The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

try to create ebook

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuttakan wongfun, 2019-11-06 01:58:30

trial

try to create ebook

การวิเคราะหศ์ กั ยภาพพื้นทีเ่ พอื่ รองรับความเสยี่ งดา้ นมลพิษทางน้า
(กรณีศกึ ษา ลา้ พูน ลา้ ปาง พิษณโุ ลก และนครสวรรค)์

GIS North1*

บทคดั ย่อ

บทน้า : การวางแผนการพัฒนาพ้ืนที่ให้เหมาะสมกับศักยภาพทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะ
ความเส่ียงในการเกิดปัญหามลพิษทางน้า จ้าเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ศักยภาพของพ้ืนท่ี (Potential surface analysis)
และเทคนิคการซ้อนทับข้อมูล (Overlay analysis) ด้วยเคร่ืองมือสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อน้าไปสู่การวางแผนรองรับ
การขยายตัวของเมือง
วัตถุประสงค์ : เพ่ือศึกษาศักยภาพการรองรับความเส่ียงด้านมลพิษทางน้าของจังหวัดในพ้ืนท่ีภาคเหนือ 4 แห่ง ได้แก่ ล้าพูน
ล้าปาง พษิ ณโุ ลก และนครสวรรค์ ดว้ ยเครื่องมอื สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
วธิ กี ารศกึ ษา : 1) การประเมินคา่ คงทบ่ี โี อดีจากแหล่งก้าเนดิ มลพิษทางน้าประเภทต่าง ๆ 2) การให้ค่าน้าหนักคะแนนความเหมาะสม
ของปัจจัย (Weighting) และค่าคะแนนระดับปัจจัย (Rating) ของแหล่งก้าเนิดแต่ละประเภท 3) การซ้อนทับของพ้ืนที่และจัดระดับ
ความเส่ยี งจากแหล่งก้าเนดิ ทั้งหมด และการเปรยี บเทียบกบั สถานการณค์ ุณภาพนา้ ในพื้นทเี่ พื่อปรบั เทียบความถูกตอ้ ง
ผลการศึกษา : ปริมาณมลสารท่ีเกิดขึ้นรวม อยู่ในช่วงพิสัย 5,980 – 35,238 ตัน/ปี ค่าต้่าสุดได้แก่ จังหวัดล้าพูน โดยมีการ
ระบายมากที่สุดจากแหลง่ ก้าเนิดชุมชน ค่าสงู สุดพบที่จงั หวัดพิษณโุ ลกโดยมีการระบายมากทส่ี ุดจากแหล่งกา้ เนิดชมุ ชน พื้นที่ไม่
มีความเสี่ยง พ้ืนท่ีมีความเส่ียงน้อย พื้นท่ีมีความเส่ียงปานกลาง และพ้ืนท่ีมีความเสี่ยงมาก แบ่งเป็นช่วงระดับคะแนน 1 ถึง 4
ตามล้าดับ โดยพบวา่ พ้นื ทท่ี ง้ั 4 จังหวัดสว่ นใหญ่อยู่ระหว่างไม่มีความเสี่ยงหรือมีความเส่ียงน้อย ส่วนพื้นท่ีที่มีความเส่ียงมากมี
เพียงไม่เกินรอ้ ยละ 10 ของพ้นื ทที่ ัง้ หมด
วจิ ารณแ์ ละสรปุ : การประเมินพ้ืนท่ีเส่ียงทางมลพิษทางน้านี้ ชี้ให้เห็นว่าการขยายตัวของชุมชนเมืองเป็นปัญหาส้าคัญ ซึ่งอาจ
ส่งผลตอ่ คณุ ภาพนา้ ในแหล่งน้าหลัก จ้าเป็นต้องมกี ารวางแผนเพ่ือรวบรวมและบ้าบัดนา้ เสียท่ีเกดิ ขึ้นอยา่ งเรง่ ด่วน ตลอดจนการ
เร่งสรา้ งความตระหนักใหช้ มุ ชนบ้าบัดและลดการระบายนา้ เสยี ออกสู่ธรรมชาติ

คา้ ส้าคัญ : ศกั ยภาพพนื้ ท่ี การประเมนิ ความเสย่ี ง มลพิษทางน้า ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์

1 กลุ่มนักวชิ าการสิง่ แวดลอ้ ม, ส้านกั งานสง่ิ แวดล้อมภาคท่ี 1 (เชยี งใหม)่ 2 (ล้าปาง) 3 (พิษณุโลก) และ 4 (นครสวรรค์)
1 Environmentalists, Regional Environmental Office 1 (Chiang Mai) 2 (Lampang) 3 (Phitsanulok) and 4 (Nakhon Sawan)
* Corresponding author: Tel.: 054-227201 ext. 16. E-mail address: [email protected]

บทนา้

ปัจจัยการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศซงึ่ ส่งผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ และปัจจัยการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศไทย ส่งผลให้บริบทของสังคมเปลี่ยนแปลงจากชนบทสู่ความเป็นเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว แหล่งที่อยู่
อาศยั และศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจมแี นวโน้มกระจายตวั ออกสู่เมอื งขนาดใหญ่ในภมู ภิ าคต่าง ๆ ส่งผลให้สถานการณ์คุณภาพน้า
มีแนวโน้มเส่ือมโทรมลงอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะแม่น้าสายหลักของประเทศ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าปิง แม่น้าวั ง และ
แมน่ า้ นา่ น โดยสาเหตหุ ลกั ของปญั หาคุณภาพน้า ส่วนใหญเ่ กิดจากการระบายนา้ เสยี จากชุมชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม
(กรมควบคุมมลพิษ 2561, (ร่าง) แผนแม่บทด้านการจัดการคุณภาพน้าของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
การบริหารจดั การคุณภาพนา้ ภายใต้แผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา้ ของประเทศและแผนการปฏิรูปประเทศท่ี
เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมเน้นการบูรณาการอย่างเป็นระบบจากทุกภาคส่วน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่าง
ย่ังยืน (Sustainable Development Goals; SDGs) โดยยึดหลักความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
การปรบั ตวั ใหพ้ ร้อมกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และใช้องค์ความรู้แบบสหวทิ ยากรในการบริหารจัดการที่ทันสมัยและ
มปี ระสทิ ธิภาพ

การวางแผนการพัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมกับศักยภาพทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะ
ความเส่ียงในการเกิดปัญหามลพิษทางน้า จ้าเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ศักยภาพของพ้ืนที่ (Potential surface analysis)
และเทคนิคการซ้อนทับข้อมูล (Overlay analysis) ด้วยเครื่องมือสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพ่ือน้าไปสู่การวางแผนป้องกัน
แก้ไข และฟื้นฟู การศึกษาการจัดการผังเมือง การควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือรองรับการขยายตัวของเมือง และเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขนั ระดับภูมิภาค และน้าไปสู่การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่อย่างสร้างสรรค์ เป็นธรรมและย่ังยืน ส้านักงาน
ส่งิ แวดล้อมภาคเหนอื (สา้ นักงานสิ่งแวดลอ้ มภาคที่ 1 2 3 และ 4 จึงรวมกลมุ่ ภายใต้ชื่อ GIS North เพ่ือพัฒนาเคร่ืองมือในการ
วิเคราะห์ศกั ยภาพของพ้นื ท่ี โดยเริ่มต้นจากการประเมินความเสย่ี งดา้ นมลพษิ ทางนา้

วิธีดา้ เนินการ

การศึกษาการประเมินความเส่ียงเชิงพ้ืนท่ีด้านมลพิษทางน้า เป็นการรวบรวมข้อมูลมลพิษทางน้าเชิงพื้นที่ในขอบเขตการ
ปกครองระดับจังหวัด (โดยมีหน่วยย่อยท่ีสุดในระดับต้าบล) น้ามาจ้าแนกเป็นกลุ่มหรือเป็นระดับปัจจัยโดยการทบทวนเอกสารทาง
วิชาการ และความเป็นจริงของพ้ืนท่ีศึกษา เพื่อน้ามาวิเคราะห์ข้อมูล 3 ระดับ ได้แก่ 1) การประเมิน BOD loading และการก้าหนด
ค่าคงที่ความสกปรกบีโอดีจากแหล่งก้าเนิดมลพิษทางน้าประเภทต่าง ๆ 2) การให้ค่าน้าหนักคะแนนความเหมาะสมของปัจจัย
(Weighting) และค่าคะแนนระดับปัจจัย (Rating) ของชุดข้อมูลแต่ละประเภท 3) การซ้อนทับของพ้ืนที่และจัดระดับความเสี่ยงจาก
แหลง่ กา้ เนิดทง้ั หมด เม่อื วิเคราะหป์ ระเมินขอ้ มูลแลว้ จงึ น้ามาเทยี บกบั สถานการณค์ ณุ ภาพนา้ ในพืน้ ทีเ่ พอ่ื ปรบั เทียบความถูกต้อง
1. การประเมิน BOD loading การศึกษาในครั้งนี้ได้แบ่งประเภทของแหล่งก้าเนิดมลพิษออกเป็น 8 ประเภท ได้แก่ ฟาร์มสุกร
โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารขนาดใหญ่ (โรงพยาบาล โรงแรม และห้างสรรพสินค้า) สถานีบริการน้ามัน ชุมชน (ความ
หนาแนน่ ของประชากร) พน้ื ทนี่ าขา้ ว พืชไร/่ พืชสวน และปา่ ไม้ โดยใช้การค้านวณ 2 แบบ ดงั น้ี

แหล่งก้าเนิดประเภท Point sources ได้แก่ ฟาร์มสุกร โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารขนาดใหญ่ (โรงพยาบาล
โรงแรม และห้างสรรพสินค้า) และสถานีบริการน้ามัน อ้างอิงตามวิธีการประเมินของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งใช้ข้อมูลอัตราการ
ระบายนา้ ทง้ิ และคา่ BOD ของน้าเสยี หรอื น้าทิ้งแล้วแต่ชนิดของแหล่งก้าเนิด คูณกับหน่วยท่ีก่อให้เกิดน้าเสียของแหล่งก้าเนิด
แต่ละชนดิ (กรมควบคุมมลพิษ 2546, โครงการประเมนิ ศกั ยภาพการรองรับมลพิษของแมน่ ้าเจา้ พระยา) ดงั สมการ

̅

เมือ่ L = ปรมิ าณ BOD ในนา้ เสยี หรือน้าทงิ้ ท่เี กิดจากแหลง่ ก้าเนดิ ทที่ ้าการประเมนิ (kg/d)

̅ = ค่า BOD เฉล่ยี ของน้าเสยี หรือน้าท้งิ ทเ่ี กดิ จากแหลง่ กา้ เนดิ ทท่ี ้าการประเมนิ (g/m3)
V = ปรมิ าณนา้ เสยี หรอื นา้ ทง้ิ ต่อหนว่ ยที่กอ่ ใหเ้ กิดนา้ เสยี ของแหลง่ กา้ เนดิ ท่ที า้ การประเมิน (m3/หนว่ ย)
P = ปริมาณหน่วยท่กี ่อให้เกดิ นา้ เสียของแหลง่ ก้าเนดิ ที่ท้าการประเมนิ (หน่วย/วนั )

ตารางท่ี 1 ค่าคงที่เพอ่ื การประเมนิ BOD Loading จาก ฟารม์ สุกร

ประเภท P V ̅
800
สกุ รพ่อ-แม่พนั ธุ์ 64 3500
2500
สุกรขนุ จ้านวนสุกรแตล่ ะประเภท (ตวั ) 24

สุกรอนบุ าล 20

(ท่ีมา: กรมควบคุมมลพษิ 2553, คมู่ ือการประเมนิ ประมาณนา้ เสยี และปรมิ าณมลพษิ จากการเลยี้ งสุกร)

ตารางท่ี 2 ค่าคงทเี่ พ่อื การประเมนิ BOD Loading จากโรงงานอุตสาหกรรม (ประเภทท่ี 3)

ประเภท P V̅

โรงงานอุตสาหกรรมท่ีท้าให้มี ปริมาณวัตถดุ บิ หรือผลิตภัณฑท์ ่ี ปรมิ าณน้าเสียทเ่ี กดิ จริง สัมประสิทธ์ิจากการส้ารวจ
นา้ เสียจากกระบวนการผลติ ได้ต่อวนั (หน่วย/วัน) จากการส้ารวจตาม โรงงานอุตสาหกรรมในแต่
ฐานขอ้ มลู กรมโรงงาน
ละประเภท โดยกรม
ควบคมุ มลพษิ

(ทม่ี า: กรมควบคมุ มลพิษ 2546, โครงการประเมินศักยภาพการรองรับมลพษิ ของแม่นา้ เจา้ พระยา)

ตารางท่ี 3 ค่าคงที่เพ่อื การประเมนิ BOD Loading จากอาคารขนาดใหญ่ (โรงพยาบาล โรงแรม และหา้ งสรรพสนิ ค้า)

และสถานบี ริการนา้ มนั

ประเภท P V̅

โรงแรม 37 (ลบ.ม./วนั ) 61 (มก./ลติ ร)

โรงพยาบาล จา้ นวนแหลง่ (แห่ง) 108 (ลบ.ม./วัน) 15 (มก./ลิตร)
หา้ งสรรพสินค้า 120 (ลบ.ม./วนั ) 47 (มก./ลิตร)

สถานีบรกิ ารนา้ มนั 8 (ลบ.ม./วัน) 86 (มก./ลติ ร)

(ท่ีมา: สมั ประสทิ ธ์ิ ( ̅) เป็นค่าเฉล่ียจากตรวจวดั จรงิ ในพ้ืนท่ี จากขอ้ มลู สว่ นควบคมุ คุณภาพส่ิงแวดล้อม ส้านกั งานส่งิ แวดล้อม

ภาคที่ 1 2 3 และ 4)

แหล่งก้าเนิดท่ีไม่มีจุดระบายแน่นอน (Non-point source) แบ่งเป็น 1) แหล่งก้าเนิดประเภทการเกษตรกรรม

(พื้นที่นา และพืชไร่ พืชสวน ไม้ยืนต้น) โดยใช้วิธีการประเมินปริมาณมลพิษในน้าฝนชะล้างหน้าดินพ้ืนท่ีเกษตรกรรมในลุ่มน้า

(Event Mean Concentration Method) (กรมควบคุมมลพิษ 2546, โครงการประเมินศักยภาพการรองรับมลพิษของแม่น้า

เจ้าพระยา) โดยค่าคงท่ีชะล้างหน้าดินของน้าฝนในพ้ืนท่ีแหล่งก้าเนิดประเภท Non-point Source ส้าหรับการศึกษาคร้ังนี้
เลือกใช้เฉพาะประเภทดินซึ่งมีในพ้ืนที่ ได้แก่ กลุ่มดินทราย/ดินร่วนปนทราย กลุ่มดินร่วน และกลุ่มดินเหนียวปนดินร่วน/ดิน
เหนียว และ 2) แหล่งกา้ เนิดชุมชน ซึ่งอาศัยข้อมูลประชากร อา้ งองิ จากจ้านวนประชากรในพนื้ ท่ีศกึ ษา โดยใชค้ า่ คงทป่ี ริมาณน้า

ท้ิง (V) เท่ากบั 150 ลิตร/คน/วัน และค่า BOD เฉลี่ย ( ̅ ) 120 มิลลิกรมั /ลิตร/คน/วนั
2. การให้ค่าน้าหนักคะแนนความเหมาะสมของปจั จยั (Weighting) และค่าคะแนนระดับปจั จัย (Rating)

แหล่งก้าเนิดท้ัง 8 ประเภท จะถูกน้ามาให้ค่าน้าหนัก (W) คะแนนความเหมาะสมตามสัมประสิทธิ์ความเข้มข้น BOD ของ
แหล่งก้าเนิดแต่ละประเภท ระหว่าง 1-8 โดย คะแนน 1 หมายถึง ค่าน้าหนักที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้าน้อยที่สุด ไปจนถึง ค่า
คะแนน 8 หมายถงึ คา่ นา้ หนักทเี่ หมาะสมและส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ามากที่สุด และให้ค่าคะแนนระดับปัจจัย (R) ด้วยการแบ่งชั้น
ตามปริมาณ BOD Loading ที่ค้านวณได้ของแหล่งก้าเนิดแต่ละประเภทด้วยเคร่ืองมือสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) วิธีการ Natural
Breaks เป็นวิธีแบ่งตามลักษณะของข้อมูลโดยสังเกตจากช่วงห่างของข้อมูล โดยความถี่ของข้อมูลหรือระยะห่างระหว่างช้ันไม่
จา้ เป็นตอ้ งมีขนาดเท่า ๆ กัน การแบง่ ระดับความเส่ียงด้านมลพิษทางน้าเป็น 4 ระดับ ได้แก่ พ้ืนท่ีไม่มีความเส่ียง พื้นที่มีความ
เสย่ี งนอ้ ย พ้นื ท่มี คี วามเสี่ยงปานกลาง และพนื้ ที่มีความเสีย่ งมาก

ตารางที่ 4 ค่าคะแนนถว่ งนา้ หนกั ของตัวแปรแหล่งก้าเนดิ มลพิษ 8 ประเภท

ปจั จยั ประชากร โรงงานอตุ สาหกรรม ฟารม์ สุกร พ้นื ทน่ี าข้าว อาคาร พชื ไร่ สถานีบริการนา้ มัน ป่าไม้
พืชสวน

คา่ ถ่วง
น้าหนกั 8 6 6 5 4 3 2 1
(W)

3. การซ้อนทบั ของแผนท่แี ละค่าคะแนนถว่ งนา้ หนกั ในแต่ละช้นั ปัจจัยของแหล่งก้าเนดิ มลพษิ ทางน้า
การแบ่งระดับความเหมาะสมของพืน้ ที่ (อันตรภาคชั้น) คะแนนรวมของปัจจยั เสี่ยงต่อการเกิดความเส่ียง จะถูกน้ามา

แบ่งระดับความเหมาะสมของพื้นที่ โดยใช้หลักการซ้อนทับแผนที่และการค้านวณหาค่ารวมคะแนนท่ีได้รับในการถ่วงน้าหนัก
ของแหลง่ ก้าเนดิ มลพิษแต่ละประเภท (สพุ ชิ ฌาย์ ธนารณุ และจินตนา อมรสงวนสนิ , 2553)

ผลการวจิ ยั และอภิปรายผลการวจิ ัย

ผลการศึกษาพ้ืนที่เส่ียงต่อการเกิดมลพิษทางน้าในพื้นที่ขอบเขตจังหวัด (ล้าพูน ล้าปาง พิษณุโลก และนครสวรรค์)
โดยใช้ Potential Surface Analysis (PSA) ร่วมกับการประเมินค่ามลสาร (BOD loading) และการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ
สารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) เพอ่ื วิเคราะห์หาความเสีย่ ง ผลการก้าหนดคา่ ถว่ งตวั แปรทีใ่ ชใ้ นการศึกษา เพ่ือก้าหนดพื้นท่ีเสี่ยงต่อ
การเกิดมลพิษทางน้า พบว่ามีปริมาณมลสารท่เี กิดขึน้ จากแตล่ ะปัจจัย จงั หวัดล้าพนู มปี รมิ าณมลสารทเี่ กดิ ขนึ้ รวม 5,980 ตัน/ปี
จงั หวดั ล้าปางมีปริมาณมลสารทเี่ กิดข้นึ รวม 9,784 ตนั /ปี จงั หวดั นครสวรรค์ มีปริมาณมลสารที่เกิดข้ึนรวม 25,505 ตัน/ปีและ
จงั หวัดพษิ ณุโลกมีปรมิ าณมลสารท่ีเกิดขึน้ รวม 35,238 ตนั /ปี ดงั แสดงในตารางที่ 5

ตารางท่ี 5 ปริมาณมลสารทเี่ กิดข้นึ โดยใช้วิธีการประเมนิ จากค่าคงที่

ปัจจยั ล้าพนู ปรมิ าณมลสารทเ่ี กิด (ตนั /ปี) พษิ ณโุ ลก
2,667 ล้าปาง นครสวรรค์ 8,254
ชุมชน 379 4,905 7,214 7,855
พืน้ ที่นาข้าว 798 1,312 6,339 3,587
พชื ไร่ พชื สวน ไม้ยนื ตน้ 1,340 1,194 3,478 7,261
ฟาร์มสุกร 157 1,192 869 492
ป่าไม้ 524 867 12 7,683
โรงงานอตุ สาหกรรม 184 7,551
83
อาคารขนาดใหญ่ 51 106 32
สถานีบรกิ ารน้ามนั 64 24 9 23
รวม 5,980 9,784 25,505 35,238

ผลการจัดระดับความเสย่ี งในขอบเขตของแต่ละจังหวัด พบว่าจงั หวดั ล้าพนู มกี ารระบายมลสารจากแหลง่ ก้าเนิดประเภท
ชมุ ชนมากทสี่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 45 ของมลสารที่ระบายจากทกุ แหล่งกา้ เนิด จังหวัดล้าปางมีการระบายมลสารจากแหล่งก้าเนิด
ประเภทชุมชนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50 ของมลสารที่ระบายจากทุกแหล่งก้าเนิด ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ พบว่ามีมลสารท่ี
ระบายจากอุตสาหกรรมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30 ของมลสารที่ระบายจากทุกแหล่งก้าเนิด จังหวัดพิษณุโลกพบว่ามีการ
ระบายมลสารจากแหล่งกา้ เนดิ ประเภทชุมชนมากทส่ี ุด คิดเปน็ ร้อยละ 23.42 จากผลการจัดอันดับพ้ืนท่ีเสี่ยงด้านมลพิษทางน้า
พบว่าพื้นที่ทม่ี ีความเสี่ยงมาก จังหวัดล้าพูน คิดเป็นร้อยละ 1 ของพ้ืนท่ีทั้งหมด คิดเป็นพื้นท่ี 63 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ ต้าบล
อุโมงค์ และต้าบลป่าสัก อ้าเภอเมืองล้าพูน พ้ืนที่ท่ีมีความเส่ียงมาก จังหวัดล้าปาง คิดเป็นร้อยละ 6 ของพื้นท่ีท้ังหมด
คิดเป็นพื้นที่ 757 ตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ชุมชนหนาแน่น ได้แก่ เทศบาลนครล้าปาง อ้าเภอเมืองล้าปาง ต้าบล
แม่ล้อมแรด อ้าเภอเถิน และต้าบลแม่เมาะ อ้าเภอแม่เมาะ พ้ืนท่ีท่ีมีความเสี่ยงมาก จังหวัดนครสวรรค์ คิดเป็นร้อยละ 4 ของ
พื้นท่ีท้ังหมด คิดเป็นพื้นที่ 392 ตารางกิโลเมตร ได้แก่ ต้าบลหนองโพและต้าบลตาคลี อ้าเภอตาคลี ต้าบลปากน้าโพ
อ้าเภอเมอื งนครสวรรค์ และต้าบลหนองบวั อ้าเภอหนองบวั จังหวดั พษิ ณโุ ลก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12 ของพ้ืนทที่ ้ังหมด คิดเป็นพ้ืนที่
458 ตารางกิโลเมตร ได้แกต่ ้าบลในเมือง อา้ เภอเมือง ต้าบลวงห้อง ตา้ บลพรหมพิราม อ้าเภอพรหมพิราม ต้าบลนครป่าหมาก
อา้ เภอบางกระทุม่ แสดงดงั รปู ที่ 1

รปู ท่ี 1 แสดงแผนท่พี ้นื ที่เส่ยี งดา้ นมลพษิ ทางน้า จงั หวัดลา้ พนู (ซา้ ยบน) ลา้ ปาง (ขวาบน) พิษณโุ ลก (ซา้ ยลา่ ง) และนครสวรรค์ (ขวาลา่ ง)

สรุปผลการวจิ ัย

การศึกษาพ้ืนท่ีเสี่ยงต่อการเกิดมลพษิ ทางนา้ ในพน้ื ทีข่ อบเขตเมืองล้าปางโดยใช้ Potential Surface Analysis (PSA)
ร่วมกบั การประเมินค่ามลสาร (BOD loading) และการประยกุ ต์ใช้เครื่องมอื สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อวิเคราะห์หาความ
เสย่ี ง ผลการก้าหนดค่าถ่วงตัวแปรทใ่ี ช้ในการศึกษา พบว่าปริมาณมลสารที่เกิดขึ้นรวม อยู่ในช่วงพิสัย 5,980 – 35,238 ตัน/ปี
ค่าตา่้ สุด ได้แก่ จังหวัดล้าพูน โดยมีการระบายมากท่สี ุดจากแหลง่ ก้าเนดิ ชุมชน ค่าสูงสุดพบท่ีจังหวัดพิษณุโลกโดยมีการระบาย
มากท่ีสุดจากแหล่งก้าเนิดชุมชน การให้ค่าน้าหนักคะแนนและการจัดระดับค่าคะแนนของพ้ืนที่เส่ียง แบ่งได้ 4 ระดับ ได้แก่
พ้ืนท่ไี มม่ คี วามเสีย่ ง พ้นื ท่มี คี วามเสี่ยงนอ้ ย พนื้ ท่ีมีความเสีย่ งปานกลาง และพืน้ ทม่ี คี วามเส่ียงมาก แบ่งเป็นช่วงระดับคะแนน 1
ถึง 4 ตามลา้ ดับ โดยพบวา่ พน้ื ทท่ี ัง้ 4 จังหวัดส่วนใหญ่ไม่มีความเสี่ยงทางด้านมลพิษทางน้าและมีความเส่ียงน้อย ส่วนพ้ืนท่ีที่มี
ความเส่ียงมาก (สแี ดง) ซงึ่ มีเพียงไม่เกนิ รอ้ ยละ 15 ของพืน้ ทที่ ั้งหมด

การประเมินพื้นที่เส่ียงทางมลพิษทางน้าน้ี ช้ีให้เห็นว่าการขยายตัวของชุมชนเมืองเป็นปัญหาส้าคัญ ซึ่งอาจส่งผลต่อ
คุณภาพน้าในแหลง่ นา้ หลัก จา้ เปน็ ตอ้ งมกี ารวางแผนเพื่อรวบรวมและบา้ บัดนา้ เสียท่ีเกดิ ขนึ้ อย่างเร่งด่วน ตลอดจนการเร่งสร้าง
ความตระหนกั ให้ชมุ ชนบา้ บัดและลดการระบายน้าเสียออกสู่ธรรมชาติ

กิตตกิ รรมประกาศ

คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณผู้อ้านวยการส้านักงานส่ิงแวดล้อมภาคที่ 1-4 ท่ีให้ค้าปรึกษา แนะน้าและสนับสนุน
การวจิ ยั ในคร้งั น้เี ป็นอย่างดี ขอบคณุ กองจดั การคณุ ภาพนา้ กรมควบคมุ มลพษิ ทีใ่ หค้ วามอนเุ คราะห์ค่าคงท่กี ารค้านวณปริมาณ
มลสารจากอุตสาหกรรม จนการวิจัยครงั้ น้ีจนส้าเร็จเรยี บรอ้ ยเป็นอย่างดี

เอกสารอา้ งองิ

[1] กรมควบคุมมลพษิ . (2551). รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการประเมนิ ศักยภาพการรองรบั มลพิษของแมน่ ้า
เจ้าพระยา. มหาวทิ ยาลยั มหิดล, กรุงเทพฯ.

[2] สุพชิ ฌาย์ ธนารณุ และจินตนา อมรสงวนสนิ . (2553). การประยุกต์ใชร้ ะบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ในการกา้ หนดพนื้ ทเ่ี สยี่ ง
อุทกภยั จังหวัดอา่ งทอง. วารสารการจัดการสิง่ แวดล้อม ปที ่ี 6 เล่มท่ี 2. 19-34


Click to View FlipBook Version