The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 63dbt10, 2022-12-06 02:41:28

หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

พนื้ ฐานการส่ือสารข้อมลู เครอื ขา่ ย 1

หน่วยท่ี 1

พนื้ ฐานการสื่อสาร

ข้อมลู และเครือค่าย

2 พ้นื ฐานการส่ือสารข้อมูลเครือข่าย

สาระสาคญั

การสื่อสารขอ้ มลู และเครือขา่ ย เป็นการส่ือสาร ขอ้ มูลท่ใี ชใ้ นลกั ษณะการแลกเปล่ียนขอ้ มูลกนั โดยใชเ้ ครือข่าย
คอมพวิ เตอร์ โดยมีองคป์ ระกอบ ในการส่ือสารคือ ผสู้ ่งขอ้ มลู ผรู้ ับขอ้ มลู ขอ้ มลู ส่ือนาขอ้ มูลและโปรโตคอล ซ่ึงในการ
สื่อสาร ขอ้ มูลจะเป็นการส่งสญั ญาณขอ้ มูลหลายรูปแบบ ดว้ ยกนั ส่วนระบบเครือข่าย เป็นกล่มุ ของ คอมพวิ เตอร์ที่เชื่อมต่อ
กนั เพื่อการสื่อสาร โดยผา่ น อปุ กรณ์เครือข่าย ไม่วา่ จะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เน็ตเวริ ์คการ์ด สื่อกลางและโปรโตคอล โดย
มี หลกั การทางานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท่เี นน้ ความน่าเช่ือถือและการลดคา่ ใชจ้ ่าย

สาระการเรียนรู้

1.ความหมายของการส่ือสาขอ้ มลู
2.องคป์ ระกอบในการสื่อสาร
3.รูปแบบของการส่งสญั ญากขอ้ มลู
4.คณุ สมมกั มากองการสื่อสางมูล
5.ความหมายของรามมเครือขา่ ย
6.องคป์ ระกอบของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
7.หลกั การทางานของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
8.ประโยชนข์ องการสื่อสารขอ้ มลู และเอช่างคอมพิวเตอร์
9.เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์กบั ชีวติ ประจาวนั

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

1.พทุ ธินิสยั เขา้ ใจองคป์ ระกอบและรูปแบบของการส่ือสารและระบบเครือขา่ ย
2.ทกั ษะพิสัย แสดงความรู้เกี่ยวกบั การสื่อสารขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ได้
3.จิตพสิ ยั มีการทางานดว้ ยความเป็นระเบียบเรียบร้อย เลือกใชภ้ าษาที่เหมาะสมกบั งาน

สรรถนะอาชีพ

1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การส่ือสารขอ้ มูล
2.แสดงความรู้เกี่ยวกบั ระบบคอมพิวเตอร์
3.มีกิจนิสยั ท่ีดีในการอยูร่ ่วมกนั เป็นหมู่คณะตามหลกั

พ้นื ฐานการสื่อสารขอ้ มูลเครอื ข่าย 3

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารขอ้ มลู (Data Communication) หมายถึง กระบวนการถา่ ยโอนหรือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ระหวา่ ง
ผสู้ ่งและผรู้ ับ โดยผา่ นช่องทางส่ือสาร เช่น อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ หรือคอมพวิ เตอร์เป็นตวั กลาง ในการส่ง
ขอ้ มูล เพ่ือใหผ้ สู้ ่งและผรู้ ับเกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั

การส่ือสารขอ้ มลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์น้นั จาเป็นตอ้ งมีเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) บางคร้ัง
เรียกทบั ศพั ทว์ า่ คอมพิวเตอร์เนต็ เวิร์ก ซ่ึงจะอาศยั ระบบโทรคมนาคม (Telecommunication) ให้ สามารถ
ติดต่อสื่อสารไดร้ ะหวา่ งตน้ ทางและปลายทาง ดงั น้นั การส่ือสารขอ้ มูลดว้ ยคอมพวิ เตอร์จึงเป็น การใช้
คอมพวิ เตอร์เชื่อมต่อระบบเครือขา่ ยต้งั แต่สองเครื่องข้ึนไป เพ่ือความสะดวกในการติดตอ่ ส่ือสาร เพิ่มขีด
ความสามารถในการใชท้ รัพยากรร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งคุม้ ค่า เช่น หน่วยความจา หน่วยประมวลผล โปรแกรม
ประยกุ ตต์ า่ ง ๆ และอปุ กรณ์ต่อพว่ ง เป็นตน้

องค์ประกอบในการส่ือสาร

การส่ือสารทกุ รูปแบบจะมีองคป์ ระกอบในการสื่อสาร ดงั น้ี

1. ผสู้ ่งขอ้ มูล (Sender) คือ ส่ิงท่ีทาหนา้ ที่ส่งขอ้ มลู ไปยงั จุดที่ตอ้ งการ เช่น ผพู้ ูด โทรทศั น์ กลอ้ ง วิดีโอ เป็น
ตน้

2. ผรู้ ับขอ้ มูล (Receiver) คือ ส่ิงที่ทาหนา้ ท่ีรับขอ้ มลู ที่ส่งมาจากผสู้ ่ง เช่น ผฟู้ ัง เคร่ืองรับโทรทศั น์
เครื่องพิมพ์ เป็นตน้

3. ขอ้ มูล (Data) คือ ส่ิงท่ีผสู้ ่งตอ้ งการส่งไปยงั ผรู้ ับ ซ่ึงอาจเป็นขอ้ ความ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว 4. สื่อนา
ขอ้ มูลหรือตวั กลาง (Medium) คือ สิ่งที่ทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลางในการนาขอ้ มลู จากผสู้ ่งไปยงั ผรู้ ับ เช่น คน
อากาศ และสายเคเบิล

5. โปรโตคอล (Protocol) คอื กฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง หรือวธิ ีการในการสื่อสารขอ้ มลู ซ่ึงผสู้ ่งและผรู้ ับ จะตอ้ งตก
ลงวิธีการสื่อสารใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เพอ่ื ที่จะส่งและรับขอ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ ง

4 พน้ื ฐานการสื่อสารข้อมูลเครอื ข่าย

รูปแบบของการส่ งสัญญาณข้อมูล

การติดต่อสื่อสารผา่ นช่องทางการส่งสัญญาณ สามารถทาได้ 3 ลกั ษณะ คือ

1. การส่ือสารแบบทางเดียว (Simplex / One - Way Communication)การส่ือสารแบบทางเดียว เป็นการส่ง
โดยใชช้ ่องทางการส่งสญั ญาณเพยี งช่องเดียว ขอ้ มูลจะ ถูกส่งไปในทิศทางเดียวเสมอจากฝ่ายส่งไปยงั ฝ่ายรับ
โดยไม่มีการสบั เปลี่ยนหนา้ ท่ีของแต่ละฝ่าย เช่นการส่งสัญญาณโทรทศั น์ สัญญาณวทิ ยุ

2. การส่ือสารแบบสลบั หรือก่ึงสองทาง (Half – Duplex / Either - Way Communication) ส่ง แต่ท้งั 2 ฝ่าย
ตอ้ งสลบั หนา้ ท่ีให้ การส่ือสารแบบสลบั หรือก่ึงสองทาง เป็นการส่ือสารแบบ 2 ทางแบบสลบั หนา้ ที่กนั โดย
ใชช้ ่องทาง การส่งสัญญาณเพียงช่องเดียว ซ่ึงแตล่ ะฝ่ายทาหนา้ ท่ีไดท้ ้งั รับ สอดคลอ้ งกนั เมื่อมีการส่งขอ้ มูล
จากฝ่ายหน่ึงที่เป็นฝ่ายส่ง อีกฝ่ายหน่ึงท่ีเป็นฝ่ายรับ เม่ือไดร้ ับขอ้ มลู แลว้ จะใชเ้ วลาส่วนหน่ึง เพ่ือตีความหรือ
เพอ่ื รับทราบวา่ ขอ้ มูลจากฝ่ายส่งหมดแลว้ และตอบกลบั ไป เรียกช่วง เวลาท่ีใชไ้ ปของฝ่ายรับวา่ “Reaction
Time” จากน้นั หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงตอ้ งการส่งขอ้ มลู กจ็ ะส่งสญั ญาณ ไปยงั อีกฝ่าย เพ่ือรอรับขอ้ มลู ท่ีจะ
ส่งออกไป เช่น วิทยสุ ่ือสาร เป็นตน้

3. การส่ือสารแบบสองทาง (Full - Duplex / Both - Way Communication) การสื่อสารแบบสองทางเป็นการ
สื่อสารแบบ 2 ทางไปและกลบั ในเวลาเดียวกนั ได้ โดยใชช้ ่อง ทางการส่งสัญญาณ 2 ช่อง เพือ่ ใหท้ ้งั 2 ฝ่าย
สามารถรับ - ส่งขอ้ มูลไดใ้ นขณะเดียวกนั เช่น ระบบ โทรศพั ทท์ วั่ ไปซ่ึงใชส้ าย 4 เสน้ (Four - Wire - Line)
สายแต่ละคู่จะใชเ้ ป็นช่องทางการส่งสญั ญาณได้ 1 ช่อง จะเห็นไดว้ า่ ท้งั 2 ฝ่ายสามารถรับส่งขอ้ มูลไดโ้ ดยไม่
ตอ้ งแบง่ เวลาในการใชช้ ่องทางการส่งสัญญาณ การสื่อสารแบบ Full - Duplex น้ีจะทางานไดร้ วดเร็วกวา่
แบบ Half - Duplex แตก่ ารสื่อสารขอ้ มลู สาหรับ คอมพวิ เตอร์โปรแกรมประยกุ ต์ (Application Program) ท่ี
ทางานบนคอมพวิ เตอร์ขณะน้นั อาจเป็นตวั กาหนดประเภทการสื่อสารที่จะใชว้ า่ เป็น Full - Duplex หรือ
Half - Duplex ท้งั น้ี เนื่องจากโปรแกรม ประยกุ ตเ์ หล่าน้ีอาจตอ้ งรอขอ้ มูลท่ีส่งจากปลายทางอีกดา้ นหน่ึงแลว้
จึงนาขอ้ มูลน้นั มาประมวลผลต่อไป เม่ือเป็นเช่นน้ี การสื่อสารท่ีใชจ้ ึงเป็นไดเ้ พยี งแบบ Half - Duplex

พน้ื ฐานการสื่อสารขอ้ มูลเครอื ข่าย 5

คุณสมบตั พิ ืน้ ฐานของการสื่อสารข้อมูล

เม่ือมีการสื่อสารขอ้ มลู เกิดข้ึน อุปกรณ์การส่ือสารจึงนบั ไดว้ า่ เป็นส่วนหน่ึงของระบบการสื่อสาร ดว้ ยการ
รวมส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เพ่ือใหส้ ามารถทาการสื่อสารได้ ผลของระบบ การ
สื่อสารขอ้ มลู จะข้นึ อยกู่ บั คุณสมบตั ิพ้นื ฐาน 3 ประการดว้ ยกนั คือ

1. การส่งมอบ (Deliver)ระบบจะตอ้ งสามารถส่งมอบขอ้ มูลไปยงั จุดหมายปลายทางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ขอ้ มูล
ท่ีส่งไปน้นั จะ ตอ้ งส่งไปยงั อุปกรณ์ตามจุดหมายที่ตอ้ งการ ซ่ึงอาจเป็นผใู้ ช้ (User) หรืออปุ กรณ์ก็ได้ 2.
ความถกู ตอ้ งแน่นอน (Accuracy)ระบบจะตอ้ งส่งมอบขอ้ มูลไดถ้ ูกตอ้ งและแน่นอน อีกท้งั ยงั ตอ้ งสามารถส่ง
สัญญาณเตือนใหร้ ับ ทราบในกรณีท่ีการส่งขอ้ มลู ในขณะน้นั ไมถ่ ูกตอ้ ง สูญหาย หรือไม่สามารถใชง้ าน
ได้ 3. ระยะเวลา (Timeliness)ระบบจะตอ้ งส่งมอบขอ้ มูลในช่วงท่ีเหมาะสม เช่น ในบางระบบ เวลาอาจ
ไมใ่ ช่สาระสาคญั หาก เกิดความล่าชา้ ในขอ้ มูลท่ีส่งอาจยอมรับได้ โดยขอใหข้ อ้ มูลไปถึงปลายทางถือวา่
เพยี งพอ แต่ในขณะท่ี บางระบบโดยเฉพาะระบบเรียลไทม์ (Real - Time Transmission) ซ่ึงระบบดงั กล่าว
จาเป็นตอ้ งใชเ้ วลา ที่ตอบสนองแบบทนั ทีทนั ใด จึงจาเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์และส่ือส่งขอ้ มูลที่มีความเร็วสูง
เพอ่ื ใหส้ ามารถส่ง ขอ้ มูลไปยงั จุดหมายปลายทางไดท้ นั ที

ความหมายของระบบเครือข่าย

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือ กล่มุ ของคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ที่ ถูกนามา
เช่ือมต่อกนั ผา่ นอปุ กรณ์ดา้ นการสื่อสารหรือส่ืออ่ืนใด ทาใหผ้ ใู้ ชใ้ นระบบเครือข่ายสามารถติดต่อ ส่ือสาร
แลกเปล่ียนและใชอ้ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ของเครือข่ายร่วมกนั ได้

การท่ีเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์มีบทบาท และความสาคญั เพิ่มข้ึนเพราะไมโครคอมพวิ เตอร์ไดร้ ับการใช้ งาน
อยา่ งแพร่หลาย จึงเกิดความตอ้ งการที่จะเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่าน้นั เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อเพ่ิมขดี ความ สามารถ
ของระบบใหส้ ูงข้ึน เพมิ่ การใชง้ านดา้ นต่าง ๆ และลดตน้ ทุนระบบโดยรวมลง เครือขา่ ยมีต้งั แต่ ขนาดเลก็ ท่ี
เช่ือมต่อกนั ดว้ ยคอมพิวเตอร์เพยี งสองหรือสามเคร่ืองเพือ่ ใชง้ านในบา้ น หรือในบริษทั เลก็ ๆ ไปจนถึง
เครือข่ายระดบั โลกที่ครอบคลมุ ไปเกือบทุกประเทศ เครือขา่ ยสามารถเชื่อมต่อคอมพวิ เตอร์เป็น จานวนมาก
ทวั่ โลกเขา้ ดว้ ยกนั เรียกวา่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)

6 พื้นฐานการสอ่ื สารขอ้ มูลเครอื ข่าย

องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ สามารถแบ่งองค์ประกอบทสี่ าคญั ๆ ได้แก่

1. คอมพวิ เตอร์อยา่ งนอ้ ย 2 เคร่ือง

2. เนต็ เวิร์กการ์ด หรือ NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ดเสียบเขา้ กบั ช่องสลอดบน เมนบอร์ดของ
คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงเป็นจุดเชื่อมตอ่ ระหวา่ งคอมพิวเตอร์และเครือข่าย

3. ส่ือกลางและอปุ กรณ์สาหรับการรับส่งขอ้ มูล เช่น สายสัญญาณ ปัจจุบนั ท่ีนิยมใชไ้ ดแ้ ก่สายคู่ บิดเกลียว
(Twisted Pair Cable) และสายใยแกว้ นาแสง ส่วนอปุ กรณ์เครือข่าย ไดแ้ ก่ สวติ ช์ (Switch) เกตเวย์
(Gateway) เราเตอร์ (Router)

4. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพวิ เตอร์ใชส้ ่ือสารกนั ผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่
สามารถสื่อสารกนั ได้ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีภาษาสื่อกลางที่ทาใหเ้ ขา้ ใจกนั คือ โปรโตคอลเดียวกนั เช่น TCP /IP,
IPX/SPX

พืน้ ฐานการสื่อสารขอ้ มลู เครอื ข่าย 7

หลกั การทางานของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

การใชร้ ะบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์น้นั มีหลกั การทางานตา่ ง ๆ ซ่ึงประกอบดว้ ย

1. การส่ือสาร (Communication) เป็นการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลซ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ ดว้ ยกนั เอง รวมไปถึงการสื่อสารระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกนั เอง เช่น การใชไ้ ปรษณีย์
อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-mail) ซ่ึงอาจจะมีการแลกเปล่ียนขอ้ มูลจากการแนบไฟลเ์ อกสารไปดว้ ย

2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั (Resource Sharing) ทรพั ยากรในท่ีน้ี คือ อปุ กรณ์ฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ท่ี
เชื่อมต่ออยกู่ บั เครือข่าย เช่น เคร่ืองพิมพ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสก์ รวมไปถึงซอฟตแ์ วร์
เฉพาะบาง ประเภทท่ีสามารถใชง้ านร่วมกนั ไดอ้ ีกดว้ ย เช่น ซอฟตแ์ วร์ท่ีทางานบนเครื่อง
ใหบ้ ริการกลาง (Server) ในการใชท้ รัพยากรร่วมกนั น้นั นอกจากจะเป็นการประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย
แลว้ ยงั เป็นการทางานร่วมกนั เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพของงานไดอ้ ีกดว้ ย เช่น ในหอ้ งทางานท่ีมี
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ 10 เคร่ือง กส็ ามารถใช้ เครื่องพมิ พร์ ่วมกนั เพยี ง 1 เครื่อง แทนที่จะตอ้ งมี
เครื่องพิมพถ์ ึง 10 เคร่ืองหน่วยที

3. การใชข้ อ้ มูลและแฟ้มขอ้ มลู ร่วมกนั (Data and File Sharing) เป็นการทางานที่มีผใู้ หบ้ ริการ
(Server) เป็นศูนยก์ ลาง ขอ้ มูลและแฟ้มขอ้ มูลจะถูกเก็บไวท้ ี่ศูนยก์ ลาง (Server) เมื่อผใู้ ชบ้ ริการ
(Client) ตอ้ งการใชข้ อ้ มลู สามารถติดตอ่ ผใู้ หบ้ ริการเพอื่ รับขอ้ มลู ได้ วธิ ีการน้ีจะช่วยให้
ผใู้ ชบ้ ริการทกุ คนที่ทางาน ร่วมกนั ไดร้ ับขอ้ มลู ชุดเดียวกนั เสมอ เพอื่ ใหก้ ารทางานกบั ขอ้ มูลน้นั
ถกู ตอ้ ง เช่น ธนาคารจะมียอดเงิน ยอดเดียวในบญั ชี ไมว่ า่ จะกดเงินจากตู้ ATM ท่ีใดกต็ าม
ยอดเงินที่มีอยจู่ ะถูกหกั ตามท่ีไดก้ ดเงินไป หรือ การใชเ้ รียกดูหนา้ เวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ ผใู้ ชง้ านกจ็ ะได้
หนา้ เวบ็ ท่ีเหมือนกนั เป็นตน้ นอกจากน้นั ผใู้ หบ้ ริการยงั สามารถดูแลปกป้องขอ้ มูลไม่ใหบ้ คุ คล
ท่ีไมม่ ีสิทธ์ิเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ เช่น การใชร้ หสั ผา่ นในการเขา้ ถึงขอ้ มูล เป็นตน้

4. การเขา้ ใชง้ านระยะไกล (Remote Login) ผใู้ ชง้ านสามารถเขา้ ใชท้ รัพยากรได้ ไม่วา่ จะอยทู่ ่ีใด
กต็ าม ภายใตเ้ งื่อนไขที่วา่ เครื่องคอมพิวเตอร์ของเขาจะตอ้ งเชื่อมตอ่ อยกู่ บั เครือขา่ ย ดว้ ยเหตผุ ล
น้ีผดู้ ูแล ระบบจึงสามารถเขา้ ดูแลระบบจากที่ใดกไ็ ด้

5. ความเชื่อถือได้ (Reliability) ในการใชง้ านเครือขา่ ยในปัจจุบนั น้นั ความน่าเชื่อถือเป็นส่ิงที่
สาคญั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ตอ่ การดาเนินธุรกิจ เช่น ร้านคา้ ออนไลน์ หรือระบบธนาคาร

8 พนื้ ฐานการสอื่ สารขอ้ มูลเครือขา่ ย

ตวั อยา่ งเช่น เม่ือ ลกู คา้ ตอ้ งการใชง้ านขอ้ มูล แตข่ อ้ มูลท่ีลูกคา้ ตอ้ งการใชไ้ มไ่ ด้ ระบบกไ็ มม่ ีความ
น่าเช่ือถือ สามารถแกไ้ ข ไดโ้ ดยการสารองขอ้ มูลไวห้ ลาย ๆ สาเนา เม่ือสาเนาที่หน่ึงใชไ้ ม่ได้ ก็
เปล่ียนไปใชส้ าเนาที่สอง เป็นตน้ ซ่ึงจะทาใหก้ ารทางานของลกู คา้ ไมส่ ะดุด เป็นการเพม่ิ ความ
น่าเช่ือถือใหก้ บั ธุรกิจได้

6. การลดค่าใชจ้ ่าย (Cost Reduction) การใชง้ านเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์น้นั ผใู้ ชง้ านไม่จาเป็นตอ้ ง
เดินทางไปตามสถานที่ต่าง ๆ เพอ่ื ทาการรวบรวมขอ้ มลู เป็นการลดค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง
นอกจากน้ี ยงั สามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายในการส่ือสารไดอ้ ีกดว้ ย เพราะการส่ือสารผา่ นเครือขา่ ย เช่น
การใชอ้ ีเมล์ (E-mail) เฟซบกุ๊ (Facebook) หรือไลน์ (Line) น้นั มีความสะดวก รวดเร็ว และเสีย
ค่าบริการต่า ทาใหค้ า่ ใชจ้ ่ายโดย รวมและตน้ ทุนถูกลงดว้ ย

พืน้ ฐานการส่ือสารขอ้ มลู เครือขา่ ย 9

ประโยชน์ของการสื่อสารและข้อมูลเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบ้ืองตน้ การส่ือสารขอ้ มลู และเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ก่อใหเ้ กิดประโยชน์
ดงั น้ี 1. ความสะดวกในการแบง่ ปันขอ้ มลู ปัจจุบนั มีขอ้ มูลจานวนมากสามารถถูกส่งผา่ น
เครือขา่ ย การสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว เช่น การส่งขอ้ มูลผา่ นเครือข่าย
โทรศพั ท์ ระบบดีเอสแอล (Digital Subscriber Line DSL) ถา้ ส่งดว้ ยอตั ราเร็ว 2 Mbps หรือ
ประมาณ 256 Kbps จะส่งขอ้ มูลจานวน 200 หนา้ ไดใ้ นเวลานอ้ ยกวา่ 10 วินาที 2. ความถูกตอ้ ง
ของขอ้ มลู การรับส่งขอ้ มูลระหวา่ งคอมพิวเตอร์ผา่ นเครือข่ายการสื่อสารเป็นการส่ง แบบ
ดิจิตอล ซ่ึงระบบการสื่อสารจะมีการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลท่ีส่ง และแกไ้ ขขอ้ มูลท่ี
ผิดพลาดใหถ้ ูกตอ้ งไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ ดงั น้นั การส่ือสารขอ้ มลู จึงมีความน่าเช่ือถือสูง

3. ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู การใชค้ อมพิวเตอร์ในการส่งขอ้ มูล หรือคน้ ควา้ ขอ้ มูลจาก
ฐานขอ้ มูล ขนาดใหญส่ ามารถทาไดร้ วดเร็ว เน่ืองจากสัญญาณทางไฟฟ้าเดินทางดว้ ยความเร็ว
ใกลเ้ คียงความเร็วแสง เช่น การดูภาพยนตร์ หรือรายการโทรทศั น์ผา่ นอินเทอร์เน็ต การ
ตรวจสอบหรือการจองท่ีนงั่ ของ สายการบินสามารถทาไดท้ นั ที4. การประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการ
ส่ือสารขอ้ มลู การรับและส่งขอ้ มลู ผา่ นเครือข่ายการสื่อสารสามารถ ทาไดใ้ นราคาถกู กวา่ การ
สื่อสารแบบอ่ืน เช่น การใชง้ านโทรศพั ทโ์ ดยผา่ นอินเทอร์เนต็ หรือที่เรียกวา่ วอยซ์โอเวอร์ไอพี
(Voice over IP : VoIP) จะมีค่าใชจ้ ่ายต่ากวา่ การใชง้ านโทรศพั ทโ์ ดยผา่ นระบบโทรศพั ท์
พ้นื ฐาน หรือการใชอ้ ีเมลส่งขอ้ มูล หรือเอกสารในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์จะมีคา่ ใชจ้ ่ายต่ากวา่
และรวดเร็ว กวา่ การส่งเอกสารแบบวธิ ีอ่ืน

5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองคก์ รสามารถใชอ้ ปุ กรณ์สารสนเทศร่วมกนั ได้
โดยไม่ ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการติดต้งั อุปกรณ์ให้กบั ทุกเคร่ือง เช่น เครื่องพิมพ์ นอกจากน้ี ยงั
สามารถใชโ้ ปรแกรม และขอ้ มูลร่วมกนั ได้ โดยจดั เกบ็ โปรแกรมและขอ้ มลู เหลา่ น้นั ไวท้ ่ีแหลง่
เกบ็ ขอ้ มูลที่เป็นศนู ยก์ ลาง เช่น เครื่องบริการไฟล์ (File Server) เป็นตน้

6. ความสะดวกในการประสานงาน ในองคก์ รที่มีหน่วยงานยอ่ ยหลายแห่งท่ีอยหู่ ่างไกลกนั
สามารถ ทางานประสานกนั ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล และการแกไ้ ข
เอกสารร่วมกนั ผา่ น ระบบเครือข่าย

10 พ้ืนฐานการสอื่ สารข้อมลู เครือขา่ ย

7. การขยายบริการองคก์ ร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาใหอ้ งคก์ รสามารถกระจายการทางานไปตาม
จุดตา่ ง ๆ ที่ตอ้ งการให้บริการ เช่น ธนาคารท่ีมีสาขาทวั่ ประเทศ สามารถถอนเงินไดจ้ ากตู้
เอทีเอม็ หรือ ฝากเงินไดต้ ามตเู้ อทีเอม็ เป็นตน้ 8. การสร้างบริการรูปแบบใหมบ่ นเครือข่าย การ
ใหบ้ ริการต่าง ๆ ผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทาให้ ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ใชบ้ ริการไดท้ ุกท่ีทกุ เวลา เช่น
การซ้ือสินคา้ ผา่ นร้านคา้ ออนไลน์ ซ่ึงเป็นบริการแบบหน่ึง ของพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (E -
Commerce) และการรับชาระสินคา้ คา่ สาธารณูปโภคผา่ นจุดรับชาระ แบบออนไลน์ ท่ีเรียกวา่
เคาน์เตอร์เซอร์วสิ (Counter Service)

พืน้ ฐานการสื่อสารขอ้ มูลเครอื ข่าย 11

เครือข่ายคอมพวิ เตอร์กบั ชีวติ ประจาวนั

ปัจจุบนั คอมพวิ เตอร์ไดเ้ ขา้ มาเป็นส่วนหน่ึงในชีวิตประจาวนั มากยง่ิ ข้ึน ซ่ึงสามารถที่จะใชใ้ น
การส่ือสารและติดต่อซ่ึงกนั และกนั ตลอดเวลา โดยผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ฉะน้นั เครือขา่ ย
คอมพวิ เตอร์จึงเขา้ มามีบทบาทอยา่ งมากกบั ชีวิตประจาวนั ในหลายดา้ นดว้ ยกนั ดงั น้ี

1. ดา้ นธุรกิจ เช่น บริษทั ร้านคา้ หา้ งสรรพสินคา้ ตลอดจนโรงงานต่าง ๆ ใชค้ อมพิวเตอร์ใน การ
ทาบญั ชี งานประมวลผลคา และติดตอ่ กบั หน่วยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากน้ี
งานอตุ สาหกรรมส่วนใหญ่ไดน้ าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบ
ชิ้นส่วน ของอปุ กรณ์ต่าง ๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซ่ึงทาใหก้ ารผลิตมีคุณภาพดีข้ึน หรือ
งานธนาคารท่ีให้ บริการถอนเงินผา่ นตูฝ้ ากถอนเงินอตั โนมตั ิ (ATM) และใชค้ อมพิวเตอร์คิด
ดอกเบ้ียใหก้ บั ผฝู้ ากเงิน และ การโอนเงินระหวา่ งบญั ชี เช่ือมโยงกนั เป็นระบบเครือข่ายหน่วยท่ี

2. ดา้ นวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ นส่วนของ
การคานวณท่ีค่อนขา้ งซบั ซอ้ น เช่น งานศึกษาโมเลกุล สารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวด
ไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็ นอปุ กรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซ่ึง
จะใหผ้ ลที่แมน่ ยากวา่ การตรวจดว้ ยวธิ ีเคมีแบบเดิม และใหก้ ารรักษาไดร้ วดเร็วข้ึน 3. ดา้ น
คมนาคมและการส่ือสาร ในส่วนที่เก่ียวกบั การเดินทาง จะใชค้ อมพิวเตอร์ในการจองวนั เวลา ที่
นง่ั ซ่ึงมีการเชื่อมโยงไปยงั ทกุ สถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาใหส้ ะดวกต่อผเู้ ดินทางท่ีไมต่ อ้ ง
เสียเวลารอ อีกท้งั ยงั ใชใ้ นการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และการจราจร
ทางอากาศ หรือในการส่ือสารกใ็ ชค้ วบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพ่อื ใหอ้ ยใู่ นวงโคจร ซ่ึงจะช่วย
ส่งผลตอ่ การส่ง สญั ญาณใหร้ ะบบการส่ือสารมีความชดั เจน

4. ดา้ นวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ในการ
ออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่าง ๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเม่ือเกิด
แผน่ ดินไหว โดย คอมพวิ เตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกลเ้ คียงความจริง รวมท้งั
การใชค้ วบคุมและติดตาม ความกา้ วหนา้ ของโครงการต่าง ๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการ
ทางาน งานราชการ เป็นหน่วยงานท่ี มีการใชค้ อมพวิ เตอร์มากท่ีสุด โดยมีการใชห้ ลายรูปแบบ
ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั บทบาทและหนา้ ท่ีของหน่วยงาน น้นั ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใชร้ ะบบ
ประชุมทางไกลผา่ นคอมพวิ เตอร์ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไดจ้ ดั ระบบเครือข่าย

12 พื้นฐานการสื่อสารขอ้ มูลเครอื ข่าย

Internet เพอื่ เชื่อมโยงไปยงั สถาบนั ตา่ ง ๆ กรมสรรพากร ใชใ้ นการ จดั เกบ็ ภาษี บนั ทึกการเสีย
ภาษี เป็นตน้ 5. ดา้ นการศึกษา ไดแ้ ก่ การใชค้ อมพวิ เตอร์ทางดา้ นการเรียนการสอน ซ่ึงมีการนา
คอมพวิ เตอร์ มาช่วยการสอนในลกั ษณะบทเรียน CAI หรือดา้ นงานทะเบียน ซ่ึงทาใหส้ ะดวกตอ่
การคน้ หาขอ้ มลู นกั เรียน การเก็บขอ้ มูลการยมื และการส่งคืนหนงั สือหอ้ งสมุด

6. ดา้ นการตลาดและการขาย ในธุรกิจประเภทขายสินคา้ ท่ีมีหลายสาขา ระบบเครือขา่ ย
คอมพวิ เตอร์ จะมีประโยชน์อยา่ งมากในการช่วยจดั วเิ คราะห์การตลาด โดยนาขอ้ มูลท่ีเกิดจาก
การขายประจาสาขาต่าง ๆมาประมวลผลท่ีสาขาใหญไ่ ดส้ ะดวก รวดเร็ว อีกท้งั ยงั เป็นการ
ตรวจสอบขอ้ มูลของแต่ละสาขาดว้ ย นอกจากน้ี สาขาตา่ ง ๆ ยงั สามารถสัง่ ซ้ือสินคา้ ผา่ นทาง
ระบบเครือข่ายได้

7. ดา้ นการสื่อสารทางจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ นบั ต้งั แตเ่ ครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตไดเ้ ขา้ มามีบทบาท
ในชีวติ ประจาวนั ของมนุษย์ การรับส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ก็เป็นที่ไดร้ ับความนิยม หรืออาจ
กลา่ วไดว้ า่ เป็นบริการที่ไดร้ ับความนิยมสูงสุด

8. ดา้ นบริการขอ้ มลู ขา่ วสาร คือ การนาเสนอข่าวสารตา่ ง ๆ ของหน่วยงาน องคก์ ร และบุคคล
ตา่ ง ๆ

ท่ีตอ้ งการจะเผยแพร่ขา่ วสารไปยงั บุคคลอ่ืน เพอ่ื หวงั ผลประโยชนท์ างธุรกิจ และไม่มี
ผลประโยชนม์ า เกี่ยวขอ้ ง บริการน้ี คือ เวิลด์ ไวด์ เวบ็ (Word Wide Web) นอกจากน้ี ยงั เป็น
เครือข่ายท่ีสามารถแลก เปลี่ยนขอ้ มลู ระหวา่ งกนั โดยสามารถทาการคดั ลอก หรือถ่ายโอนขอ้ มลู
ท้งั ในรูปแบบของการถ่ายโอน ขอ้ มูลมาไวท้ ่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของตนเอง (Download) และนา
แฟ้มขอ้ มูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของ ตนเองไปยงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องของผอู้ ื่น (Upload)
ไดด้ ว้ ย

9. ดา้ นระบบทีวี เป็นการแพร่สัญญาณผา่ นสายเคเบิล หรือผา่ นดาวเทียมในรูปแบบของสมาชิก
ท่ี สมาชิกสามารถเขา้ รับชมตามเครือข่ายที่เป็นสมาชิกเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไดเ้ ขา้ มามีส่วน
เกี่ยวขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั มากมาย ดงั ท่ีไดย้ กตวั อยา่ งขา้ งตน้ ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ เครือข่าย
คอมพวิ เตอร์มีส่วนสาคญั กบั การดารงชีวติ ในดา้ นการสนองตอบทางดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร การ
สื่อสาร ทาใหค้ วามสาคญั ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์มีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาและเรียนรู้ เป็น
อยา่ งยงิ่

พืน้ ฐานการส่ือสารขอ้ มลู เครือข่าย 13

สรุปท้ายหน่วย

การส่ือสารขอ้ มูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปล่ียนขอ้ มูลซ่ึงกนั และกนั โดยอาศยั
รูปแบบ ของการส่งสัญญาณขอ้ มลู แบบต่าง ๆ คือ การสื่อสารแบบทางเดียว การสื่อสารแบบ
สลบั หรือการส่ือสาร สิ่งของทาง และการส่ือสารแบบสองทาง ท้งั น้ีการสื่อสารท่ีจะใหค้ วาม
สะดวกและรวดเร็ว ตอ้ งอาศยั ระบบเครือข่าย ดว้ ยการเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์ท้งั หลายเขา้ ดว้ ยกนั
เพ่อื เพ่มิ ขีดความสามารถของระบบใน สูงข้ึน จนถึงเครือข่ายระดบั โลกที่ครอบคลมุ ไปเกือบทุก
ประเทศ ท่ีเรียกกนั วา่ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต


Click to View FlipBook Version