีต้นทุนรวมเฉลี่ย 19.86 ต่อขวด

ประกอบดว้ ย คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิต 7.52 บาทต่อขวด ค่าวัตถุดิบ 6.34 บาทตอ่ ขวด และค่าแรงงาน
6.00 บาทต่อขวด

27

5.1.2 สถานภาพและข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
จากผลการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียนนักศึกษา อยู่ในระดับ

ชั้นปวช. คิดเป็นร้อยละ 47.22 อยู่ในระดับช้ันมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 33.33 อยู่ในระดับช้ัน
ปวส. คิดเป็นร้อยละ 13.89 และอ่ืน ๆ คิดเป็นร้อยละ 5.56 เป็นเพศหญิงร้อยละ 55.56 เป็นเพศ
ชาย ร้อยละ 44.44 มีอายุระหว่าง 15 - 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 83.33 อายุระหว่าง 20 – 30 ปี
คิดเป็นร้อยละ 13.89 และมีอายุ 30 ปีขึ้นไป คดิ เป็นร้อยละ 2.78

5.1.3 ปจั จัยท่มี ีผลต่อพฤติกรรมการใชน้ า้ หอม
จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม

การใช้น้าหอมที่มีค่าเฉลี่ย 3 ล้าดับ ได้แก่ 1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปัจจัยด้านราคา และ
3. ปจั จัยดา้ นบคุ คลและสง่ เสริมการขาย

5.2 อภปิ รายผลการศึกษา

จากการสรปุ ผลการศึกษา มปี ระเดน็ สา้ คัญทคี่ วรนา้ มาอภปิ รายผล ดงั น้ี
5.2.1 ต้นทุนการผลิตน้าหอมประกอบไปด้วย 3 ส่วนที่ส้าคัญ ได้แก่ ค่าวัตถุดิบ ร้อยละ
31.92 ค่าใช้จ่ายในการผลิต ร้อยละ 37.87 และค่าแรงงาน ร้อยละ 30.21 เห็นได้ว่าในการผลิต
น้าหอมมสี ดั สว่ นของค่าใชจ้ ่ายในการผลิตมาก ทงั้ น้ีเนื่องจากการผลติ น้าหอมมีคา่ บรรจภุ ณั ฑม์ ากท่สี ดุ

5.2.2 การศึกษาความคิดเห็นและพฤติกรรมการใช้น้าหอมของผู้บริโภคทุกปัจจัยมีผลต่อการ
ตดั สินใจของผู้บริโภคในการเลือกซ้ือน้าหอม ทั้งปัจจัยดา้ นผลิตภัณฑ์ ปจั จัยดา้ นราคา ปจั จัยด้านบุคคล
และส่งเสริมการขาย ดังน้ันในการตัดสินใจประกอบกิจการท้าน้าหอมให้ความส้าคัญกับทุกปัจจัย ซ่ึงมี
ผลตอ่ ก้าไรและคู่แขง่ ขนั ได้

28

5.3 ขอ้ เสนอแนะ
5.3.1 ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั นี้
ในการผลิตน้าหอมมีต้นทุนในการท้าที่ต่้ากว่าตามท้องตลาด จึงควรพิจารณาหา

แนวทางในการเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการท้าเพอ่ื ใหไ้ ด้นา้ หอมท่ีมคี ุณภาพและต้นทนุ ทตี่ ้่าลง

5.3.2 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
ควรศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของน้าหอม เพื่อเพิ่มปริมาณการ

ผลิตคร้ังต่อไปและเพ่ิมยอดขายให้สูงขึ้น เช่น การท้าให้มีหลากหลายสีและรสชาติท่ีแตกต่างออกไป
จากเดิม แลว้ นา้ มาเปรยี บเทยี บต้นทุนของผลิตภัณฑ์เดิม

บรรณานุกรม

สุธาทิพย์ พัวพงศ์และบุญญรัตน์ สัมพันธ์วัฒนชัย “ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์
กับพฤตกิ รรมการตัดสนิ ใจซอื้ น้าหอม”, [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก

: https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sun17/6114070026.
[สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 7 ธนั วาคม 2564]

นุจรี เตชะสุกิจ “ประสิทธิภาพการสื่อสารทางการตลาดท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อน้าหอม
ต่างประเทศ” , [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก

: http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/1611.
[สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 7 ธันวาคม 2564]

โชติรส นมุ่ มศี รี “ปจั จัยท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมการเลอื กซ้ือนา้ หอม”, [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก
: https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sun17/6114070026.

[สืบค้นเม่ือวันที่ 7 ธนั วาคม 2564]

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษา
แบบสอบถามความคดิ เห็นเกยี่ วกับปจั จัยที่มผี ลต่อการใช้นา้ หอม

แบบสอบถามฉบับน้ีจัดทาขึ้นโดย นักศึกษากลุ่มโครงงานการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิต
นา้ หอมเพอื่ จาหนา่ ย มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ต้องการทราบข้อมูลเก่ยี วกับผลติ ภณั ฑ์นา้ หอมที่ผลิตขึ้น

ทำสแกน QR-CODE ทำงดำ้ นบนเพ่อื เข้ำสู่เว็บไซตต์ อบแบบสอบถำม
หรอื เข้ำไปท่ีเวบ็ ไซต์ https://me-qr.com/7630773

8/2/65 10:36 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการใช้น้ำหอม

แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการใช้

น้ำหอม

*จำเป็ น

ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

โปรดให้รายละเอียดที่เกี่ยวกับตัวท่าน โดยเลือกข้อความตามความเป็ นจริง

1 1. เพศ
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ชาย
หญิง

2 2. อายุ

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ต่ำกว่า 15 ปี
15 - 20 ปี
20 - 30 ปี
30 ปี ขึ้นไป

3 3. ระดับการศึกษา

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส)
อื่น ๆ

https://docs.google.com/forms/d/1btbVQ5AqsOfIA4xPAo-EiiMtvPSDsij32YTYLER5_8o/edit 1/3

8/2/65 10:36 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการใช้น้ำหอม

4 4. อาชีพ

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

นักเรียน - นักศึกษา
ครูและบุคลากร
อื่น ๆ

ตอนที่ 2 ระดับคะแนนความพึงพอใจที่มีต่อการใช้น้ำหอม เกณฑ์ระดับความประเมิน

5 = พึงพอใจมากที่สุด

4 = พึงพอใจมาก

3 = พึงพอใจปานกลาง

2 = พึงพอใจน้อย

1 = พึงพอใจน้อยที่สุด

5 5. จงเลือกข้อที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับการใช้น้ำหอม 2 1

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น
543

ความหอม

คุณภาพของผลิตภัณฑ์

ขนาดและรูปแบบของบรรจุภัณฑ์

ราคาเหมาะสมกับคุณภาพและปริมาณ

การโฆษณา การประชาสัมพันธ์

การให้บริการของผู้ขาย

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
6

เนื้อหานี้มิได้ถูกสร้างขึ้นหรือรับรองโดย Google 2/3

ฟhttps://docs.google.com/forms/d/1btbVQ5AqsOfIA4xPAo-EiiMtvPSDsij32YTYLER5_8o/edit

8/2/65 10:36 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการใช้น้ำหอม

 ฟอร์ม

https://docs.google.com/forms/d/1btbVQ5AqsOfIA4xPAo-EiiMtvPSDsij32YTYLER5_8o/edit 3/3

33
ภาพท่ี 1 ภาพการสง่ เวบ็ ไซตใ์ ห้ศกึ ษาตอบแบบสอบถามออนไลน์
ภาพท่ี 2 ภาพการส่งเวบ็ ไซต์ให้นักศกึ ษาตอบแบบสอบถามออนไลน์

ประทับเวลา 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดบั การศึกษา 4. อาชีพ 5. จงเลอื กขอ ทตี่ รงกับความค5ดิ .เหจ็นงเขลออื งกทขาอ นทเกีต่ ยี่รงวกับคกวาารมใชค
20 - 30 ป 55
29/12/2021, 20:45:41 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สงู น(กั ปเวรสีย)น - นกั ศกึ ษา 55
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 20:45:59 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวชน)กั เรียน - นักศึกษา 45
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 20:47:33 หญิง 15 - 20 ป ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวชน)กั เรียน - นกั ศึกษา 55
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 20:57:31 หญิง 30 ปข ึ้นไป ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวชน)ักเรียน - นกั ศึกษา 54
15 - 20 ป 54
29/12/2021, 20:58:21 หญิง 15 - 20 ป มัธยมศึกษา นกั เรยี น - นกั ศกึ ษา 55
15 - 20 ป 45
29/12/2021, 21:01:03 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชน)กั เรยี น - นักศึกษา 54
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:01:14 ชาย 15 - 20 ป มัธยมศกึ ษา นักเรยี น - นกั ศกึ ษา 55
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:03:58 ชาย 15 - 20 ป อน่ื ๆ อืน่ ๆ 55
20 - 30 ป 54
29/12/2021, 21:04:03 หญงิ 15 - 20 ป มัธยมศกึ ษา นักเรยี น - นกั ศกึ ษา 55
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:04:28 หญงิ 15 - 20 ป มธั ยมศึกษา นกั เรียน - นกั ศกึ ษา 44
15 - 20 ป 45
29/12/2021, 21:04:42 หญิง 15 - 20 ป มธั ยมศกึ ษา นกั เรียน - นกั ศกึ ษา 55
15 - 20 ป 54
29/12/2021, 21:05:25 หญงิ 15 - 20 ป มัธยมศกึ ษา นักเรยี น - นักศึกษา 55
20 - 30 ป 44
29/12/2021, 21:06:28 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชน)กั เรยี น - นักศกึ ษา 55
20 - 30 ป 44
29/12/2021, 21:07:17 หญิง 20 - 30 ป ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวชน)กั เรียน - นักศึกษา 55
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:12:16 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวชน)ักเรยี น - นักศกึ ษา 54
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:13:10 หญิง 15 - 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวชน)ักเรยี น - นกั ศกึ ษา 45
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:20:56 ชาย 15 - 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู น(กั ปเวรสีย)น - นักศึกษา 54
15 - 20 ป 55
29/12/2021, 21:22:37 หญงิ 15 - 20 ป มธั ยมศึกษา นกั เรียน - นกั ศึกษา 32

29/12/2021, 21:25:43 หญงิ มธั ยมศึกษา นกั เรียน - นักศึกษา

29/12/2021, 21:27:45 หญงิ มัธยมศึกษา นักเรียน - นักศกึ ษา

29/12/2021, 21:31:31 หญงิ มัธยมศกึ ษา นักเรยี น - นักศึกษา

29/12/2021, 21:33:44 ชาย มัธยมศึกษา นักเรยี น - นกั ศกึ ษา

29/12/2021, 21:51:35 ชาย ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู น(กั ปเวรสยี )น - นักศกึ ษา

29/12/2021, 22:02:47 หญิง ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน)ักเรยี น - นักศกึ ษา

29/12/2021, 22:15:20 ชาย ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสงู อ(่นื ปวๆส)

30/12/2021, 0:06:30 ชาย ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวชน)ักเรยี น - นักศกึ ษา

30/12/2021, 0:25:33 ชาย ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูงน(กั ปเวรสีย)น - นกั ศกึ ษา

30/12/2021, 2:49:14 ชาย อ่ืน ๆ นักเรยี น - นักศึกษา

30/12/2021, 7:06:57 หญงิ มัธยมศกึ ษา อื่น ๆ

30/12/2021, 8:20:25 หญิง ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวชน)ักเรียน - นกั ศกึ ษา

30/12/2021, 8:21:26 หญงิ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน)กั เรียน - นักศึกษา

30/12/2021, 8:22:05 หญิง ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชน)ักเรยี น - นกั ศกึ ษา

30/12/2021, 8:27:37 หญิง ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชน)กั เรียน - นักศึกษา

30/12/2021, 8:51:21 ชาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชน)กั เรยี น - นกั ศกึ ษา

30/12/2021, 10:34:06 หญงิ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชน)กั เรียน - นักศึกษา

31/12/2021, 13:56:11 ชาย ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชน)กั เรยี น - นกั ศึกษา

ชค5ิดน .เํ้าหจหน็ งอเขมลออื [งคกทขวา าอ นมทเหก่ตี อ่ยีรมงว]กับคกวาารมใชค5ิดน.เํา้ หจห็นงอเขมลออื [งคกทขณุ า อ นภทาเกีต่ พยี่รขงวอกงับผคกลวาิตารภมใณัชค5ิดน ฑ.เํา้ ห]จหน็ งอเขมลอือ[งขกทขนา อานดทเแกตี่ ลยี่ระงวรกูปับแคกบวาบารมขใชคอ5ิดงน .บเํ้าหจรห็นรงอจเขมลภุ ออื [ณั งรกทาขฑาคอ]นาทเหกต่ี ย่ีมรงวากะสบั มคกกวาับารมใคชคณุ ิดน ภเํา้ หาหพน็ อแขมลอ[ะงกปทารา รมิ นโาฆเณกษี่ย]ณวกาบั การใปชระน ชา้ํ าหสอมั มพ[ันกธา]รใหบ รกิ ารของผขู าย]
5444
5555
5555
4 5 4 5-
4545
5555
5555
5 4 4 4 คมิ โิ นโตะ
5545
4455
5 4 5 5.
3544
5555
5544
5555
5555
4455
5555
5 5 5 5-
4444
5544
5 5 5 5 ไมมี
5544
5 5 5 5-
5 5 4 5 หอมรญั จวนใจ.
5 5 5 5-
4455
5535
5555
5545
5555
5545
5555
4535
5555
3245

ภาคผนวก ข

แบบเสนอหัวข้อและเคา้ โครง
โครงงานการศกึ ษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ น้าหอมเพื่อจา้ หนา่ ย

แบบเสนอโครงงาน

1. ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศกึ ษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ น้าหอมเพือ่ จา้ หน่าย
ชือ่ โครงงาน (ภาษาองั กฤษ) Cost and return study on producing Perfume for sale

2. ประเภทของโครงงาน
 สิ่งประดิษฐ/์ นวัตกรรม
 ศกึ ษาทฤษฎีและหลกั การ
 ศกึ ษาคน้ คว้าทดลอง
 ส้ารวจรวบรวมข้อมูล

3. รายชอ่ื ผู้จัดท้าโครงงาน หนนุ เมอื ง รหสั นกั ศึกษา 62202011132
3.1 นางสาววรัญญา เจรญิ สขุ รหสั นักศกึ ษา 62202011138
3.2 นางสาวสุภสั สร

4. ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นางสาวนศิ ารตั น์ ไม้สนธิ์

5. ความส้าคญั ของโครงงาน/หลกั การและเหตผุ ล
น้าหอม เป็นสารละลายที่มีส่วนผสมของน้ามันหอมระเหย สารประกอบท่ีให้กลิ่นหอมมี

แอลกอฮอล์และน้า โดยเอเวอร่ี กิลเบิร์ต นักจิตวิทยาด้านประสาทสัมผัสท่านหนึ่ง ซ่ึงเป็นที่ปรึกษาใน
อุตสาหกรรมน้าหอมกล่าววา่ กลิ่นจะต้องเป็นโมเลกุลขนาดเล็กท่ีเบาพอจะลอยอยู่ในอากาศได้ ทังนีเซลล์ท่ีมี
ความส้าคัญในการรับรู้กลิ่นก็คือเซลล์ประสาทรับกล่ินที่อยู่ภายในจมูก ส่วนผสมหลักของน้าหอมคือ น้ามัน
หอมระเหย แอลกอฮอล์และน้า ส้าหรับส่วนผสมอย่างแอลกอฮอล์และน้า นันถูกน้ามาใช้เป็นตัวท้าละลาย
ในการเจือจางน้ามันหอม เพื่อให้น้าหอมมีจุดแข็งของกล่ินท่ีแตกต่างกัน นอกจากนีน้าหอมยังสามารถ
นา้ มาใช้ในการเพ่ิมความหอมให้กบั ร่างกาย ดึงดดู ความสนใจต่อคนรอบข้าง แลว้ ยงั น้ามาใชใ้ นการดบั กลิน่ อับ
อนั ไมพ่ ึงประสงคอ์ กี ด้วย

ในปัจจุบันมีน้ามันหอมระเหยที่ได้มาจากธธรมชาติและน้ามันหอมที่สังเคราะห์ได้จากสารเคมีใน
ห้องปฏิบัติการ ส่วนใหญ่น้าหอมท่ีถูกผลิตขึนจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารสังเคราะห์มากกว่าเน่ือง

ด้วยมีการควบคุมคุณภาพและกระบวนการผลิต ดังนันการเลียนแบบกล่ินหอมจากธรรมชาติด้วยสารท่ี
สังเคราะห์จากกล่ินของดอกไม้จึงเป็นท่ีนิยม เช่น กุหลาบ มะลิ ดอกบัว ดอกแก้ว ลาเวนเดอร์ ฯ ท้าให้มี
น้าหอมเพิ่มขึนหลากหลายชนิด และมีความส้าคัญมากในการใช้ชีวิตประจ้าวัน ท้าให้ส่งผลกระทบต่อราคา
นา้ หอมที่แพงขึนตามวัตถดุ บิ และขนั ตอนในการผลติ รวมไปถึงความนิยมและความทนั สมยั ของน้าหอม

จากข้อมูลข้างต้นผู้จัดท้ามีความสนใจและมองเห็นช่องทางธุรกิจที่จะท้าเร่ืองการศึกษาต้นทุนและ
ผลตอบแทนในการท้าน้าหอม เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของผู้บริโภค ดังนันในการศึกษาครังนีจงึ มุ่งเน้นท่ี
จะศึกษาต้นทุนและผลตอบแทน เพ่ือน้าข้อมูลที่ได้มาพิจารณาเปรียบเทียบต้นทุนในการจ่ายซือ และน้ามา
ผลิตเปน็ รายไดเ้ สรมิ ต่อไปในอนาคต

6. วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน
6.1 เพอื่ ศึกษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการทา้ นา้ หอม
6.2 เพ่ือศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้ใชท้ ม่ี ตี อ่ น้าหอม
6.3 เพ่ือใหม้ ปี ระสบการณ์และน้ามาประกอบอาชพี เปน็ รายได้เสรมิ

7. ขอบเขตของโครงงาน
7.1 ดา้ นตัวแปร
-
7.2 ดา้ นเนอื หา
การวจิ ัยครงั นีเปน็ การศกึ ษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ น้าหอม ดังนี
7.2.1 ศกึ ษาตน้ ทนุ การผลติ นา้ หอม ตงั แต่ขนั ตอนการเตรยี ม การทา้ ไปจนถึงขนั ตอนการ
จา้ หนา่ ย และวิเคราะห์โครงสร้างต้นทนุ ในการผลติ นา้ หอม
7.2.2 ศึกษาผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนผลิตนา้ หอม
7.3 ดา้ นเวลา
พฤศจิกายน 2564 - กุมภาพนั ธ์ 2565
7.4 แบบรา่ ง (ถ้ามี)
-


Click to View FlipBook Version