The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟเพื่อจำหน่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supattar Noisomwong, 2022-05-23 00:00:27

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟเพื่อจำหน่าย

การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟเพื่อจำหน่าย

การศกึ ษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ สบู่สครบั กากกาแฟ

นางสาวทนิ ประภา จนั ทวงค์ รหสั ประจาตัว 62202011116

นายพชั รพล แก้วอารีลักษณ์ รหัสประจาตวั 62202011123

นางสาวแพรวา ปิยัง รหสั ประจาตวั 62202011126

ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ
สาขาวชิ า การบัญชี สาขางาน การบญั ชี ห้อง 1

ครทู ีป่ รกึ ษา
นางสาวกรรตั น์ คาดา

วิทยาลัยเทคนิคพจิ ิตร อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั พจิ ติ ร
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

การศกึ ษาตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ สบู่สครบั กากกาแฟ

นางสาวทนิ ประภา จนั ทวงค์ รหสั ประจาตัว 62202011116

นายพชั รพล แก้วอารีลักษณ์ รหัสประจาตวั 62202011123

นางสาวแพรวา ปิยัง รหสั ประจาตวั 62202011126

ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ
สาขาวชิ า การบัญชี สาขางาน การบญั ชี ห้อง 1

ครทู ีป่ รกึ ษา
นางสาวกรรตั น์ คาดา

วิทยาลัยเทคนิคพจิ ิตร อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั พจิ ติ ร
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ใบรบั รองโครงงาน

รายวชิ า โครงงาน รหัสวิชา 20201-8501 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

ช่อื โครงงาน การศึกษาความเปน็ ไปได้ในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ

ผู้รับผดิ ชอบโครงงาน 1. นางสาวทนิ ประภา จนั ทวงค์ รหัสประจาตัว 62202011116

2. นายพชั รพล แกว้ อารลี กั ษณ์ รหสั ประจาตัว 62202011123

3. นางสาวแพรวา ปิยัง รหัสประจาตัว 62202011126

ครูทปี่ รึกษา นางสาวกรรัตน์ คาดา

ปกี ารศึกษา 2564

ได้รับอนุมัติให้เป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษารายวิชาโครงงาน สาขาวิชา การบญั ชี

หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2562

คณะกรรมการสอบโครงงาน

ลงชื่อ..............................................ประธาน
(นางสาวจารุณี จุลบตุ ร)

ลงชื่อ..............................................กรรมการ
(นางสาวกรรัตน์ คาดา)

ลงชอื่ ..............................................กรรมการและเลขานุการ
(นางสาวอรวลญั ช์ น้อยสมวงษ์)

ลงชอื่ ..............................................หวั หน้าแผนกวิชา
(นางสาวมณฑกาญจน์ ทศแก้ว)

ลงชอ่ื ..............................................รองผูอ้ านวยฝา่ ยวิชาการ
(นายอศิ รา อยู่ย่ิง)

ลงชอ่ื ..............................................ผู้อานวยการวทิ ยาลัย
(นายชัยณรงค์ คชั มาตย์)

ชือ่ โครงงาน การศกึ ษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสครบั กากกาแฟ
ผูจ้ ัดทา นายพชั รพล แก้วอารลี ักษณ์
นางสาวแพรวา ปิยัง
สาขาวิชา นางสาวทินประภา จนั ทวงค์
คณุ ครูที่ปรึกษา การบญั ชี
ครูผู้สอน นางสาวกรรตั น์ คาดา
ปกี ารศึกษา นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ์
2564

บทคัคยอ่

การศึกษาครง้ั น้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อ 1) เพ่ือศึกษาต้นทุนในการผลิตสครับกากกาแฟ
2) เพื่อศึกษาค่าใช้จ่ายที่ประหยัดในการผลิตสครับกากกาแฟ 3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจ
ของนักศึกษาที่มีต่อการให้ความรเู้ ก่ยี วกบั การผลิตสครบั กากกาแฟ

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาตามโครงงานสบู่สครับกากกาแฟเพ่ือจาหน่าย ได้แก่ นักเรียน
นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคพิจิตร จานวน 36 คน กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกจากนักเรียน
นักศกึ ษาท่ีสนใจสบูส่ ครบั กากกาแฟ

เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา ไดแ้ ก่ แบบสอบถามความคดิ เห็นกับปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการ
บริโภคสครับกากกาแฟ โดยใช้แบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ลาดับ และนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
ขอ้ มลู โดยใชส้ ถติ ิพื้นฐานการแจกแจงความถี่ และคา่ รอ้ ยละ

ผลการศกึ ษา พบวา่
1. ตน้ ทนุ ในการผลติ สบสู่ ครบั กากกาแฟ เฉล่ีย 12.25 บาทตอ่ ก้อน
2. ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการผลิตสบู่สครับกากกาแฟต่อก้อน ในปริมาณ 50 กรัม
ในราคา 21.50 บาท และคา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ 7.50 บาทตอ่ กอ้ น



กติ ตกิ รรมประกาศ

การจัดทารายงานโครงงานคร้ังนี้ สาเร็จลุล่วง ได้อย่างดีด้วยความอนุเคราะห์และความ
กรณุ า ให้คาปรกึ ษา ตง้ั แตต่ ้นจนเสรจ็ สมบูรณ์ ตลอดจนให้ความรู้และประสบการณ์ที่ดีแก่ข้าพเจ้า
จาก นางสาวอรวลัญช์ น้อยสมวงษ์ ครูผู้สอนวิชาโครงงาน ผู้ศึกษาขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้
ณ โอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณ นางสาวกรรัตน์ คาดา ครูท่ีปรึกษาโครงงานท่ี ได้กรุณาให้
คาแนะนา และให้คาปรึกษาตลอดจนให้ความช่วยเหลือแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เพ่ือให้จัดทา
โครงงานฉบบั นม้ี คี วามสมบรู ณ์ ผู้จัดทาโครงงานขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงและขอบขอบคุณคณะ
อาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชา บ่มเพาะจนผู้ศึกษาสามารถนาเอาหลักการมาประยุกต์ใช้
และอา้ งองิ ในการจัดทาโครงงานคร้ังน้ี อีกท้ัง บิดา มารดา ญาติ พี่น้องและเพื่อน ๆ ของผู้จัดทา
โครงงาน ซึง่ ใหก้ าลงั ใจและความช่วยเหลอื มาโดยตลอด

คุณค่าอันพึงมีจากการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับน้ี ขอมอบเพ่ือบูชาคุณพระบิดา มารดา
ครอู าจารย์ และผ้มู พี ระคณุ ทกุ ทา่ น

ทนิ ประภา จันทวงค์
พชั รพล แกว้ อารลี ักษณ์

แพรวา ปยิ ัง



สารบญั หนา้

บทคัดย่อ ข
กิตตกิ รรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง จ
สารบญั ภาพ
บทที่ 1
1. บทนา 2
2
1.1 ความสาคญั และความเป็นมาของปัญหา 2
1.2 วตั ถุประสงคใ์ นการศึกษา
1.3 ขอบเขตในการศึกษา 3
1.4 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 4
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง 9
2.1 หลักการและแนวคดิ เกย่ี วกับต้นทนุ 15
2.2 ความรเู้ กย่ี วกบั ค่าใชจ้ า่ ยในครัวเรือน
2.3 งานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง 16
2.4 กรอบแนวคดิ ในการจดั ทาโครงงาน 16
3. วิธีดาเนินการศึกษา 16
3.1 กลมุ่ เปา้ หมายท่ีใช้ในการศึกษา 17
3.2 เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการศึกษา 17
3.3 วธิ ีดาเนนิ การศกึ ษา 17
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การวเิ คราะหข์ ้อมลู
3.6 สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล



สารบัญ (ต่อ)

หน้า

4. ผลการศกึ ษา

4.1 ข้อมูลตน้ ทนุ และผลตอบแทนของการประกอบกิจการสบ่สู ครับกากกาแฟ 18

4.2 ขอ้ มูลภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 23

4.3 ขอ้ มลู ปัจจยั ที่มีผลต่อพฤติกรรมการใชส้ บู่สครับกากกาแฟ 27

5. สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรุปผลการศึกษา 28

5.2 อภปิ รายผล 29

5.3 ขอ้ เสนอแนะที่ใชไ้ ดจ้ ากการศกึ ษา 29

บรรณานุกรม 30

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสอบถามความคิดเหน็ เก่ียวกบั ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม

ผ้บู รโิ ภคสบ่สู รับกากกาแฟ 32

ภาคผนวก ข แบบเสนอหวั ขอ้ โครงการและเค้าโครง โครงงานศึกษาตน้ ทุนและ

ผลตอบแทนเพ่ือการตดั สินใจประกอบกิจการจาหนา่ ย

สบู่สครบั กากกาแฟ 39

ภาคผนวก ค แสดงภาพการลงพน้ื ท่ีการเก็บขอ้ มลู ความคิดเห็นเก่ยี วกับปัจจัย

ทมี่ ผี ลตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภคสบสู่ ครับกากกาแฟ

และการผลิตสบู่สครับ 46

ภาคผนวก ง บัญชี การศกึ ษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ

สครบั กากกาแฟ 53

ภาคผนวก จ ภาพครผู ู้สอนและท่ปี รึกษาโครงงาน

ประวตั ิผ้จู ดั ทาโครงงาน 66



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า
4.1.1 เงนิ ลงทนุ เร่มิ แรกร้านสบู่สครบั กากกาแฟแบบขายในวทิ ยาลัยเทคนคิ พิจิตร 22
4.1.2 ตน้ ทุนค่าวตั ถดุ บิ ในการผลติ สบูส่ ครบั กากกาแฟ 23
4.1.3 แสดงต้นทนุ ค่าแรงงานในการผลติ สบสู่ ครบั กากกาแฟ 23
4.1.4 แสดงต้นทนุ คา่ ไฟฟ้าที่ใชใ้ นการทาสบสู่ ครบั กากกาแฟ 24
4.1.5 แสดงข้อมลู สนิ ทรัพย์ และค่าเส่ือมราคาอปุ กรณ์ 24
4.1.6 แสดงขอ้ มูลตน้ ทุนค่าใชจ้ ่ายในการผลิต เฉลยี่ ตอ่ ก้อน 25
4.17 แสดงข้อมูลต้นทนุ ในการผลติ สบู่สครบั กากกาแฟ เฉลี่ยต่อก้อน 25
4.1.8 แสดงตน้ ทุนของราคาขายต่อก้อน ของผลิตภัณฑ์สบ่สู ครบั กากกาแฟ 26
4.1.9 แสดงกาไรขัน้ ตน้ จากการขายสบูส่ ครับกากกาแฟ เฉลี่ยต่อกอ้ น 26
4.1.10 แสดงการคานวณหาอตั ราผลตอบแทนจากการทาสบูส่ ครบั กากกาแฟ 27
4.2.1 แสดงจานวน (คา่ ความถ่ี) และค่ารอ้ ยละของขอ้ มลู สถานภาพ
และข้อมลู ทัว่ ไปจาแนกตามเพศ 27
4.2.2 แสดงจานวน (ค่าความถี่) และคา่ ร้อยละของข้อมลู สถานภาพ
และข้อมูลทัว่ ไปจาแนกตามอายุ 28
4.2.3 แสดงจานวน (คา่ ความถี่) และคา่ รอ้ ยละของขอ้ มลู สถานภาพ
และข้อมลู ท่ัวไปจาแนกตามสถานภาพ 28
4.2.4 แสดงจานวน (ค่าความถ่ี) และคา่ ร้อยละของข้อมลู สถานภาพ
และข้อมลู ท่ัวไปจาแนกตามระดบั การศึกษา 29
4.2.5 แสดงจานวน (ค่าความถ่ี) และค่าร้อยละของขอ้ มูลสถานภาพ
และขอ้ มูลทัว่ ไปจาแนกตามแหลง่ เงินทนุ 29
4.3.1 แสดงคา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนแบบมาตรฐาน
ความพงึ พอของลกู ค้าท่ีมีต่อการใชส้ บ่สู ครบั กากกาแฟ 30
4.4 ขอ้ มลู เกี่ยวกบั การผลติ สบสู่ ครับกากกาแฟ 31

สารบญั รูปภาพ หนา้
15
ภาพที่ 38
1 แสดงแนวคิดในการจัดทาโครงงาน 47
2 ภาพผตู้ อบแบบสอบถาม 50
3 ภาพวตั ถุดบิ ทีเ่ ป็นส่วนผสมในการทาสบ่สู ครับกากกาแฟ 52
4 ภาพการทาสบ่สู ครบั กากกาแฟ 55
5 ภาพสบู่สครบั กากกาแฟพรอ้ มจาหนา่ ย 67
6 ภาพการจาหน่ายสนิ คา้ 68
7 ภาพพบครูอาจารย์ผสู้ อน
8 ภาพพบครูทป่ี รึกษาโครงงาน



บทท่ี 1

บทนำ

1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ

กาแฟ เปน็ เครื่องด่ืมท่ีทามาจากเมล็ดซึ่งได้จากต้นกาแฟหรือท่ีมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟค่ัว
ในปจั จบุ ันมีการปลูกกาแฟมากกว่า 70 ประเทศท่ัวโลก กาแฟเขยี ว ซ่ึงเปน็ กาแฟท่ีไม่ผ่านการค่ัว ก็
เปน็ อกี หนึ่งสนิ ค้าทางการเกษตรทมี่ กี ารซ้อื ขายกันมากทีส่ ุดในโลก และในปัจจุบันกาแฟได้ กลายเป็น
เครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมมากท่ีสุดด้วย เมื่อ “กาแฟ” เป็นเคร่ืองดื่มยอดนิยมของผู้คน ทั่วโลกจึง
ทาให้เกดิ สิ่งท่เี รียกวา่ “กากกาแฟ” เปน็ จานวนมากตามไปด้วยสว่ นใหญ่ก็จะท้ิงมันไป อย่างไม่ สนใจ
ใยดี เพราะเข้าใจวา่ ไมส่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนอ์ ะไรได้อีกแลว้ แต่สาหรับเรา มันคือส่งิ ทีม่ คี ่ามาก

ผงกาแฟมีประโยชน์ท่ีน่าอัศจรรย์ต่อผิวสามารถนาผงกาแฟที่มีคุณภาพผสมเข้ ากับ
ส่วนผสมธรรมชาติอื่น ๆ ทาเป็นสครับกาแฟขัดผิวเพ่ือผิวจะเห็นผลได้ชัดเจนทันทีและดีย่ิงข้ึน
สครับกาแฟมีประโยชน์มากมายหลายอย่าง ทั้งช่วยให้ผิวดูอ่อนเยาว์, ป้องกันการอักเสบ, ลดเซลลูไลท์
ลดรอยแตกลาย, ช่วยการไหลเวียนของเลือด, ลดอาการบวมที่ตา, ช่วยให้ผิวเรียบเนียนสม่าเสมอ
ประโยชน์ของคาเฟอีนท่ีอยู่ในสครับกาแฟนอกจากสครับกาแฟจะช่วยผลัดเซลล์ผิวเก่า เผยเซลล์ผิว
ใหม่ที่ดีกว่าแล้ว คาเฟอีนที่อยู่ในกาแฟก็ถือว่าเป็นส่วนสาคัญท่ีช่วยให้ผิวดีข้ึนอีกด้วยคาเฟอีนเป็น
ส่วนประกอบที่พบได้ใน ใบชา เมล็ดกาแฟ ในทางการแพทย์ คาเฟอีนถูกนามาใช้กระตุ้นระบบ
ประสาท เพื่อให้ระบบประสาททางานได้อย่างมีประสิทธิภาพคนส่วนใหญ่จะทราบแค่ว่าการดื่ม
กาแฟมีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ ส่วนน้อยที่จะทราบว่ากาแฟมีผลต่อผิวพรรณของคนเรา
คาเฟอีนจะช่วยให้ผิวกระชับ นั่นเป็นเหตุทาให้ลดเซลลูไลท์ได้ นอกจากน้ียังช่วยลดอาการบวม
และอักเสบได้เป็นอยา่ งดี

จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ผู้จัดทาโครงงานมีความรู้เกี่ยวกับการทาสครับกากกาแฟ
ผสมเข้ากบั ส่วนผสมธรรมชาติตา่ ง ๆ จนทาให้เกดิ สครับกากกาแฟหลากหลายสูตรให้เข้าถึงปัญหาผิว
ของผใู้ ช้ในแต่ละคน จึงมีแนวคิดทศ่ี ึกษาต้นทนุ ของการทาสครบั กากกาแฟ เพ่อื นาข้อมูลที่ได้พิจารณา
เปรยี บเทียบตน้ ทนุ ในการจ่ายซ้อื สครับกากกาแฟ

2

2. วตั ถปุ ระสงค์ของกำรศกึ ษำ
2.1 เพอื่ ศึกษาต้นทุนในการผลติ สครับกากกาแฟ
2.2 เพื่อศึกษาคา่ ใชจ้ ่ายที่ประหยัดในการผลติ สครบั กากกาแฟ
2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อการให้ความร้เู กีย่ วกับการผลติ

สครับกากกาแฟ

3. ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

3.1 ด้านตัวแปร
-

3.2 ด้านเนือ้ หา
เป็นการศึกษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ สคบั กากกาแฟเพื่อจาหน่าย
1) ศึกษาต้นทุนการผลิตสคบั กากกาแฟ ต้งั แต่ขน้ั ตอนการเตรียมการทาไป

จนถึงขนั้ ตอนการจาหน่าย และวเิ คราะห์ครงสร้างต้นทุนในการผลติ สคับกากกาแฟ
2)ศกึ ษาผลตอบแทนทไ่ี ดร้ บั จากการลงทุนผลิตสบสู่ คับกากกาแฟ

3.3 ดา้ นเวลา
พฤศจิกายน 2564 - กมุ ภาพันธ์ 2565

4. นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ

ตน้ ทุน หมายถงึ ต้นทุนทง้ั ส้ินของการผลติ สครับจากกากกาแฟ
คา่ ใชจ้ า่ ยที่เป็นรายได้ หมายถงึ ผลต่างระหวา่ งตน้ ทนุ การผลิตสครบั กากกาแฟกบั
คา่ ใช้จา่ ยเกี่ยวกบั การซื้อและทาสครับกากกาแฟ

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง

การศึกษาครั้งน้ี เป็นการจัดทาโครงงานศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการทา
สบูส่ ครับกากกาแฟ ผ้จู ัดทาโครงการได้ศึกษาหลัก แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ยี วข้องดังน้ี

2.1 หลกั การและแนวคดิ เกีย่ วกับตน้ ทนุ
2.2 หลักการและแนวคิดเกยี่ วกับผลตอบแทน
2.3 ข้อมูลการทาสบสู่ ครบั กากกาแฟของวิทยาลยั เทคนคิ พิจิตร
2.4 งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง
2.5 กรอบแนวคิดในการจัดทาโครงงาน

2.1 หลักการและแนวคิดเกีย่ วกบั ต้นทุน

2.1.1 ความหมายของต้นทนุ
ต้นทุน คือ ทรัพยากรท่ีต้องเสียไปเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์ในรูปของสินทรัพย์หรือ
บริการ และจะใช้ประโยชน์ในอนาคต เช่น ต้นทุนของอาคารที่ยังเหลืออยู่หลังจากหักในส่วนที่
บริการคุ้มครองแล้วในงวดปัจจุบัน สินค้าคงเหลือที่ยังไม่ได้จาหน่ายออกไป เป็นต้น ต้นทุนท่ียัง
ไม่ได้ใช้ประโยชน์เหล่านี้ จะแสดงเป็นสินทรัพย์อยู่ในงบดุล ณ วันส้ินงวด มูลค่าของทรัพยากร
ท่ีสูญเสียไปเพ่ือให้ได้สินค้าหรือบริการ โดยมูลค่านั้นจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา
ซง่ึ เป็นลกั ษณะของการลดลงในสินทรัพย์หรือเพิ่มข้ึนในหนี้สิน ต้นทุนท่ีเกิดข้ึนอาจจะให้ประโยชน์ใน
ปจั จบุ ันหรอื ในอนาคตก็ได้ เมื่อต้นทุนใดที่เกิดขึ้นแล้วและกิจการได้ใช้ประโยชน์ไปทั้งสิ้นแล้ว ต้นทุน
นั้นก็จะถือเป็น “ค่าใช้จ่าย” (Expenses) ดังน้ัน ค่าใช้จ่ายจึงหมายถึงต้นทุนท่ีได้ให้ประโยชน์และ
กิจการได้ใช้ประโยชน์ทั้งหมดไปแล้วในขณะนั้นและสาหรับต้นทุนที่กิจการสูญเสียไป แต่จะให้
ประโยชน์แกก่ จิ การในอนาคตเรยี กวา่ สินทรัพย์ (Assets)

4

2.1.2 ความสาคัญของตน้ ทุน

การบญั ชตี น้ ทุน (Cost Accounting) จดั เป็นวิธกี ารทางบัญชีทีท่ าหน้าท่ีรวบรวม
ขอ้ มูลทางดา้ นต้นทนุ ของธรุ กิจ ประเภทอุตสาหกรรมโดยมีวัตถุประสงค์พ้ืนฐานในการจัดทารายงาน
ทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์ และจาแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน ตามความต้องการ ของ
ผู้บริหาร ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่ธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น ที่จะต้องใช้วิธีการทางบัญชีหรือ
ข้อมูลของบัญชีต้นทุน แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัย
ธนาคาร บริษัทเงินทนุ กิจการอน่ื ๆ ท่ีได้มีการนาวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจ
ของผบู้ ริหาร อยา่ งไรกต็ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ีส่ าคญั ของขอ้ มูลทางบญั ชีต้นทุนพอสรปุ ไดด้ งั นี้

2.1.3 การแบ่งประเภทของต้นทุน

1) การจาแนกต้นทุนตามลักษณะสว่ นประกอบของผลิตภณั ฑ์
1.1) วัตถดุ ิบ
1.1.1) วัตถุดิบทางตรง (Direct materials) หมายถงึ วตั ถดุ ทิ างตรง

จะเปน็ สว่ นประกอบหลกั ของผลิตภณั ฑ์ ปรมิ าณการใช้งานจะแปรผนั กับปริมาณการผลิตโดยตรง
เชน่ วตั ถดุ บิ ทางตรงของยางรถยนต์ คือ ยางพารา วัตถดุ บิ ทางตรงของน้าดื่มบรรจุขวด คอื นา้ เปลา่
และขวดพลาสติก เปน็ ตน้ .

1.1.2) วัตถดุ ิบทางอ้อม (Indirect materials) วัตถุดบิ ทางอ้อม เป็น
วัสดุประกอบการผลิตหรือสนับสนนุ การผลติ เช่น ผา้ เชด็ มอื , สกรู, นา้ มนั หล่อเยน็ , น้ายาทาความ
สะอาดเปน็ ต้น ตน้ ทนุ การผลิตวตั ถดุ ิบทางอ้อมจะไม่แปรผันกับการผลติ โดยตรงนอกจากน้ีตน้ ทุนของ
วัตถุดบิ ทางอ้อมบางครั้งก็ถูกจดั ใหเ้ ป็นคา่ โสหยุ้ ไดเ้ ช่นกัน ในบางครง้ั การจาแนกตน้ ทุนการผลติ ของ
วัตถดุ ิบระหวา่ งตน้ ทนุ ทางตรงและตน้ ทนุ ทางอ้อมอาจจะมีการเปล่ียนแปลงไดต้ ามนโยบายดา้ นต้นทุน
ของแตล่ ะบริษัท บางคร้ังกถ็ ูกจดั ให้เปน็ ต้นทนุ ทางตรง และบางครั้งก็ถูกจัดให้เป็นต้นทุนทางอ้อมได้

1.2) ค่าแรงงาน
1.2.1) ค่าแรงงานทางตรง (Direct labor) หมายถงึ ค่าแรงงานตา่ ง ๆ

ที่จ่ายให้แก่คนงานหรือลูกจา้ งที่ทาหนา้ ท่เี ก่ยี วกับการผลติ สินค้าสาเรจ็ รปู โดยตรงเป็นค่าแรงงาน ทีมี
จานวนมากเม่ือเทยี บกับคา่ แรงงานทางอ้อมในการผลิตสนิ ค้าหน่วยหน่ึง และจดั เป็นค่าแรงงานส่วนสาคัญ
ในการแปรรปู วตั ถุดิบให้เปน็ สินคา้ สาเรจ็ รปู

5

1.2.2) ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect labor) หมายถึง ค่าแรงงานท่ี
ไม่เกี่ยวข้องกับค่าแรงงานทางตรงที่ใช้ในการผลิตสินค้า เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน เงินเดือน
พนักงานทาความสะอาดเคร่ืองจักร ตลอดจนต้นทุนท่ีเกี่ยวข้องกับคนงาน ค่าภาษีท่ีออกให้ลูกจ้าง
สวัสดิการตา่ ง ๆ เป็นต้นซึง่ ค่าแรงงานทางอ้อมเหลา่ นีจ้ ะถอื เปน็ สว่ นหนึ่งของคา่ ใชจ้ า่ ยการผลิต

1.2.3) ค่าใช้จ่ายในการผลิต หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการผลิตเป็นต้นทุน
ในการผลิตสินค้าอย่างหนึ่งได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าประกันภัยโรงงาน
ค่าซ่อมแซมโรงงาน ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับผลิตภัณฑ์ นอกจากน้ันยังมี
ค่าใช้จ่ายในการผลิตบางประเภททไี่ มอ่ าจคิดโดยตรงกบั แผนกตา่ ง ๆ ได้แกเ่ งนิ เดือนผคู้ วบคุมโรงงาน
ค่าเส่ือมราคาโรงงาน ค่าใช้จ่ายเหล่าน้ีต้องนามาคิดเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์โดยการปันส่วน
การคิดค่าใช้จ่ายในการผลิตเข้าเป็นต้นทุนผลิตภัณฑ์มีปัญหายุ่งยากหลายอย่าง วิธีเดียวท่ีใช้สะดวก
และงา่ ย คอื ใชอ้ ตั ราถวั เฉล่ยี ซ่ึงเรียกว่าเปน็ อตั ราค่าใช้จา่ ยในการผลิต

1.3) การจาแนกตน้ ทุนตามความสาคญั และลักษณ์ของตน้ ทนุ
การคานวณหาต้นทุนท่ีแท้จริงของผลิตภัณฑ์มีความสาคัญในการบริหารงาน

ท้ังด้านการตลาดและการผลิตและเพื่อการตั้งราคาขายผลิตภัณฑ์หน่ึงผลิตภัณฑ์ใดด้วย ผู้บริหาร
จาเป็นต้องใช้ข้อมูลต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆเพื่อการวางแผนธุรกิจและเพ่ือวัดผลดาเนินการของ
กิจการว่ามีกาไรหรือขาดทุน ดังนั้นข้อมูลตัวเลขของต้นทุนจึงใช้ในการประกอบการตัดสินใจของ
ผู้บริหารหรือเจา้ ของกจิ การด้วยการจาแนกประเภทของต้นทนุ ออกมาในหลายลกั ษณะที่ต่างกันเพราะ
ตน้ ทนุ ในแต่ละประเภทกจ็ ะมีวัตถปุ ระสงค์การใชใ้ นการตัดสนิ ใจแต่ละปญั หาที่ต่างกันไปซ่ึงจะส่งผลให้
การจาแนกตน้ ทนุ มีหลายมมุ มองได้และเกดิ ประโยชน์ในแตล่ ะมุมมองนั่นเอง

1.3.1) ต้นทุนขั้นต้น (Prime Costs) หมายถึง ต้นทุนรวมระหว่าง
วัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง ซ่ึงตามปกติเราจะถือว่า ต้นทุนขั้นต้นจะมีความสัมพันธ์
โดยตรง กับการผลิต รวมทั้งเป็นต้นทุนที่มีจานวนมากเมื่อเทียบกับต้นทุนการผลิตทั้งหมด
อย่างไรก็ตามในยุคปัจจุบัน การผลิตในธุรกิจบางแห่งมีการใช้เครื่องจักรมากข้ึน ทาให้ต้นทุน
ค่าแรงงานทางตรงลดลง ในลักษณะเช่นน้ีต้นทุนข้ันต้นก็จะมีความสาคัญลดลงเม่ือเทียบกับต้นทุน
แปรสภาพ

1.3.2) ต้นทุนแปรสภาพ (Conversion costs) หมายถึง ต้นทุนที่
เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพหรือเปลี่ยนรูปแบบจากวัตถุดิบทางตรงให้กลายเป็นสินค้าสาเร็จรูป ซึ่ง
ต้นทุนดังกล่าว ประกอบไปด้วยค่าแรงทางตรงและค่าจ่ายในการผลิต รวมทั้งค่าเสื่อมราคาและค่า
ซ่อมบารุงเคร่ืองจักรท่ีใช้ในกระบวนการผลิต

6

2) การจาแนกต้นทนุ ตามความสัมพันธก์ บั ระดบั ของกิจกรรม
บางคร้งั เราก็เรยี กว่า“การจาแนกต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทนุ ซง่ึ มีลักษณะ

ท่ีสาคัญ คอื เปน็ การวิเคราะห์จานวนของต้นทนุ ทจี่ ะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามปรมิ าณการผลิตหรอื
ระดบั ของกิจกรรมทีเ่ ป็นตวั ผลักดนั ใหเ้ กิดตน้ ทุน (Cost Driver) ในการผลิตทั้งที่เกี่ยวกบั การวางแผน
การควบคุม การประเมิน และวัดผลการดาเนินงาน การจาแนกต้นทุนตามความสัมพันธ์กับระดับ
ของกิจกรรม เราสามารถท่ีจะจาแนกต้นทุนได้ 3 ชนดิ คอื ต้นทนุ ผันแปร ต้นทุนคงที่ ตน้ ทนุ ผสม
อย่างไรกต็ ามแนวคดิ ในการ จาแนกตน้ ทุนใน 3 ชนิดนี้เป็นการจาแนกต้นทนุ ท่ีอยใู่ นชว่ งของต้นทุน
ทม่ี คี วามหมายต่อการตดั สนิ ใจ (Relevant range) น่นั ก็คอื เปน็ ช่วงทตี่ ้นทนุ คงที่รวม และต้นทนุ
ผันแปรต่อหน่วย ยังมลี ักษณะคงทห่ี รอื ไม่เปล่ยี นแปลง

2.1) ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) หมายถึง ต้นทุนผันแปร คือต้นทุน
ของกิจการประเภทหนึ่ง ที่กิจการเสียทรัพยากรไปเพื่อให้ได้มาซ่ึงสินค้าหรือบริการ อันจะก่อให้เกิด
ประโยชน์กับกจิ การในอนาคต ต้นทุนผันแปร หรือ Variable Cost มีลักษณะ แปรผันไปตาม
จานวนสินค้าท่ีผลิต หรือเม่ือมีการเพ่ิมขึ้นหรือลดลงของการผลิต ต้นทุนก็จะเปล่ียนแปลงตามไป
ด้วยนน่ั เอง ซึ่งจะแตกตา่ งกับตน้ ทนุ คงท่ี อา่ นเรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตน้ ทุนคงทไ่ี ด้

2.2) ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึง เป็นต้นทุนซึ่งจานวนรวมจะ
ไม่เปล่ียนแปลงไปกับการเปล่ียนแปลงของปริมาณการผลิตภายในช่วงที่พิจารณาหรือ ไม่ว่าปริมาณ
กิจกรรมจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ต้นทุนคงท่ีรวมจะไม่เปล่ียนแปลง เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมตรวจตรา
โรงงาน ค่าเสอื่ มราคาเครื่องจักร คา่ ประกันภยั โรงงานเครื่องจักร ภาษแี ละค่าเช่า ต้นทุนกึ่งผันแปร
คือ ต้นทุนที่มีลักษณะผสมท้ังที่เป็นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร น่ันคือ จานวนรวมของต้นทุนจะ
เปลีย่ นแปลงตามปรมิ าณของกิจกรรม แต่ไม่ได้แปรไปในอัตราส่วนโดยตรงกับปริมาณกิจกรรม เช่น
คา่ โทรศพั ท์ คา่ เบี้ยประกันภยั ค่ากาลงั ไฟ ค่าตรวจสอบคุณภาพสินค้าเป็นต้นต้นทุนแผนกผลิตเป็น
แผนกที่ทาการแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสาเร็จรูปโดย ใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักรา ต้นทุน
ของแผนกผลิตจะถือเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์เพราะเกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เช่น แผนกตัด
แผนกประกอบ แผนกตกแต่ง เปน็ ต้น

2.3) ต้นทุนผสม (Mixed Costs) หมายถึง ต้นทุนที่มีลักษณะของต้นทุน
คงท่ีและต้นทุนผันแปรรวมอยู่ด้วยกัน ในช่วงของการดาเนินกิจกรรมที่มีความหมายต่อการตัดสินใจ
โดยตน้ ทนุ ผสมน้ีจะแบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ ตน้ ทุนก่งึ ผนั แปร และตน้ ทนุ กึง่ คงทหี่ รอื ต้นทนุ เชิงขัน้

7

2.4) ต้นทุนก่ึงแปรผัน (Semi Variable Cost) หมายถึง ต้นทุนที่จะมี
ต้นทุนส่วนหนึ่งคงท่ีทุกระดับของกิจกรรม และ มีต้นทุนอีกส่วนหน่ึงจะผันแปรไปตามระดับของ
กิจกรรม เชน่ คา่ โทรศัพท์ ค่าโทรสาร เปน็ ต้น อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งก็เป็นการยาก ที่จะระบุ
ได้วา่ ต้นทนุ สว่ นใดเป็นตน้ ทนุ ผันแปร ดังน้ันจึงจาเป็นต้องใช้เทคนิคในการประมาณต้นทุนเข้ามาช่วย
ในการวิเคราะห์ ซึ่งเทคนิคในการประมาณต้นทุนจะได้ศึกษาต่อไปในส่วนของการบัญชีต้นทุนท่ี
เกยี่ วกบั การใช้ขอ้ มลู เพ่อื การตดั สินใจ

2.5) ตน้ ทุนเชิงข้นั (step cost) หมายถึงต้นทุนท่ีจะมีจานวนคงที่ ณ ระดับ
กิจกรรมหนงึ่ และจะเปล่ียนไปคงที่ในอกี ระดบั กจิ กรรมหน่งึ เชน่ เงินเดือน ผู้ควบคุมคนงาน ค่าเช่า
บางลักษณะ เปน็ ตน้

3) การจาแนกตน้ ทนุ ตามความสมั พันธก์ ับหน่วยตน้ ทุนในการจาแนกต้นทุนลักษณะ
นี้เราสามารถที่จะจาแนกได้ 2 ชนิด คือ ต้นทุนทางตรง และต้นทุนทางอ้อม โดยพิจารณาตาม
ความสามารถท่จี ะระบไุ ดว้ า่ ต้นทุนใดเป็นตน้ ทุนของงานใด แผนกใด หรอื เขตการขายใด เป็นต้น

3.1) ต้นทุนทางตรง (Direct cost) หมายถึงต้นทุนที่ฝ่ายบริหารสามารถท่ีจะ
ระบุได้ว่าต้นทุนใดเป็นของหน่วยต้นทุน เช่น วัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรงท่ีใช้ ในการ
ผลิตงานผลิตชิ้นใดช้ินหนึ่ง หรือค่าเส่ือมราคาเคร่ืองจักรในแผนกประกอบก็คือ ต้นทุนทางตรงของ
แผนกประกอบน่นั เอง

3.2) ต้นทุนทางอ้อม (Indirecl cost) หมายถึงต้นทุนร่วม (Common cost)
ที่เกิดข้ึนโดยไมส่ ามารถระบไุ ด้ว่าเกิดจากหนว่ ยตน้ ทุนใด โดยปกติแล้วตน้ ทนุ ทางอ้อมนี้จะถูกแบ่งสรร
ให้แก่หน่วยต้นทุนต่าง ๆ ด้วยเทคนิควิธีในการจัดสรรต้นทุน (Allocation techniques) ซ่ึงโดย
ทว่ั ไปตน้ ทนุ เก่ยี วกับการผลิตนนั้ ต้นทุนทางอ้อมกห็ มายถงึ ค่าใช้จ่ายการผลติ ของสินค้า

4) การจาแนกต้นทุนตามหน้าที่งานในสายการผลิต การคานวณหาต้นทุนที่แท้จริง
ของผลิตภัณฑ์มีความสาคัญในการบริหารงาน ท้ังด้านการตลาดและการผลิตและเพื่อการต้ังราคา
ขายผลิตภัณฑ์หนึ่งผลิตภัณฑ์ใดด้วย ผู้บริหารจาเป็นต้องใช้ข้อมูลต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
เพื่อการวางแผนธุรกิจและเพื่อวัดผลดาเนินการของกิจการว่ามีกาไรหรือขาดทุน ดังนั้นข้อมูลตัวเลข
ของตน้ ทุนจึงใช้ในการประกอบการตดั สินใจของผบู้ ริหาร หรอื เจ้าของกจิ การดว้ ยการจาแนกประเภท
ของตน้ ทุนออกมาในหลายลักษณะท่ีต่างกัน เพราะต้นทุนในแต่ละประเภทก็จะมีวัตถุประสงค์การใช้
ในการตัดสินใจแต่ละปัญหาที่ต่างกันไปซึ่งจะส่งผลให้การจาแนกต้นทุน มีหลายมุมมองได้และ
เกดิ ประโยชน์ในแตล่ ะมุมมองนัน่ เอง

8

4.1) ต้นทุนแผนกผลิต (Cost of production departments) หมายถึง
ต้นทุนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับการทางานของเคร่ืองจักร คนงาน และค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ที่เกิดขึ้นในแผนก
ผลิตสินค้าของกิจการ เช่น แผนกตัด แผนกเช่ือม แผนกประกอบ แผนกบรรจุ

4.2) ต้นทุนแผนกบริการ (Cost of service departments) หมายถึง
แผนกบริการเป็นแผนกท่ีไม่ได้ผลิตสินค้าโดยตรงแต่ให้บริการแก่แผนกอื่นท้ังท่ีเป็นแผนกผลิต
และแผนกบริการด้วยกัน เช่น แผนกบารุงรักษา แผนกบุคคล แผนกบั ญชี ฝ่ายอาหาร
และเครือ่ งด่มื

5) การจาแนกตน้ ทนุ ตามความสมั พันธ์กับเวลา
5.1) ตน้ ทุนในอดตี (Historical cost) หมายถึง ต้นทุนท่ีกิจการได้จ่ายไปจริง

ตามหลกั ฐานอนั เทย่ี งธรรมท่ีปรากฏ จานวนเงินท่ีกิจการได้จ่ายไปนั้นจึงถือเป็นมูลค่าหรือต้นทุนของ
สนิ ค้าหรือสินทรัพย์ของกิจการในอดีต แต่ต้นทุนในอดีตน้ีอาจจะไม่มีความเหมาะสมในการนามาใช้
เพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหารในปัจจุบัน ทั้งน้ีเพราะค่าของเงินในอดีตกับในปัจจุบันย่อมมีความ
แตกต่างอันเนอื่ งมากจากภาวะเงนิ เฟ้อ และความเจริญทางด้านเศรษฐกจิ

5.2) ต้นทุนทดแทน (Replacement cost) หมายถึง มูลค่า หรือราคา
ตลาดปัจจุบันของสินทรัพย์ประเภทเดียวกันกับท่ีกิจการใช้อยู่กล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือสินทรัพย์ท่ีกิจการ
เคยซ้ือมาในอดีต ถ้าต้องการที่จะซื้อใหม่ในขณะนี้จะต้องจ่ายเงินในจานวนเท่าไร ซ่ึงโดยปกติมูลค่า
หรอื ราคาตน้ ทนุ ทดแทนย่อมมีมูลค่าสูงกว่าต้นทนุ ในอดีต ทง้ั น้ีอาจจะเปน็ เพราะการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
ส่วนหน่ึงและจากการเปล่ียนแปลงในเทคโนโลยีของสินทรัพย์ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพการทางานที่
สูงขนึ้ ส่วนหนงึ่

5.3) ต้นทุนในอนาคต (Future cost) หมายถึง ต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายที่
กจิ การคาดวา่ จะเกิดขน้ึ ในอนาคต จากการตดั สินใจเร่ืองใดเรื่องหน่ึงของผู้บริหาร ซึ่งต้นทุนในอนาคต
น้ันอาจจะได้มาจากการประมาณการหรือการพยากรณ์ก็เป็นได้ บ่อยครั้งที่ต้นทุนในอนาคตจะถูกนามาใช้
ในการวางแผน ฉะนนั้ การประมาณตน้ ทุนในอนาคตจึงต้องทาด้วยความระมัดระวงั และรอบคอบ

6) การจาแนกตน้ ทนุ ตามลกั ษณะของความรบั ผดิ ชอบ
6.1) ต้นทุนที่ควบคุมได้ (Controllable cost) หมายถึง ต้นทุน หรืค่าใช้จ่าย

ที่สามารถระบุหรือกาหนดได้ว่า หน่วยงานใดหรือบุคคลใดบุคคลหน่ึงเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงกล่าว
อีกนัยหน่ึงก็คือ มีอานาจ หน้าที่ หรือ มีความสามารถที่จะทาให้ต้นทุนจานวนนั้นเพ่ิมข้ึน หรือ
ลดลงจากการตัดสินใจของตน ซึ่งถ้าจะพิจารณาให้มากขึ้นก็พอท่ีจะสรุปได้ว่า ต้นทุน ที่ควบคุมได้
ในหน่วยงานหรือผู้บริหารคนใดคนหนึ่ง ก็อาจจะเป็นต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ในอีกหน่วยงานหรือ
ผบู้ ริหารอีกคนหน่งึ ก็ได้

9

6.2 ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost) หมายถึง ต้นทุนหรือ
ค่าใช้จ่ายที่ไม่อยู่ภายใต้อานาจหน้าที่ ที่หน่วยงานหรือผู้บริหารในระดับน้ัน ๆ จะควบคุมไว้ได้ นั่น
คือไมส่ ามารถทจ่ี ะกาหนดต้นทุนประเภทนี้ให้เพ่ิมข้ึนหรือลดลงได้ โดยปกติต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ของ
ผบู้ ริหารระดบั ล่างก็มกั จะเกิดจากการตัดสนิ ใจของผู้บริหารระดบั สูงนั่นเอง

2.1 ความรู้เกย่ี วกบั ค่าใชจ้ ่ายในครวั เรอื น

(นายภุชพงค์ โนดไธสง. 2562: 62) ผู้อานวยการสานักงานสถิติแห่งชาติ เปิดเผยผล
สารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรอื น ในช่วง 6 เดือนแรกของปี พบว่า ครัวเรือน มีรายได้
เฉลีย่ เดือนละ 26,371 บาท สว่ นใหญเ่ ป็นรายได้จากการทางาน ร้อยละ 71.2 ได้แก่ ค่าจ้างและ
เงินเดือนร้อยละ 45.4 กาไรสุทธิจากการทาธุรกิจร้อยละ 17.8 และ กาไรสุทธิจากการการเกษตร
ร้อยละ 8.0 และมีรายได้ที่ไม่ได้เกิดจากการทางาน เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นนอก
ครัวเรือน/รัฐ ร้อยละ 12.7 รายได้จากทรัพย์สิน เช่น ดอกเบ้ีย ร้อยละ 0.9 นอกจากนั้นยังมี
รายได้ท่ไี มเ่ ป็นตวั เงนิ ซ่งึ อยู่ในรูปสวัสดกิ าร/สินคา้ และบริการต่างๆ รอ้ ยละ 14.1

ในส่วนค่าใช้จ่ายของครัวเรือนท่ัวประเทศ เฉลี่ยเดือนละ 21,236 บาท โดยส่วนใหญ่
เป็นค่าใช้จ่ายในการอุปโภค ได้แก่ ค่าอาหาร เคร่ืองด่ืมและยาสูบ ร้อยละ 33.7 รองลงมาเป็นค่า
ท่ีอยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน ร้อยละ 20.8 ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการเดินทางและยานพาหนะ
ร้อยละ 17.4 ของใช้ส่วนบุคคล/เครื่องนุ่งห่ม/รองเท้า ร้อยละ 6.6 ใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.6
ใชเ้ พือ่ การศกึ ษา และคา่ เวชภัณฑ์/ค่ารกั ษาพยาบาล ร้อยละ 1.6 สาหรับการบันเทิงการจัดงานพิธี
ในส่วนของค่าใช้จา่ ยท่ไี ม่เกยี่ วกบั การอปุ โภคบรโิ ภค พบว่ามีการใช้จ่ายสูงถึงร้อยละ 13.4 ซ่ึงได้แก่
ค่าภาษี ของขวัญ เบ้ียประกนั ภยั ซื้อสลากกินแบง่ /หวย ดอกเบ้ยี

2.3 งานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง

พรพิมล โรจน์สริ, ดุสิต งามรุ่งโรจน์ และ สาลินี อาจารีย์ ศึกษาวิจัยเรื่องผลิตภัณฑ์
ขัดผิวจากกากกาแฟจุดมุ่งหมายของงานวิจัยน้ีเพื่อนาวัสดุเหลือท้ิงมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการนา
กากกาแฟที่เหลือจากการชงกาแฟสด มาเป็นส่วนผสมในการพัฒนผลิตภัณฑ์ขัดผิวจากกาก
กาแฟซึ่งสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการดูแลผิวพรรณ ตอบสนองความต้องการ ของกลุ่ประชาชนท่ีใส่ใจ
สขุ ภาพและยงั เปน็ การเพิม่ มูลคา่ ให้กับของท่ีเหลือทิ้ง การศึกษา และพัฒนาผลิตภัณฑ์ขัดผิวจากกาก
กาแฟทาการศึกษาอุณหภูมิท่ีเหมาะสม ในการลดความช้ืน ของกากกาแฟเพื่อมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์
ขัดผวิ จากกากกาแฟจานวน 4 สูตรท่ีมีปริมาณส่วนผสมของกากกาแฟแตกต่างกันและศึกษา
คุณลักษณะ ทางกายภาพและ คุณลักษณะทางเคมี ได้แก่ ค่าความเป็นกรด-ด่าง การแยกตัวค่าความ
หนาแน่น ค่าความหนืด ของผลิตภัณฑ์ขัดผิวจากกากกาแฟ และ ทดสอบความพึงพอใจในการ

10

ทดลองใช้ผลติ ภัณฑเ์ ป็น 5 ระดบั ตัวอยา่ งจานวน 31 คน ผลการศึกษาพบว่า การอบกากกาแฟ
ท่ีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียสโดยใช้เคร่ืองอบลมร้อนทาให้ปริมาณความชื้นลดลง ร้อยละ 6.75
และให้ปริมาณคาเฟอีนออกมามากที่สุดคือร้อยละ 2.812 โดยผลิตภัณฑ์ขัดผิวท่ีกลุ่มตัวอย่างพึง
พอใจ มากที่สุดคือผลิตภัณฑ์ท่ีมีกากกาแฟผสมอยู่ร้อยละ 4 มีค่าเฉล่ียของความพึงพอใจด้านกลิ่น
ของ ผลิตภณั ฑ์อย่ใู นระดับความพงึ พอใจมาก ดา้ นสีของผลิตภณั ฑ์อยู่ในระดับความพึงพอใจมากด้าน
ความข้นหนดื ของผลิตภัณฑ์อยู่ใน ระดับความพึงพอใจมาก ด้านการกระจายตัวของเซลบน ผิวหนัง
ของผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด และ ความชอบโดยรวมของผลิตภัณฑ์ อยู่ใน
ระดบั ความพึงพอใจมาก

ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ ภรณ์ทิพย์ นราแหวว ผ่องใส (2557: บทคัดย่อ) ศึกษา
วจิ ัยเรอ่ื งสบู่เหลวสมุนไพรงานวจิ ัยครั้งนี้ มจี ดุ ประสงค์เพื่อ คุณสมบตั ิในการตา้ นการเจริญเติบโตของ
เชื้อ MRSA ใน สมุนไพรไทย 4 ชนิด กระเทียม กระชาย ขมิ้นชัน หัวไชเท้า และ นาไปผลิต
เป็นสบู่เหลวสมุนไพร ทดสอบฤทธ์ิการต้านการเจริญเติบโตของเชื้อ MRSA โดยใช้วิธี agar well
diffusion การทดสอบทาง สถิติโดยใช้ one way ANOVA ท่ีนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ผลการ
ทดสอบพบว่า สารสกัด จาก กระเทียมมฤี ทธ์ติ า้ นการเจริญเติบโตของเช้ือ MRSA อย่างมีประสิทธิภาพ
มากที่สุด โดยวัดเส้นผ่าน ศูนย์กลางในการต้านการเจริญเติบโตของเชื้อได้เท่ากับ 0.1มิลลิเมตร
ในขณะทไี่ ม่พบฤทธิต์ า้ นเช้ือ MRSA ในสารสกัดสมุนไพรอีก 3 ชนิดท่ีเหลือ สารสกัดสมุนไพร ทั้ง
4 ชนิดถกู นามาผสมในสบู่เหลวผลติ เป็นสบ่เู หลวสมนุ ไพรทง้ั หมด 5 สตู ร (สบเู่ หลวกระเทยี ม สบู่
เหลวกระชาย สบู่เหลวขมิ้นชัน สบู่เหลวหัวไชเท้า และ สบู่เหลวสมุนไพรรวม) การทดสอบการ
เกิดฟองในสบู่เหลวพบว่า การเกิดฟองในสบู่เหลวแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสาคัญ
ทางสถติ ิ สว่ นสบูเ่ หลวขมนิ้ ชัน และ สบู่เหลวหัวไชเท้า มีประสิทธิภาพในการกาจัด (ศูนย์ดัชนีการ
อา้ งองิ วารสารไทย.2559:ออนไลน์)

ราไพ โครตบูรณ์ (2557: บทคัดย่อ) ศึกษาวิจัยเร่ืองสบู่เหลวน้าจากข้ีเถ้าเปลือกกล้วย
มีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื ลดปริมาณเปลือกกล้วย และ ปัญหาการลื่นล้มจากเปลือกกล้วย พวกเราจึงได้คิด
นาเปลือกกลว้ ยท่มี องแลว้ ไม่เกิดประโยชน์นามาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ในรูปของสบู่เหลว เพื่อศึกษา
ว่าสบเู่ หลวน้าขีเ้ ถา้ เปลอื กกลว้ ยทัง้ 3 ชนิด วา่ ชนิดใดมีประสิทธิภาพในการชาระล้าง ได้ดี เหมือนกัน
หรอื ไม่ โครงงานน้ีจะเน้นที่ ความประหยัดสามารถนาเปลือกกล้วยที่เรากินกล้วยแล้วมาผลิตเป็นสบู่
เหลวล้างมอื เพอ่ื เพิ่มมลู คา่ ให้แกผ่ ผู้ ลิต และสรา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่ครอบครัวได้กล้วยเป็น พืชที่คนส่วนใหญ่
รู้จกั กันดเี พราะสามารถนาสว่ นต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ เราจงึ ไดค้ ิดว่าเรากินกล้วย แล้วเหลือเปลือกกล้วย
อาจท้ิงไม่เป็นที่ทาให้เราอาจเหยียบแล้วลื่นล้มได้เราจึงได้คิดว่าเปลือกกล้วย ที่ทุกคนมองว่าไม่มี
ประโยชนแ์ ต่มนั กลับมีประโยชน์อีกมากมายและช่วยเพิ่มมูลค่าให้เราได้อีกเพราะในเปลือกกล้วยนั้นมี
สารแทนเนนิ ชว่ ยในการยบั ยั้งแบคทเี รียไดอ้ กี ดว้ ยวัตถปุ ระสงค์

11

เรณู อยู่เจริญ ศึกษาวิจัยเรื่องการผลิตสบู่จากจารสกัดพืชสมุนไพร ปัจจุบันผู้บริโภคมี
ความต่ืนตัวในการรักษาสุขภาพตนเองมากขึ้น ได้มีการทาผลิตภัณฑ์เพ่ือสุขภาพขึ้นทั้งเพื่ออุปโภค
และบริโภคการใช้พชื สมุนไพรในการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมีมากขึ้น โดยเฉพาะในระดับชุมชนท่ี
มีการทา พชื สมุนไพรพื้นบ้านมาพัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑ์ประจาท้องถิ่น น้ัน ๆ สมุนไพรเป็นภูมิปัญญา
ชาวบ้านท่ีสืบสอดหรือท่ีเรียกว่า “ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ” ซ่ึงเป็นโครงการที่รัฐบาลผลักดัน
เพอื่ ต้องการสร้างงานสร้างอาชีพให้กับชุมชน และ เพื่อสานต่อ ภูมิปัญญาท้องถ่ินให้คงอยู่ตลอดไป
พืชสมุนไพร คือพืชที่ใช้ ทาเป็นเครื่องยา สมุนไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติ มีความหมาย ต่อชีวิตมนุษย์
โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ และ การรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรใน
พระราชบัญญัติยา ระบุว่า ยาสมุนไพร หมายความว่ายาที่ได้จากพฤกษชาติสัตว์หรือแร่ธาตุซึ่งมิได้
ผสมปรุงหรอื แปรสภาพ เชน่ พชื กย็ ังเป็นส่วนของราก ลาต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ ซ่ึงมิได้ผ่าน
ข้ัน ตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ถูก
หน่ั ใหเ้ ปน็ ช้ินเลก็ ลงบดเปน็ ผงละเอยี ด จากการศึกษาข้อมูลพบว่า สารสกัดจากพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
หลายชนิดมีฤทธิ์มีความสามารถในการออกฤทธ์ิทางชีวภาพ เช่น ขมิ้นสามารถยับย้ังการเจริญเติบโต
และฆา่ เชื้อรา จากพวก dermatophytes, black mold, white mold .yeast ได้หลายชนิด สาร
สกัดแอลกอฮอล์ สารสกัดดว้ ยคลอโรฟอร์ม และผงขม้ินมีฤทธิ์ฆ่าเช้ือรา ท่ีเป็นสาเหตุโรคผิวหนัง จาก
ส่วนใบของขม้นิ มีฤทธยิ์ ับ ยั้งการเจริเติบโตของเชื้อรา ได้ สารสกัดคลอโรฟอร์ม และ 95% เอ
ทานอลของขมนิ้ สามารถต้านเช้อื ราและสารสกัด 95% เอทานอลยัง สามารถยับยั้งการเจริญเติบโต
ของเชอ้ื Cryptococcus neoformans ได้สาร 15 สกัดเมทานอล สารสกัดได้ คลอโรมีเทน และ
สารสกดั มีฤทธิ์ยับย้ังการเจริญเติบโตของเชื้อรา เมื่อทดสอบด้วยวิธีกะเพราสามารถใช้ในการ
ไล่หรือฆ่ายุง แมลงวันทอง รายงานว่าสารสกัดจากใบกะเพรา โดยใช้เมทานอลเป็นตัวทาละลายท่ี
ระดับความเข้มข้น สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรกโนสได้อย่างมี
นัยสาคัญ น้ามันใบมะกรูด มีฤทธ์ิไล่ยุงได้นาน 3 ชั่วโมง ซ่ึงเป็นสารหลักน้ามัน ผิวมะกรูด มีฤทธิ์
ยับย้ังสาร ก่อมะเร็งในหนูถีบจักร มะกรูด ส่วนใบมี รสปราหอม แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นโลหิตช้าในและดับ
กลิ่นคาว สารที่พบไดแ้ ก่ กรดซติ รกิ อยนา้ ของผลมะกรูด ซึ่งมีรายงานว่าเชื้อราที่ถูกยับยั้งด้วยสาร
สกัดจากมะกรูดโดยยับยั้งการงอกของสปอร์เชื้อรา ยับยั้งการเจริญของเชื้อรา เมื่อให้สารสกัด
แอลกอฮอล์ทางปากหนูขาวในขนาด 0.25 กรัม/กิโลกรัม สามารถต้าน การอักเสบในหนูที่ทา
ให้กระเพาะอาหาร เป็นแผลด้วยแอลกอฮอล์บริสุทธิหรือแอสไพริน หรือ น้าส้มสายชูได้ผลดี
จากการศึกษาพิษเฉียบพลนัของน้ามันดีปลีชนิด ในหนูถีบจักร พบว่าคา LD50 เท่ากับ 49.73
มิลลิกรัม/กิโลกรัม เมื่อให้โดยการป้อน และ เมื่อให้ ติดต่อกันนาน 9 เดือนไม่พบ ความผิดปกติ
ใด ๆ นอกจากน้ันเมื่อป้อนสารสกัดแอลกอฮอล์ในหนูถีบจักร พบว่า ค่า LD50 เท่ากับ 4.97
กรัม/กิโลกรัม ขจรศักดิ์ (2539) ได้ทางการศึกษาผลของสารสกัดจากพืชสมุนไพร 8 ชนิด ได้แก่

12

กานพลูวา่ นน้า โป๊ยกกั๊ ดองดึง สารภหี นอนตายยาก น้ามนั ดปี ลี และ บวั บกตอการ เจริญ ของเช้ือ
ราสาเหตุโรค มีประสทิ ธิภาพดี ทสี่ ุดในการ ยับยงั้ การเจรญิ ต่อเชื้อรา สาเหตุโรคพืชและโรคผิวหนัง
รองลงมา ได้แก่โป๊ยก๊ัก ดีปลี สารภีหนอนตายอยากดองดึง และ บัวบกเมื่อทดสอบกับเชื้อรา
สาเหตุโรคพชื ส่วนพืชสมุนไพรท่ีมีประสิทธิภาพในการยับย้ังเชื้อราสาเหตุโรคผิวหนัง รองลงมา
ไดแ้ ก่ หนอนตายอยาก ดีปลโี ป๊ยก๊กั ดองดึงบวั บก และ สารภี ตามลาดับ ชัยณรงค์ และ รณภพ ได้
ทาการศกึ ษาโดยการ ใช้นา้ มันหอมระเหยท่ีสกัดจากข่าโดย การกลั่น ด้วยไอน้า สาร geraniol
และสาร linalool ซ่ึงเป็น องค์ประกอบของ น้ามัน หอมระเหยจาก พืช มาทดสอบประสิทธิภาพ
ในการยบั ยงั้ เชอ้ื ราในดิน Sclerotium rofsii โดยการผสมลงในอาหาร เลี้ยวเชื้อผลการทดสอบ
ประสทิ ธภิ าพในการยบั ย้งั ใย ของเช้อื รา S. rolfsii พบวา่ ที่ระดับความเข้มข้น 100 ppm จะมีผล
ต่อการเจริญของเส้นใยเช้ือรา S. rolfsii ทาให้เส้นใยเชื้อราบางลง จานวน เม็ดสเคอโรเตียมที่เชื้อ
ราสร้างขึ้นภายหลัง จากท่ีได้รับสารทดสอบมีจานวนลดลง 11.8 - 21.5 เปอร์เซ็นต์ พนิตนันท์
และ คณะ (2545) ได้ทาการศึกษาทดสอบสารสกัดจากใบกะเพรา มะรุม มะละกอ และจาปา
ในการควบคุมโรคกุ้งแห้งของพริกในห้องปฏิบัติการ และ ศึกษาโรคกุ้งแห้ง หรือโรคแอนแทรกโนส
ของพริกเกดิ จาก เช้ือราสาเหตุ Colletotrichum capsici นา้ มาแยกเชื้อบรสิ ทุ ธิแล้วทาการทดสอบ
ประสิทธภิ าพ ในการควบคุมโรคแอนแทรกโนสโดยวิธีการใช้สารสกัดจากพืช 4 ชนิด คือ
ใบกะเพรา ใบมะรุม ใบมะละกอ และ กิ่งจาปา สารสกัดทั้ง 4 ชนิด ได้จากการสกัดแบบ
ต่อเน่อื ง โดยใช้เมทานอลเป็น ตัวทาละลาย พบว่าสารสกัดจากใบกะเพราที่ระดับความเข้มข้น
125,000 ppm สามารถยับยั้งการเจรญิ ของเช้ือรา และ ใบมะละกอ สารสกัดจากใบมะรุมท่ีระดับ
ความเข้มข้น ไม่สามารถยับย้ังการเจริญ ของเช้ือราได้ และ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการ เจริญของเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเปรียบเทียบ ได้ทาการศึกษา
คัดเลอื กสมุนไพรกลุ่มเครื่องเทศ บางชนิด ท่ีมีความสามารถในการยับย้ังการเจริญ และ การสร้าง
อะฟลาทอกซนิ ของเชอ้ื รา โดยการทดสอบเบอื้ งต้นจะใช้น้า ค้ันจากสมุนไพร 8 ชนิด คือ กระชาย
กระเทียม กานพลู ขงิ ข่า ตะไคร่ หอม และอบเชย ผลการ ทดลองพบว่าสมุนไพรทุกชนิดและ
นอกจากน้ียังเป็นแนวทางในการพัฒนาเป็น หน่ึงตาบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ต่อไป วัตถุประสงค์:
1. เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจถึงกรรมวิธีและขั้น ตอนในการผลิตสบู่จากสารสกัด
พืชสมุนไพร 2. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตและพัฒนาแปรรูป ผลิตภัณฑ์ผลิตสบู่จากสาร
สกดั พืช สมุนไพร 3. เป็นการเพมิ่ มลู คา่ เพ่มิ ใหก้ ับพืชสมุนไพร

13

สุจติ รา พลอยวิเลิศ (2556: บทคดั ยอ่ ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาสบู่ก่อนจากถ่านไม้ไผ่
สบู่เป็นเครื่องสาอางชนิดหน่ึงท่ีใช้สาหรับทาความสะอาดร่างกาย เพราะในแต่ละวันทุกคน ต้องทา
กิจกรรมต่าง ๆ และล้วนต้องเจอกับส่ิงสกปรกต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุ่นควันหรือมลพิษต่าง ๆ ซ่ึงส่ิง
สกปรกทตี่ ดิ อยู่ตามรา่ งกายเหลา่ น้ี อาจนามาซง่ึ เชื้อโรคต่าง ๆ และอาจก่อให้เกิดโรคบางชนิดได้
ปัจจุบันกระบวนการผลิตสบู่มีการเพิ่มส่วนผสมต่าง ๆ เพ่ือให้สบู่มีสรรพคุณตรงตามความ ต้องการ
ของผู้บริโภคมากข้ึน เช่น มีสีสันที่สวยงามน่าใช้ มีกล่ินหอมและมีสรรพคุณทางยา ในทางการค่ามี
การใชส้ ารสังเคราะหท์ าใหผ้ ลิตภณั ฑน์ า่ ใช้ แตแ่ ฝงไปด้วยสารเคมีท่ีเปน็ อันตรายมีพิษตกค้างและราคาสูง
ปัจจุบนั จึงนิยมใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเป็นส่วนผสม เพิ่มเติมในสบู่แทน
การใชส้ ารเคมีสังเคราะห์ สบจู่ ากเถา้ ไมไ่ ผจ่ ึงเป็นผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ ที่ไม่ได้มีแค่เพียงเถ้าไม้ไผ่
อยา่ งเดยี ว แตจ่ ะใช้ส่วนผสมอนื่ ๆ เพิ่มเติมเข้าไป เช่น มะขาม น้าผ้ึงป่า ซึ่งพวกส่ิงเหล่านี้จะช่วย
เพิ่มความหลากหลายและเพิ่มคุณสมบัติลงไปในสบู่ สบู่เถ้าไผ่ท่ี ผลิตขึ้นจากผลิตขึ้จากผลิตภัณฑ์
ธรรมชาติมีคุณลักษณะหลากหลาย จึงเป็นบทพิสจู น์ใหเ้ หน็ ถึง คุณสมบัติและสรรพคุณของสบู่เถ้าไม้
ไผ่ จากการศกึ ษาโครงงานสบู่สมุนไพรได้คิดทาสบู่แฟนซี (สีธรรมชาติ) ได้ใช้สารสกัดจากธรรมชาติ
ซ่งึ จะชว่ ยให้สบ่นู ั้นมคี ุณสมบตั ทิ ่ีดมี ากขึ้น สรุปได้ดงั น้ใี ช้ขมน้ิ จะช่วยในการพลดั เซลลผ์ ิวทาให้ผิวดูขาว
ขึ้น ใช้ใบเตยจะช่วยในด้านการดับกลิ่นกายใช้ ดอกอัญชันทาให้ สบู่ดูมีสีสันมากขึ้น ใช้กากกาแฟ
จะช่วยในการพลัดเซลล์ผวิ เก่าดังเช่นขมิ้น และการศึกษาโครงงานสบู่เหลวจากน้าข้ีเถ้าเปลือมะพร้าว
ไดน้ าน้า ขี้เถ้าเปลือกมะพร้าวตวงใส่หม้อสแตนเลส ตามต้องการ ต้มให้เดือด ผสมน้ามันปาล์ม
นา้ มนั มะพรา้ ว ผลิตภัณฑ์และนา้ มนั ถวั เหลือง นา้ ข้ีเถ้าเปลือกมะพร้าวน้ามันปาล์มน้ามันมะพร้าว
และนา้ มนั ถ่ัวเหลอื ง ใส่เกลือแกง เล็กน้อยยกลงจากไฟตั้งท้ิงไว้ให้เย็นและตกตะกอนแยกช้ัน ส่วนท่ีมี
สขี าวขนุ่ กจ็ ะเป็นสบู่เหลว รินนา้ สว่ นทเ่ี หลอื ทงิ้ จะไดส้ บเู่ หลวจากน้าข้เี ถา้ เปลือกมะพร้าว (ฉันรัก
แปล. 2559: ออนไลน์)

ศศิธร แท่นทอง (2554: บทคัดย่อ) การวิจัยคร้ังน้ีได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ประทินผิวจาก
มะขาม (สบู่ก่อนมะขาม สบู่เหลวมะขาม และ โลชั้นมะขาม) น้าเน้ือมะขามเปียกมาละลายน้า
กรองแยกกากออกระเหยน้าออกเก็บในตู้เย็นไว้ใช้ เตรียมสบู่ก่อน สบู่เหลว และโลชัน จากการ
สารวจสบู่ก่อนพบวา่ ในท้องตลาดมีการผลิตสบู่ก่อนมะขามหลายชนิด แต่ละชนิดมีราคา ต่าง ๆ กัน
สบู่เหลวมะขามมีขายในท้องตลาดยังไม่แพร่หลาย จากเตรียมสบู่เหลวมะขาม และ ศึกษาสมบัติ
ของสบู่เหลวมะขามที่ เตรียมขึ้น 4 สูตร แล้วศึกษาทางกายภาพของสบู่เหลว มะขามพบว่าสูตร
พน้ื ฐานไม่แยกชั้น เมอื่ เกบ็ ไว้นาน โลชั่นมะขาม เมอ่ื นา มาศึกษาลกั ษณะ พบว่า ลักษณะเน้ือของ
โลชั่นเนียนละเอียด สีขาว กล่ินหอม ไม่มีการแยกช้ัน โลช่ันไหลได้ดี ความรู้สึกเวลาทา ทาง่าย
ไม่เหนอะหนะ สูตรที่ 4 การใส่น้ามะขามมากทาให้ มีความเหนอะหนะ บ้างซึมเข้าผิวได้ดี เมื่อ
นาไปทดสอบกบั อาสาสมคั รแลว้ ตอบคาถามผูต้ อบแบบสอบถามพึงพอ ใจความซมึ ซบั เข้าสู่ผิวสีกล่นิ

14

วิไลพร ปองเพียร (2554: บทคัดย่อ) เร่ืองการพัฒนาสูตรสบู่แฟนซี จากน้ามันท่ีใช้แล้ว
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการบาบัดน้ามันท่ีใช้แล้วพัฒนาสูตรสบู่แฟนซีจากน้ามันที่ใช้แล้ว โดยวิธี
การบาบัดน้ามันที่ใช้แล้ว จะใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่น คือการกรองจะใช้ผ้าขาวบางพับหลาย ๆ ช้ันเพื่อ
กรองเอาสง่ิ เจอื ปนจาก อณขู องอนิ ทรยี วตั ถุออกจากน้ามัน จากน้ันใช้น้าส้มสายชูในอัตราส่วน 1 : 1
หมักท้งิ ไว้เพ่ือช่วยใน การดับกลน่ิ เหม็นหืนของน้ามันและ ใช้ถ่านดูดซับกลิ่นและความช้ืนของน้ามัน
ส่วนเกินออก ข้ันตอนสุดท้ายจะใช้น้าสะอาดลงไป ปริมาตรเท่ากันกับน้ามันเพื่อล้างทาความสะอาด
การทาสบู่แฟนซีมีรูปแบบต่าง ๆ ได้สบู่ ซีปลาโลมา สบู่แฟนซีรูปหัวใจ สบู่แฟนซีวุ้นมะพร้าว สบู่
แฟนซีรูปวงกลมหลายสีซ้อนกัน และสบู่แฟนซีรูปส้ม จากการประเมินความชอบของผู้ประเมินที่มี
ต่อสบู่แฟนซีที่ได้จากการวิจัย พบว่า คะแนนความชอบท่ีระดับ 4 และ 5 รวมกัน ซึ่งหมายถึง
ชอบและชอบมากตามลาดับทงั้ นี้ คะแนนความชอบโดยรวมของสบู่แฟนซีจากน้ามันท่ีใช้แล้ว เท่ากับ
75.5 % และ ทดสอบ คุณสมบัติทางกายภาพ และ ทางเคมีของผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนใส โดยใช้วิธี
การทดสอบตาม มาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนสบู่ที่ได้น้ันสามารถ
นามาใช้ชาระล้างขจัดคราบสกปรก (ณฏั ฐณชิ า บอ่ ทอง.2559: ออนไลน์)

15

2.5 กรอบแนวคดิ ในการจัดทาโครงงาน

ตน้ ทุนตามส่วนประกอบของการ
ทาสบสู่ ครับกากกาแฟ
ตน้ ทุน 1. ค่าวตั ถุดิบ
2. คา่ แรงงาน
3. ค่าใชจ้ ่ายในการผลิต

ผลตอบแทน กาไร(ขาดทุน) จากการทาสบู่สครับกากกาแฟ
รายไดจ้ ากการขาย
หกั ตน้ ทุนในการทาสบูส่ รับกากกาแฟ
กาไรข้นั ตน้

การวเิ คราะห์
ตน้ ทุนและผลตอบแทน

โครงสร้างตน้ ทุน อตั ราผลตอบแทน
การทาสบสู่ ครับกากกาแฟ
1. อตั รากาไรข้นั ตน้ ต่อตน้ ทุน
2. อตั รากาไรข้นั ตน้ ต่อยอดขาย

ภาพที่ 1 แสดงแนวคดิ ในการจัดทาโครงงาน

บทท่ี 3

วิธกี ารดาเนนิ การศึกษา

การดาเนินการศึกษาครั้งน้ี เป็นการศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการทาสบู่สครับกาก
กาแฟของนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคพิจิตร ผู้จัดทาโครงงานได้ดาเนินการตามลาดับข้ันตอน
ดังน้ี

3.1 กลมุ่ เป้าหมายทใี่ ช้ในการศกึ ษา
3.2 เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษา
3.3 วธิ ีการดาเนนิ การศึกษา
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3.6 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู

3.1 กลุ่มเปา้ หมายท่ีใช้ในการศึกษา

กลุ่มเป้าหมายท่ใี ชใ้ นการศึกษา ไดแ้ ก่ นักเรยี นนักศึกษาวิลัยเทคนิคพิจิตรจานวน 3 คน
ได้มาโดนการเลือกแบบเจาะจง จากนกั เรยี นนักศึกษาที่ประกอบอาชีพเสริมด้วยการทาสบู่สครับกาก
กาแฟจาหนา่ ย

3.2 เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา

เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลเก่ียวกับต้นทุนและผลตอบแทนใน
การทาสบสู่ ครบั กากกาแฟของนักเรียนนกั ศึกษา

3.3 วิธีการดาเนินการศกึ ษา

ผู้จัดทาโครงงาน ไดด้ าเนนิ การศึกษาตามขั้นตอนต่าง ๆ ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
การสร้างแบบสอบถามข้อมูลเก่ียวกับการลงทุนทาสบู่สครับกากกาแฟ ของนักเรียน
นกั ศกึ ษา ดาเนนิ การ ดงั นี้

3.3.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฏีจากเอกสาร ตารา สืบค้นข้อมูลและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับ
การศกึ ษาตน้ ทุนและผลตอบแทน เพ่อื สรา้ งและพัฒนาแบบสอบถามขน้ึ โดยแบ่งเป็น 3 ตอน คอื

ตอนที่ 1 สอบถามสถานภาพและข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 สอบถามขอ้ มูลเก่ียวกบั การทาสบสู่ ครับกากากาแฟ
ตอนที่ 3 สอบถามข้อมลู เกีย่ วกบั ตน้ ทุนและผลตอบแทนทาสบู่สครบั กากกาแฟ
3.3.2 นาร่างแบบสอบถามเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน เพื่อขอคาปรึกษา และตรวจสอบ
ขอ้ คาถามเพอ่ื ให้ได้แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณท์ ี่ถูกตอ้ งเหมาะสม
3.3.3 นาแบบสอบถามท่ีปรับปรุง แล้วเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงานอีกครั้งก่อนนาไปใช้
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผจู้ ัดทาโครงงานได้ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยการดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
3.4.1 นาแบบเสนอสอบถามเก็บข้อมูลจากนักเรียนนักศึกษา ซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมาย
ที่ใชใ้ นการศึกษา
3.4.2 นาข้อมูลทีไ่ ด้มาทาการวิเคราะห์

3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ได้ดาเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มูลตามลาดบั ดงั น้ี
3.5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมลู มาทาการประมวลผล
3.5.2 การวิเคราะหข์ ้อมูลเชงิ คณุ ภาพ ในการวเิ คราะหเ์ น้อื หา ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน
ได้แก่ ตีข้อมูล (Interpretation) การเปรียบเทียบข้อมูล (Constant Comparison)
การสงั เคราะหข์ อ้ มูล (Data Synthesis) และการสรปุ ผล (Generalization)

3.6 สถิติท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผรู้ ายงานได้ใชส้ ถติ ิวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ดังนี้
3.6.1 ค่าความถี่ (Frequency)
3.6.2 ค่าร้อยละ (Percentage)
3.6.3 หาค่าเฉลย่ี (Mean)

บทท่ี 4
ผลวเิ คราะห์ข้อมูล

การดาเนินการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาต้นทุนและผลผลิตตอบแทนเพ่ือการตัดสินใจ
ประกอบกิจการร้านสบู่สครับกากกาแฟ เป็นการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึก
ต้นทนุ และแบบสอบถาม ผ้ศู ึกษานาเสนอผลวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามลาดับ ดงั น้ี

4.1 ข้อมูลตน้ ทุนและผลตอบแทนของสบสู่ ครับจากกากกาแฟ
4.2 ขอ้ มลู สภาพท่ัวไปของผตู้ รวจแบบสอบถาม
4.3 ขอ้ มูลพฤติกรรมการใชส้ บสู่ ครบั กากกาแฟในวทิ ยาลัยเทคนิคพจิ ิตร
4.4 ข้อมลู ปจั จัยที่มผี ลตอ่ พฤติกรรมการใชส้ บูส่ รับกากกาแฟในวทิ ยาลยั เทคนิคพจิ ิตร

4.1 ข้อมูลตน้ ทุนและผลตอบแทนของการประกอบกิจการจากร้านสบสู่ ครบั กากกาแฟ

4.1.1 ขอ้ มูลเกย่ี วกับต้นทุ นการผลิตสบสู่ ครับกากกาแฟ
การศึกษาครัง้ น้ี ผศู้ ึกษาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากการผลติ สบสู่ ครบั

กากกาแฟโดยต้นทุนในการผลติ สบูส่ ครบั กากกาแฟแบ่งตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์
ประกอบด้วย คา่ แรงงาน ค่าวตั ถดุ ิบ ค่าใช้จ่าย ดังในตารางท่ี 4.1.1 - 4.1.7

ตารางที่ 4.1.1 เงินลงทุนเร่ิมแรกร้านสบ่สู ครับกากกาแฟแบบขายในวิทยาลัยเทคนคิ
พจิ ิตร

ค่าวตั ถุดิบ ค่าแรงงาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิต
1. คา่ แรงงานตนเอง
1. กากกาแฟ 1. คา่ บรรจภุ ัณฑ์
2. เบสสบู่ 2. คา่ นา้ ค่าไฟฟ้า
3. นา้ ผึง้ 3. คา่ เสื่อมราคา
4. ขมนิ้

19

ตารางที่ 4.1.2 ต้นทุนค่าวัตถุดิบในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ (สาหรับสบู่สครับกาก
กาแฟ 20 ก้อน)

ผลิตภณั ฑ์ วัตถุดบิ จานวน (หน่วย) ราคา (บาท)
สบสู่ ครบั กากกาแฟ 100.00
เบสสบู่ 1 ถุง 70.00
50.00
กากกาแฟ 2 ถงุ 25.00

นา้ ผงึ้ 1 ขวด 12.25

ขม้นิ 1 ถุง

รวม

ตน้ ทนุ คา่ วัตถดุ ิบเฉล่ียต่อกอ้ น

จากตารางท่ี 4.1.2 แสดงต้นทุนค่าวัตถุดิบในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ (สาหรับผลิต
สบู่ 20 ก้อน) วัตถุดิบอันดับแรกคือ เบสสบู่ จานวน 1 ถุง ในราคา 100 บาท รองลงมาคือ
กากกาแฟ จานวน 2 ถุง ในราคา 70 บาท น้าผ้ึง จานวน 1 ขวด ในราคา 50 บาท และ
ขมน้ิ จานวน 1 ถุง ในราคา 25 บาทจงึ ทาให้ต้นทุนเฉล่ยี ตอ่ ก้อน 12.25 บาท/ก้อน

ตารางท่ี 4.1.3 แสดงต้นทุนค่าแรงงานในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ (1 เดือนผลิตได้
20 ก้อน)

ที่ รายการ จานวน (บาท/วัน)
1 คา่ แรงงาน 100.00
5.00
คา่ แรงงานเฉลยี่ ตอ่ กอ้ น

จากตารางที่ 4.1.3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลคา่ แรงงานในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ
เฉลี่ยตอ่ กอ้ น ก้อนละ 5 บาท คดิ เป็นค่าแรงงานต่อการผลิต 1 ครง้ั 100 บาท

20

ตารางที่ 4.1.4 แสดงต้นทนุ คา่ ไฟฟ้าท่ีใช้ในการทาสบู่สครับกากกาแฟ (สาหรับสบู่สครับ
กากกาแฟ 20 ก้อน)

รายการ ระยะเวลา จานวน ราคา/หน่วย จานวน (บาท)
ค่าไฟฟา้ 100.00
ค่าน้า 1 เดือน 20 หน่วย 5.00 5.00
105.00
1 เดอื น 5 หน่วย 1.00 5.25

รวมต้นทุนคา่ ไฟฟ้าและค่าน้า

คา่ ไฟฟ้าและค่านา้ ตน้ ทุนเฉล่ยี ตอ่ ก้อน

จากตารางที่ 4.1.4 แสดงการวิเคราะห์ต้นทุนค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการทาสบู่สครับกากกาแฟ
พบว่า อันดับแรกคือ ต้นทุนค่าไฟฟ้าและค่าน้า 105.00 บาท รองลงมาคือค่าไฟฟ้าและค่าน้า
ตน้ ทนุ เฉลีย่ ต่อก้อน 5.25 บาท

ตารางที่ 4.1.5 แสดงขอ้ มลู สินทรพั ย์ และคา่ เสื่อมราคาอุปกรณ์

ท่ี รายการ ราคา อายุการใช้การ (ป)ี ค่าเส่อื มราคาตอ่ ปี
1 100.00
1. เคร่ืองครัวต่าง ๆ 100.00 1 200.00
300.00
2. ไมโครเวฟ 200.00 25.00
1.25
ค่าเสื่อมราคาต่อปี

ค่าเสือ่ มราคาต่อเดือน

ค่าเส่ือมราคาต่อก้อน

จากตารางที่ 4.1.5 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลสินทรัพย์และค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์อันดับ
แรกพบว่าค่าเสอ่ื มราคาต่อปี 300.00 บาท รองลงมาคือค่าเสื่อมราคาต่อเดือน 25.00 บาท และ
คา่ เส่ือมราคาตอ่ ก้อน 1.25 บาท

21

ตารางท่ี 4.1.6 แสดงข้อมูลต้นทนุ ค่าใชจ้ ่ายในการผลติ เฉลยี่ ตอ่ ก้อน

ท่ี รายการ ราคา (บาท) รอ้ ยละ
1. คา่ ไฟฟา้ และคา่ น้า 5.25 70.00
2. ค่าบรรจุภณั ฑ์ 1.00 13.33
3. ค่าเสอ่ื มราคาอุปกรณ์ 1.25 16.67
7.50 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.1.6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิต เฉล่ียต่อ
ก้อนอันดับแรกคือ ค่าไฟฟ้าและค่าน้า 5.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 70.00 รองลงมาคือ ค่าเส่ือ
ราคาอุปกรณ์ 1.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.67 และค่าบรรจุภัณฑ์ 1.00 บาท คิดเป็นร้อยละ
13.33 ต้นทุนค่าใชจ้ ่ายในการผลิตเท่ากับ 7.50 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

ตารางท่ี 4.1.7 แสดงขอ้ มลู ตน้ ทุนในการผลติ สบูส่ ครับกากกาแฟ เฉลย่ี ตอ่ ก้อน

ที่ รายการ ตน้ ทุนเฉล่ยี ตอ่ กอ้ น รอ้ ยละ

1. คา่ วตั ถุดบิ 12.25 49.49
2. คา่ แรงงาฯ 5.00 20.20
3. ค่าใช้จ่ายในการผลิต 7.50 30.31
24.75 100.00
ตน้ ทนุ ในการผลิตรวม

จากตารางท่ี 4.1.7 แสดงผลการวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ เฉล่ีย
ต่อก้อน ซึ่งอันดับแรกคือ ค่าวัตถุดิบ 12.25 บาทต่อก้อน คิดเป็นร้อยละ 49.49 รองลงมาคือ
ค่าใช้จ่ายในการผลิต 7.50 บาทต่อก้อน คิดเป็นร้อยละ 30.31 และค่าแรงงาน 5.00 บาทต่อ
ก้อน คิดเป็นร้อยละ 20.20 ต้นทุนในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟเฉล่ีย 24.75 บาท คิดเป็น
ร้อยละ 100

4.1.2 ข้อมูลเกย่ี วกับผลตอบแทนในการผลิตสบูส่ ครบั กากกาแฟ

การศึกษาผลตอบแทนจากการผลิตสบ่สครับกากกาแฟ ผู้ศึกษาได้ทาการศึกษาจาก
ราคาขาย กาไรขนั้ ตน้ อตั รากาไรต่อตน้ ทุน และอตั รากาไรต่อยอดขายดงั แสดงในตารางท่ี
4.1..8 - 4.1.10

22

ตารางท่ี 4.1.8 แสดงตน้ ทุนของราคาขายต่อกอ้ น ของผลติ ภณั ฑส์ บู่สครบั กากกาแฟ

ชอ่ื ผลิตภัณฑ์ ราคาขายตอ่ กอ้ น (บาท)
สบสู่ ครบั กากกาแฟ 29.00
29.00
รวม

จากตารางที่ 4.1.8 แสดงผลการวิเคราะห์ต้นทุนราคาขายต่อก้อน พบว่า สบู่สครับ
กากกาแฟราคาขาย 29 บาทต่อก้อน

ตารางท่ี 4.1.9 แสดงกาไรขั้นต้นจากการขายสบูส่ ครบั กากกาแฟ เฉลยี่ ตอ่ ก้อน

รายการ 12.25 จานวน (บาท)
5.00 20.00
รายไดจ้ าการขายสบสู่ ครบั กากกาแฟ 7.50
หัก ตน้ ทนุ ขาย 24.75
4.75
ค่าวตั ถดุ ิบ
ค่าแรงงาน
คา่ ใช้จ่ายในการผลิต

กาไรขน้ั ต้น

จากตางรางท่ี 4.1.9 แสดงผลวเิ คราะห์กาไรข้ันตน้ พบวา่ มีรายได้จากการผลิตสบ่สู ครบั
กากกาแฟ 29 บาท/กอ้ น มีต้นทุนขายอันดบั แรกคือ คา่ วัตถดุ ิบ 12.25 บาท ค่าใช้จ่ายในการ
ผลิต 7.50 บาท และค่าแรงงาน 5.00 บาท จงึ ทาให้มีกาไรขัน้ ตน้ 4.75 บาท ต่อกอ้ น

ตางรางที่ 4.1.10 แสดงการคานวณหาอตั ราผลตอบแทนจากการทาสบู่สครบั กากกาแฟ

อตั ราสว่ น สตู รการคานวณ แทนค่า ผลการคานวณ
อตั รากาไรตอ่ ตน้ ทนุ กาไรขน้ั ต้น 4.75×100 19.19%
ต้นทุน
24.75

อตั รากาไรต่อยอดขาย กาไรขนั้ ต้น 4.75×100 16.37%
ราคาขาย 29

23

จากตารางที่ 4.1.10 แสดงผลวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนจากการทาสบู่สครับกากกาแฟ
เฉล่ียตอ่ ก้อน พบวา่ มอี ตั รากาไรตอ่ ตน้ ทนุ 19.19% และมอี ัตรากาไรตอ่ ยอดขาย 16.37%

4.2 ข้อมลู สภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
การศึกษาคร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริโภคสบู่สครับ

กากกาแฟ ในวิทยาลัยเทคนิคพิจิตรจังหวัดพิจิตร จานวน 50 คน ซึ่งผู้ศึกษาได้นามาวิเคราะห์
ข้อมูลสภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ และรายได้
ดงั แสดงในตารางที่ 4.2.1- 4.2.5

ตารางที่ 4.2.1 แสดงจานวน (ค่าความถี่) และค่าร้อยละของข้อมูลสถานภาพและ
ข้อมูลทั่วไปจาแนกตามเพศ

รายการ จานวน รอ้ ยละ
ชาย 20 30.00
หญิง 30 70.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 4.2.1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามอันดับแรกเป็นเพศผู้หญิง จานวน 20
คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 และเพศชาย 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 70

ตารางที่ 4.2.2 แสดงจานวน (ค่าความถี่) และค่าร้อยละของข้อมูลสถานภาพและ
ข้อมลู ท่วั ไปจาแนกตามอายุ

รายการ จานวน รอ้ ยละ

ตา่ กวา่ 15 ปี 0 00.00
15 - 18 ปี 3 60.00
18 - 20 ปี 15 30.00
20 ปขี นึ้ ไป 5 10.00
50 100.00
รวม

24

จากตารางท่ี 4.2.2 ผู้ตอบแบบสอบถามอันดับแรกมีอายุ 15-18 ปี จานวน 30 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60 รองลงมามอี ายุ 18-20 ปี จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และอายุ 20
ปขี ึ้นไป จานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10 ตามลาดับ

ตารางท่ี 4.2.3 แสดงจานวน (ค่าความถี่) และค่าร้อยละของข้อมูลสถานภาพและ
ข้อมลู ทว่ั ไปจาแนกตามสถานภาพ

รายการ จานวน รอ้ ยละ
โสด 50 100.00
สมรส 0 00.00
รวม 50 100.00

จากตารางที่ 4.2.3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพโสด จานวน 50 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 100

ตารางที่ 4.2.4 แสดงจานวน (คา่ ความถ่ี) และคา่ รอ้ ยละของข้อมูลสถานภาพและข้อมูล
ท่วั ไปจาแนกตามระดับการศึกษา

รายการ จานวน ร้อยละ

นักเรียน นักศกึ ษา 40 80.00

ขา้ ราชการ/พนักงานรฐั วิสาหกิจ 10 20.00

พ่อบ้าน แมบ่ า้ น 0 00.00

อน่ื ๆ 0 00.00

รวม 50 100.00

จากตาราง 4.2.4 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามอันดับแรกเปน็ นักเรียนนักศึกษา จานวน
40 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมาเปน็ ขา้ ราชการ/พนักงานรฐั วสิ าหกจิ จานวน 10 คน คดิ
เป็นรอ้ ยละ 20

25

ตารางที่ 4.2.5 แสดงจานวน (ค่าความถี่) และค่าร้อยละของข้อมูลสถานภาพและ
ขอ้ มูลท่ัวไปจาแนกตามแหลง่ เงินทุน

รายการ จานวน ร้อยละ

ตา่ กว่า 50 บาท 10 20.00

50-100 บาท 20 40.00

100-200 บาท 15 30.00

200 บาทขนึ้ ไป 5 10.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 4.2.5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามอันดับแรกมีรายได้อยู่ที่ 50-100 บาท
จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา 100-200 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30
ต่อมามีรายได้อยู่ที่ต่ากว่า 50 บาท จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และ 200 บาทขึ้นไป
จานวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10

4.3 ข้อมลู ปจั จัยทม่ี ีผลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภคสบูส่ ครบั กากกาแฟในวทิ ยาลัยเทคนคิ พจิ ติ ร

ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคสบู่สครับกากกาแฟในวิทยาลัยเทคนิค
พิจิตร ท่ีเก่ยี วกับปัจจยั ท่ผี ลกระทบตอ่ พฤตกิ รรมการบริโภคสบู่สครบั กากกาแฟ

26

ตารางที่ 4.3.1 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ความพึงพอของลูกค้าที่มี
ต่อการใชส้ บ่สู ครบั กากกาแฟ

ผลการวเิ คราะห์ ระดบั ชัน้

รายการ S.D ความคิดเห็น
4.05 0.34 มาก
ปจั จัยดา้ นผลติ ภณั ฑ์ 4.30 0.45 ดมี าก
1. กลน่ิ 3.90 0.41 มาก
2. ความหลากหลายของชนิดสครบั 4.10 0.41 มาก
3. คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ 3.90 0.10 ดมี าก
4. ขนาดและรูปแบบของบรรุภัณฑ์ 4.40 0.70 มาก
ปจั จยั ดา้ นราคา 4.50 0.70 มาก
1. ราคาเหมาะกบั คุณภาพและปริมาณ 4.20 0.75 มาก
2. ราคาถูกกวา่ ร้านอน่ื 4.40 0.67 มาก
3. มีการแสดงราคาไวอ้ ย่างชดั เจน 4.30 0.60 มาก
ปจั จยั ด้านสถานท่ี 4.40 0.67
1. ชื่อรา้ นหน้าสนใจ 4.60 0.67 ปานกลาง
2. ความสะดวกในการเดนิ ทาง 4.60 0.90 มาก
3. บริการเสรมิ ทไ่ี ด้รบั ทไี่ ด้รับจากทางร้าน 4.03 0.60
ปัจจยั ดา้ นบคุ คลและสง่ เสริมการขาย 4.40 0.67 ปานกลาง
1. การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ 4.60 0.67 มาก
2. ความน่าเช่ือถือในการชาระเงนิ 4.60 0.90 มาก
3. อธั ยาศัยและการใหบ้ ริการ ดมี าก
4.30 0.60 มาก
รวม
มาก

จากตารางท่ี 4.3.1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยท่ีมีผลต่อ
พฤติกรรม การบริโภคสบู่สครับจากกากกาแฟท่ีมีค่าเฉลี่ย สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ปัจจัยด้าน
ราคา (X=4.4,S.D=0.7) ปัจจัยด้านการขาย (X=4.3,S.D.=0.6) และปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
(X=4.05,S.D=0.34) ตามลาดับ

27

4.4 ขอ้ มลู ปจั จัยท่ีมีผลต่อพฤตกิ รรมการใชส้ บสู่ ครบั กากกาแฟในวิทยาลยั เทคนคิ พิจติ ร
ตารางที่ 4.4 ข้อมลู ท่เี ก่ยี วกับการผลติ สบูก่ ากกาแฟ

รายการ ขอ้ มลู

วธิ กี ารจาหน่าย ขายปลีก
ปริมาณการผลติ ต่อเดือน 60
จานวนคนผลิต 3

จากตารางท่ี 4.4 แสดงขอ้ มลู เก่ียวกับการผลติ สบูส่ ครับกากกาแฟ พบว่า วิธีการจาหน่าย
สบู่สครับกากกาแฟ คือ วิธีการขายปลีก ปริมาณการผลิตสบู่สครับกากกาแฟต่อเดือน 60 ช้ิน คน
ผลิตสบู่สครบั กากกาแฟจานวน คน

บทท่ี 5

สรุปการศกึ ษา การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การศึกษาคร้ังนี้ เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนเพื่อการตัดสินใจในการทาสบู่สครับกากกาแฟ
มวี ัตถุประสงคเ์ พือ่

1) เพอ่ื ศึกษาตน้ ทุนในการผลติ สบู่สครบั กากกาแฟ
2) เพือ่ ศึกษาค่าใชจ้ ่ายทปี่ ระหยดั ไดจ้ ากการผลติ สบสู่ ครบั กากกาแฟใช้เองในครัวเรอื น
3) เพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของแม่บ้านทม่ี ตี ่อการใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั สบู่สครบั กากกาแฟ
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี
วิทลัยเทคนิคพิจิตร จานวน 36 คน กาหนดกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกแบบเจาะจง จากจากนักเรียน
นักศกึ ษาทป่ี ระกอบอาชีพเสรมิ ดว้ ยการทาสบู่สรับกากกาแฟจาหน่าย
เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนและผลตอบแทนใน
การทาสบสู่ ครับกากกาแฟของนักเรยี นนกั ศึกษา
ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผ้ศู ึกษาได้ดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยนาแบบสอบถามที่
สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้วไปทาการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 50 คนรวบรวม
แบบสอบถามที่ไดม้ าทาการวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้สถติ พิ นื้ ฐานแจกแจงความถีแ่ ละค่าร้อยละ และใช้
ผลตอบแทนโดยใชอ้ ตั ราสว่ นทางการเงนิ

1. สรุปผลการศกึ ษา

จากผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล สรุปผลการศกึ ษาตน้ ทุนจากการสบสู่ ครับกากกาแฟ ดงั น้ี
1.1 ตน้ ทนุ ในการผลติ สบ่สู ครับกากกาแฟต่อก้อน

จากผลการศึกษาพบว่า ในการทาสบู่สครับกากกาแฟ มีต้นทุนรวมเฉล่ีย
24.75 บาท ต่อก้อนประกอบด้วย ค่าวัตถุดิบ 12.25 บาทต่อก้อน ค่าใช้จ่ายในการผลิตเฉลี่ย
7.50 บาท ตอ่ ก้อน และคา่ แรงงานเฉล่ีย 5.00 บาทตอ่ ก้อน

1.2 สถานภาพและข้อมูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อย

ล่ะ 70 มีอายุ 15-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 60 มีสถานภาพ โสด คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนมาก
เปน็ นกั เรียน นักศกึ ษา คิดเป็นรอ้ ยละ 100 และมรี ายได้ตอ่ วนั 50-100 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40

29

1.3 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพฤติกรรมการบรโิ ภคสบสู่ ครับกากกาแฟ
จากการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภค
สบ่สครับกากกาแฟท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลาดับแรก ได้แก่ ข้อ 1 ปัจจัยด้านราคา ข้อ 2 ปัจจัย
ดา้ นบุคคลและสง่ เสริมการขาย ขอ้ 3 ปัจจยั ด้านผลิตภณั ฑ์

2. อภปิ รายผล

จากสรปุ ผลการศึกษา มีประเด็นสาคญั ท่คี วรนามาอภปิ รายผล ดังนี้
2.1 ต้นทุนการสบู่สครับกากกาแฟประกอบด้วย 3 ส่วนประกอบสาคัญ ได้แก่
ค่าวัตถุดิบร้อยละ 49.49 ค่าแรงร้อยละ 20.20 และค่าใช้จ่ายในการผลิตร้อยละ 30.31 เห็นได้
วา่ ในการทาสบู่สครับกากกาแฟมีสัดสว่ นของวตั ถดุ ิบมากทีส่ ดุ
2.2 ในการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ พบว่า การทาสบู่สครับกากกาแฟนั้นมีผู้ต้องการใช้
สบู่สครับกากกาแฟเป็นจานวนมาก และถ้าเราจะขายเราสามารถกาหนดราคาขายได้ต่ากว่า
ห้างสรรพสินค้าและท้องตลาดท่ัวไป เพราะผลิตภัณฑ์ของเรามีคุณภาพ พอที่วางขายตาม
ห้างสรรพสินคา้ และท้องตลาดทว่ั ไป ดังนัน้ ผูจ้ ัดทาโครงการจึงตัดสินใจผลิตสบู่สครับกากกาแฟขึ้นมา
เพื่อความสะดวกในการขดั ผิวทาใหผ้ ิวขาวสดใส ซ่งึ มีผลตอ่ ผลกาไรและสู้คูแ่ ขง่ ขันได้

3. ขอ้ เสนอแนะ

3.1 ข้อเสนอแนะในการศึกษาครง้ั นี้
จากผลการศึกษา พบว่า การทาสบู่สครับกากกาแฟมีสัดส่วนของวัตถุดิบสูง

กว่าตน้ ทุนชนิดอ่ืน นักเรียน นกั ศึกษา จงึ ควรพจิ ารณาหาวธิ กี ารทาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่จะช่วยเพ่ิม
ปริมาณการผลิตต่อคร้ังให้มากข้ึน ซึ่งจะทาให้มีอัตราผลกาไรขั้นต้นเมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนขาย
สงู ขน้ึ

3.2 ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครัง้ ต่อไป
ควรศกึ ษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของการทาสบู่สครับกากกาแฟ

เพ่ือเพิ่มปริมาณการผลติ ตอ่ ครัง้ และยอดขายให้สงู ขึน้

บรรณานุกรม

สาลนิ ี อาจารยี ์. 2558 “ต้นทนุ การผลติ ”
(ออนไลน์), เขา้ ถงึ ได้จาก http://production-cost.blogspot.com,
(สบื คน้ เมอ่ื 10 มกราคม 2565)

พรพมิ ล โรจนส์ ริ, ดุสติ งามรุ่งโรจน์ “ผลิตภัณฑข์ ัดผิวจากกากกาแฟ”
(ออนไลน์), เขา้ ถงึ ได้จาก http://jirawatzaza.blogspot.com/2014
(สืบค้นเมอื่ 10 มกราคม 2565)

ปานทพิ ย์ รตั นศิลป์กลั ชาญ “ศึกษาวจิ ยั เร่ืองสบู่เหลวสมุนไพร”
(ออนไลน์), เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/sbuhelwcaknakh
(สบื คน้ เม่ือ 10 มกราคม 2565)

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศึกษา
แบบสอบถามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมผ้บู รโิ ภค

สบู่สครบั กากกาแฟ

33

แบบสอบถามฉบบั น้ีจัดทาขนึ้ โดย นกั ศึกษากล่มุ โครงงานการศึกษาต้นทนุ และผลตอบแทนในการ
ผลิตสบูส่ ครบั กากกาแฟ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือการทราบข้อมูลเกยี่ วกับผลิตภณั ฑท์ ่ผี ลติ ขนึ้

ทาสแกน Q-CODE ทางดา้ นบนเพื่อเขา้ ส่เู วบ็ ไซต์ตอบแบบสอบถาม
หรอื เขา้ ไปทเี่ ว็บไซต์ https://bit.ly/3hiUsyN

34
ภาพท่ี 2 ภาพการส่งเว็บไซต์ใหน้ กั ศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์
ภาพที่ 3 ภาพการส่งเวบ็ ไซต์ใหน้ ักศึกษาตอบแบบสอบถามออนไลน์

28/2/65 08:12 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคสบู่กากกาแฟ

แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภค
สบู่กากกาแฟ

*จำเป็ น

ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นฐานของผู้ตอบ โปรดให้รายละเอียดที่เกี่ยวกับตัวท่าน โดย
แบบสอบถามโปรดให้รายละเอียด ข้อความตามความเป็ นจริง

1 1. เพศ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

หญิง
ชาย

2 2. อายุ *

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ต่ำกว่า 20 ปี
21-30 ปี
30-40 ปี
41-50 ปี
มากกว่า 50 ปี

3 3. ระดับการศึกษา *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)

https://docs.google.com/forms/d/1gICWXBrk2Mszko_n2H-wq7fliGzQT79YGKZQE9VEvLo/edit 1/3

28/2/65 08:12 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคสบู่กากกาแฟ

4 4. อาชีพ *

ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

นักเรียน-นักศึกษา
ครูและบุคลากร
อื่นๆ:

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับการผลิตสบู่สครับกากกาแฟ เกณฑ์ระดับการประเมิน

5=พอใจมากที่สุด

4=พอใจมาก

3=พอใจปานกลาง

2=พอใจน้อย
1=พอใจน้อยที่สุด

5 5. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ *

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น
12345

ความปลอดภัยและถูกสุขอนามัย
ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ
ขนาดและรูปแบบของบรรจุภัณฑ์
ความกระจ่างใสต่อผิว
ความหอมของของผลิตภัณฑ์

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
6 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ

https://docs.google.com/forms/d/1gICWXBrk2Mszko_n2H-wq7fliGzQT79YGKZQE9VEvLo/edit 2/3

28/2/65 08:12 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคสบู่กากกาแฟ

เนื้อหานี้มิได้ถูกสร้างขึ้นหรือรับรองโดย Google

 ฟอร์ม

https://docs.google.com/forms/d/1gICWXBrk2Mszko_n2H-wq7fliGzQT79YGKZQE9VEvLo/edit 3/3

ประทบั เวลา คะแนน 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดบั การศึกษา 4. อาชพี
หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป
18/12/2021, 14:35:36 หญิง ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา
หญิง ตา่ํ กวา 20 ป
24/2/2022, 18:29:17 หญิง ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวชน.)ักเรยี น-นกั ศกึ ษา
หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 8:58:09 หญิง ตาํ่ กวา 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นกั ศึกษา
หญงิ 21-30 ป
25/2/2022, 9:03:29 หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชน.)ักเรยี น-นักศกึ ษา
ชาย ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:15:41 หญงิ 21-30 ป ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวชน.)ักเรียน-นกั ศกึ ษา
หญิง ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:15:49 ชาย ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวชน.)กั เรยี น-นกั ศกึ ษา
หญิง ตาํ่ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:18:39 หญงิ ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สงู (นปักวเสร.ยี )น-นักศึกษา
หญงิ ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:21:15 หญิง ตา่ํ กวา 20 ป ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา
ชาย ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:22:03 หญงิ ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวชน.)กั เรยี น-นักศกึ ษา
หญิง ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:28:45 หญิง ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง(นปกั วเสร.ยี )น-นักศึกษา
หญิง 21-30 ป
25/2/2022, 9:37:08 หญงิ ต่ํากวา 20 ป ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นกั ศกึ ษา
หญงิ ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:37:34 หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวชน.)กั เรียน-นกั ศึกษา
หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:38:11 หญงิ ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวชน.)กั เรยี น-นกั ศกึ ษา
หญิง ตํ่ากวา 20 ป
25/2/2022, 9:38:21 หญงิ ต่ํากวา 20 ป ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา
หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:38:45 ชาย ตํ่ากวา 20 ป ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา
หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:40:32 หญงิ 21-30 ป ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวชน.)กั เรยี น-นักศึกษา
ชาย ตา่ํ กวา 20 ป
25/2/2022, 9:40:38 หญงิ ตา่ํ กวา 20 ป ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวชน.)ักเรียน-นกั ศกึ ษา

25/2/2022, 9:40:39 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวชน.)ักเรยี น-นักศึกษา

25/2/2022, 9:41:26 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา

25/2/2022, 9:41:49 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวชน.)กั เรยี น-นกั ศึกษา

25/2/2022, 9:42:15 ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (อปนื่ วๆส:.)

25/2/2022, 9:44:29 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวชน.)กั เรียน-นักศึกษา

25/2/2022, 9:44:36 ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวชน.)กั เรียน-นกั ศกึ ษา

25/2/2022, 9:44:38 ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา

25/2/2022, 9:45:34 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวชน.)กั เรียน-นักศกึ ษา

25/2/2022, 9:46:04 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชน.)ักเรยี น-นักศกึ ษา

25/2/2022, 9:49:29 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวชอ.)่นื ๆ:

25/2/2022, 9:51:16 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรียน-นกั ศกึ ษา

25/2/2022, 9:55:56 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวชน.)ักเรยี น-นกั ศึกษา

25/2/2022, 10:23:40 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวชน.)ักเรยี น-นกั ศกึ ษา

25/2/2022, 10:29:07 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวชน.)กั เรยี น-นกั ศกึ ษา

25/2/2022, 11:24:58 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง(อปน่ื วๆส:.)

25/2/2022, 11:41:49 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา

25/2/2022, 14:04:36 ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวชน.)ักเรียน-นักศึกษา

5. ปจ จัยดา นผลติ ภัณฑ [ความ5ป. ลปอจ ดจภัยยัดแานละผถลกู ติ สภขุ ัณอฑนา [มรัยาค] า5เ.หปมจาจะสยั มดกานบั คผุณลติ ภภาณั พ]ฑ [ขนาด5.แปลจะรจปู ัยแดบา บนขผอลงติ บภรณั รจฑภุ  [ัณควฑา]ม5ก. รปะจจจายั งดใสา นตผอ ผลติว]ภัณฑ [ความขหอ อเสมนขออแงนขะอองืน่ผลๆิตภัณฑ]
55555
44344
45555
44555
45445
1 2 3 4 4 ใชดี
55555
55555
43545
55455
55555
43433
33333
55555
55454
55545
11111
55555
55555
44544
44444
44434
5 5 5 4 5-
55555
34234
55545
55444
55455
5 5 5 5 5 คนขายนารักมากคะ
55555
54445
43533
5 5 5 5 5 ความสวยยย
55555

ภาคผนวก ข

แบบเสนอหัวข้อโครงการและเค้าโครง
โครงการศึกษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลิตสบ่สู ครบั กากกาแฟ

40

แบบเสนอโครงงาน

1. ช่ือโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสบ่สู ครับกากกาแฟ
ชอ่ื โครงงาน (ภาษาอังกฤษ) cost and return study of coffee ground scrub
production

2. ประเภทของโครงงาน
 ส่ิงประดิษฐ์/นวตั กรรม

 ศึกษาทฤษฎีและหลักการ

 ศกึ ษาค้นควา้ ทดลอง

 สารวจรวบรวมข้อมลู

3. รายชอ่ื ผู้จดั ทาโครงงาน จนั ทวงค์ รหสั นักศกึ ษา 62202011116
3.1 นางสาวทินประภา แก้วอารลี กั ษณ์ รหสั นกั ศกึ ษา 62202011123
3.2 นายพัชรพล ปิยัง รหัสนักศกึ ษา 62202011126
3.3 นางสาวแพรวา

4. ครทู ป่ี รึกษาโครงงาน
นางสาวกรรัตน์ คาดา


Click to View FlipBook Version