The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ktawon, 2024-06-15 04:08:47

ดร.ศิริวัฒน์ ครองบุญ

การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี

Keywords: Peace communicator,peaceful communication,building religious harmony

๑๘๕ แบบสัมภาษณ์เพื่อการวิจัย แบบเจาะลึก (Structured In-depth interview) เรื่อง การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี THE DEVELOPMENT OF THE PEACEFUL COMMUNICATORS AND RECONCULIATION CONSTRUCTION OF THE RELIGION IN CHANTHABURI PROVICE ---------------------------- คำชี้แจง : แบบสัมภาษณ์ การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรีโดยแนวทางการสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน คือ ตอนที่ ๑ เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ เป็นคำถามเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารเชิงสันติของผู้นำทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ตอนที่ ๓ เป็นคำถามเกี่ยวกับการพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติ ระหว่างศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ตอนที่ ๔ เป็นคำถามเกี่ยวกับการเสริมสร้างเครือข่ายการสื่อสารเชิงสันติของผู้นำทาง ศาสนาในจังหวัดจันทบุรี ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและ การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ตอนที่ ๑ เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ……………….………………………...................นามสกุล.....………………………………………….. อายุ......……………………………………...............วุฒิการศึกษา……………………........................ ตำแหน่งหน้าที่………………….........................................…………………………………………..... สังกัดองค์กร…………………………...........................................…………….………………………… นับถือศาสนา.................................................................................................... .................


๑๘๖ ประสบการณ์ด้านการสื่อสาร / การสร้างความปรองดองสมานฉันท์.…..……………………… สถานที่อยู่.....................……………………………………........................หมู่ที่........................... ตำบล..............................................อำเภอ...................................จังหวัด.......................... โทรศัพท์………………………….............................................................................................. E-mail: …………………………………...................................................................................... ไลน์......................................................................................................................... .......... วัน/เวลาที่สัมภาษณ์………………………………….…………….........……………….…………………… ลงชื่อ......................................................................ผู้สัมภาษณ์ (....................................................................) ลงชื่อ......................................................................ผู้ให้สัมภาษณ์ (....................................................................) ..................../....................../......................... ตอนที่ ๒ เป็นคำถามเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารเชิงสันติของผู้นำทางศาสนาในจังหวัดจันทบุรี อย่างไร? ๑. ท่านมีทักษะการโน้มน้าวจูงใจในการทำงานเป็นทีมและให้ทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วม ในกิจกรรมภายในชุมชน อย่างไร? ………......................................................................................……….......................................... ............................................………......................................................................................………............ ..........................................................................………............................................................................. ..............………......................................................................................……….......................................... ๒. ท่านมีทักษะในการนำชุมชนให้มีส่วนร่วมระหว่างศาสนา พุทธ คริสต์ และอิสลาม อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................…….....................


๑๘๗ ๓. ท่านมีทักษะการสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันโดยให้ความเคารพให้ เกียรติ มองเห็นความดีงามและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ๔. ท่านมีทักษะการสื่อสารที่ดี กล่าวความจริงอย่างสร้างสรรค์ได้อย่างเหมาะสมต่อบริบท และเหตุการณ์ภายในชุมชน อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ๕. ชุมชนเห็นความสำคัญและมีความเชื่อมั่นในวิถีแห่งสันติภาพ อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ตอนที่ ๓ เป็นคำถามเกี่ยวกับการพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติระหว่างศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ๑. การอยู่ร่วมกันในวิถีแห่งพหุวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างในด้านความเชื่อและวัฒนธรรม ท่านมีหลักการ วิธีการในการสร้างความปรองดองภายในชุมชน อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ๒. ท่านมีการสื่อสารเพื่อให้สมาชิกชุมชนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติอย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................…….....................


๑๘๘ ๓. การสร้างความสัมพันธ์หรือความผูกพันทั้งในระดับบุคคล ระดับองค์กร เป็นอย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ๔. ท่านมีการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ตลอดถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม สาธารณประโยชน์อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ๕. หลักคำสอนทางศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ที่มีปัจจัยส่งเสริมให้ชุมชนเกิดสันติสุข อย่างไร? ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... ............………......................................................................................….......................……..................... ตอนที่ ๔ เป็นคำถามเกี่ยวกับการเสริมสร้างเครือข่ายการสื่อสารเชิงสันติของผู้นำทางศาสนาในจังหวัด จันทบุรี ๑. ท่านคิดว่า ชุมชนมีสันติสุขได้ภายใต้การเสริมสร้างการสื่อสารเชิงสันติและการสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา อย่างไร? ………......................................................................................………........................................ ..............................................………......................................................................................……….......... ............................................................................………........................................................................... ...........………......................................................................................….......................……...................... ๒. ผู้นำทางศาสนามีบทบาทในการสื่อสารเพื่อสร้างชุมชนสันติสุขในท่ามกลางสังคม พหุวัฒนธรรม อย่างไร? ………......................................................................................………....................................................... ...............................………......................................................................................……….........................


๑๘๙ .............................................................………......................................................................................… ……......................................................................................….......................……...................... ๓. การสื่อสารแนวสันติวิถีในการอยู่ร่วมกันที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็น อย่างไร? ………......................................................................................………........................................ ..............................................………......................................................................................……….......... ............................................................................………........................................................................... ...........………......................................................................................….......................……...................... ตอนที่ ๕ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ………......................................................................................………....................................... ...............................................………......................................................................................………......... .............................................................................……….......................................................................... .……......................................................................................….......................……................................... ..............................................………......................................................................................……….......... ............................................................................………........................................................................... ขอขอบพระคุณท่านที่เสียสละเวลาอันมีค่าในการให้สัมภาษณ์ คณะผู้วิจัย


๑๙๐ แบบสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) เรื่อง การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี THE DEVELOPMENT OF THE PEACEFUL COMMUNICATORS AND RECONCULIATION CONSTRUCTION OF THE RELIGION IN CHANTHABURI PROVICE ---------------------------- คำชี้แจง : แบบสนทนากลุ่มเฉพาะแบ่งออกเป็น ๓ ตอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ เป็นการสนทนากลุ่มเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารเชิงสันติของผู้นำทางศาสนา ตอนที่ ๒ เป็นการสนทนากลุ่มเฉพาะเกี่ยวกับการพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิง สันติระหว่างศาสนา ตอนที่ ๓ เป็นการสนทนากลุ่มเฉพาะเกี่ยวกับการเสริมสร้างเครือข่ายการสื่อสารเชิงสันติของ ผู้นำทางศาสนาในจังหวัดจันทบุรี การสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) คณะผู้วิจัย สร้างประเด็นคำถามใน การสนทนากลุ่ม โดยมุ่งหมายให้การสนทนากลุ่ม สามารถหาลักษณะร่วม (Common Character) และข้อสรุปร่วม (Common Conclusion) ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และการบูรณาการจาก กิจกรรม การมีส่วนร่วมภายในชุมชนตามวิถีแห่งความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา และสามารถสังเคราะห์ แนวคิดทฤษฎีและหลักคำสอนทางศาสนา เพื่อเป็นแบบนักสื่อสารสันติภาพ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีความจำเป็นที่จะต้องจัดการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) ซึ่งพระคุณท่าน/ท่านเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอย่างดี จึงใคร่ขออาราธนาพระคุณท่าน/ท่าน พร้อมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวเข้าร่วมการสนทนา กลุ่มเฉพาะ เรื่อง “การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี” คณะผู้วิจัยขออนุญาตใช้เครื่องบันทึกเสียง กล้องบันทึกภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวขณะที่ ทำการสนทนากลุ่มเฉพาะ เพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป และขอขอบคุณทุกท่านใน ความเอื้อเฟื้อทางวิชาการเป็นอย่างสูงที่ได้ให้ข้อเสนอแนะและคำแนะนำมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณในความอนุเคราะห์เป็นอย่างสูง คณะผู้วิจัย


ภาคผนวก ง. รูปภาพประกอบการสัมภาษณ์


๑๙๒


๑๙๓


๑๙๔


๑๙๕


๑๙๖


๑๙๗


๑๙๘


๑๙๙


ภาคผนวก จ. หนังสือเชิญเข้าร่วมการสนทนากลุ่มเฉพาะ


๒๐๑


๒๐๒


๒๐๓


๒๐๔


๒๐๕


๒๐๖


๒๐๗


๒๐๘


๒๐๙


ภาคผนวก ฉ. รูปภาพประกอบการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion)


๒๑๑ รูปภาพประกอบการสนทนากลุ่มเฉพาะ (Focus Group Discussion) เรื่อง การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี The Development of the Peaceful Communicators and Reconculiation Construction of the Religion in Chanthaburi Provice โปรแกรม Zoom Meeting ID: 663 343 5464, Passcode: 123456 19 มกราคม ๒๕๖๗


๒๑๒


๒๑๓


ภาคผนวก ช. ใบรับรองจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอการวิจัย


๒๑๕


ภาคผนวก ซ. หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัย


๒๑๗


ภาคผนวก ญ. สรุปผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (Output/Outcome/Impact) ที่ได้จากงานวิจัย


๒๑๙ สรุปผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (Output/Outcome/Impact) ที่ได้จากงานวิจัย เรื่อง การพัฒนานักสื่อสารสันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติและการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลกระทบ (Impact) มีการนำเอาองค์ความรู้ไป ปฏิบัติและใช้เป็นแนวทาง ในการอบรม การเผยแผ่ ศาสนา ประกอบด้วย พุทธ คริสต์ และอิสลาม ได้ผลงานที่ได้รับการยอมรับ ตีพิมพ์ TCI ฐาน ๒ จำนวน ๑ เรื่อง วารสารสหวิทยาการ สังคมศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพ พรรณีจังหวัดจันทบุรี ให้บริการทางด้านหลักการ วิธีการของศาสนา เพื่อวิถีแห่ง สันติในการอยู่ร่วมกันที่ สามารถท าให้คนในชุมชน มีความสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ บทความวิจัย “การพัฒนานักสื่อสาร สันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติ และการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ในจังหวัดจันทบุรี” ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ ในวารสาร TCI ฐาน ๒ ผู้นำทางศาสนามารถนำไป อ้างอิงในผลงานวิจัยหรือ ผลงานวิชาการที่ตนเองได้ จัดทำขึ้น หรือสามารถ ประยุกต์หลักคำสอนทาง ศาสนาไปใช้กับศาสนิกใน ศาสนาของตน ได้ต้นแบบสักสื่อสารสันติภาพ เพื่อสร้างความปรองดองสมาน ฉนท์ทางศาสนา ประกอบด้วย ความรัก ความเมตตา คุณธรรม จริยธรรม ความ สามัคคี ความเสมอภาค และ สันติภาพ ชุมชนมีเครือข่ายการสื่อสาร เชิงสันติ โดยนำหลักธรรมทาง ศาสนามาประยุกต์ใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้ ชุมชนมีสันติภาพ ผู้นำทางศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม เป็นต้นแบบนักสื่อสาร สันติภาพในการสื่อสารเชิงสันติ และการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ทางศาสนา ที่จะ เผยแพร่การสื่อสารสันติภาพ ให้กับชุมชนอื่น ๆ และผู้นำ ทางศาสนารุ่นต่อ ๆ ไป


๒๒๐ ส่วน ก : ประวัติผู้ร่วมวิจัย สัดส่วน 50% ชื่อ – สกุล : ดร.ศิรวัฒน์ ครองบุญ Dr.Sirawat Krongbun เลขหมายบัตร 5 3508 90010 79 8 ประจำตัวประชาชน วัน/เดือน/ปีเกิด : วันพุธ ที่ ๔ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๖ สถานที่เกิด : ๑๓๔ หมู่ ๑ บ้านโคกสำราญ ตำบลโคกสำราญ อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ๓๕๑๒๐ การศึกษา พ.ศ.๒๕๓๙ : น.ธ.เอก (นักธรรมชั้นเอก) ป.ธ.๗ (เปรียญธรรม ๗ ประโยค) พ.ศ.๒๕๔๓ : ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชาปรัชญา (Philosophy) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๔๗ : ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (Master of Education : M.Ed.) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ.๒๕๖๐ : ปริญญาเอก พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำแหน่ง : ประธานหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ผู้อำนวยการสำนักงานวิชาการ (รก.) วิทยาลัยสงฆ์จันทบุรี ประสบการณ์การทำงาน พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๗ : อาจารย์ประจำหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ วัดป่าประดู่ จังหวัดระยอง พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๗ : เจ้าหน้าที่ทะเบียนและวัดผลหน่วยวิทยบริการ วัดป่าประดู่ จังหวัดระยอง รางวัลที่ได้รับ ๒๕๕๖ : โล่เกียรติยศ ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ภาค ๑๓ ผลงานทางวิชาการ : ซีเอสอาร์วิถีพุทธ: แนวคิดเพื่อการจัดการวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม ยุคใหม่ วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (ฉบับพิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๕๘ ประวัติหัวหน้าโครงการวิจัย


๒๒๑ : ภาวะผู้นำขององค์ทะไลลามะเพื่อสันติภาพสากล วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙ : พุทธพยากรณ์: ถอดรหัสพุทธิปัญญาเพื่อการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี วารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙ ผลงานด้านวิจัย 1. การพัฒนารูปแบบการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และสุขภาวะ ตามแนวพระพุทธศาสนากองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ (สสส.) 2561 งบประมาณ 350,000 บาท พระปลัดเวชยันต์ ฐิตสทฺโธ หัวหน้าโครงการวิจัยชุด, ดร.ศิรวัฒน์ ครองบุญ ผู้ร่วมวิจัย 2. อาวุโสฟรีแลนซ์: การเสริมสร้างระบบและกลไกส่งเสริมอาชีพ อิสระของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านป้อม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2563 งบประมาณ 350,000 บาท พระมหาเกรียงศักดิ์ วิถีชัย หัวหน้าโครงการวิจัยชุด, ดร.ศิรวัฒน์ ครองบุญ ผู้ร่วมวิจัย ที่อยู่ปัจจุบัน : ๙๕ หมู่ที่ ๘ วัดป่าใต้ พุทธมณฑลจันทบุรี ตำบลบางกะจะ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ๒๒๐๐๐ โทร ๐๖๒-๓๒๙๓๑๙๗ E-mail: [email protected] [email protected]


๒๒๒ ส่วน ข : ประวัติผู้ร่วมวิจัย สัดส่วน 50% ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) ดร.วารีญา ม่วงเกลี้ยง ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Dr. Wareeya Muangkliang เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 3 1017 00061 457 ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์จันทบุรี สถานที่ติดต่อ วิทยาลัยสงฆ์จันทบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โทรศัพท์มือถือ 080-164-1695 E-mail: [email protected] ประวัติการศึกษา - ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา องค์การ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา ปี พ.ศ. 2565 - ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา ปี พ.ศ. 2552 - ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ปี พ.ศ. 2548 ผลงานวิจัย 1. แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ประกอบการอัญมณี รายย่อย เพื่อสร้างความเข้มแข็งในด้านการดำเนิน ธุรกิจอัญมณี ในจังหวัดจันทบุรี 2558 งบประมาณสนับสนุนโดย ศูนย์ประสานงานวิจัย เพื่อท้องถิ่นภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี หัวหน้าโครงการ นางวารีญา ม่วงเกลี้ยง 2. ปัจจัยความสำเร็จของชุมชนต้นแบบในการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้รับทุนสนับสนุนโดยแผนงาน ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนทุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยท้องถิ่น ผศ.ดร.สม ตระกูล ราศิริ หัวหน้าโครงการ นางวารีญา ม่วงเกลี้ยง ผู้ร่วมวิจัย ประวัติผู้ร่วมวิจัย


Click to View FlipBook Version