บทความเกี่ยวกับปัญหาคณุ ธรรม จริยธรรม
ของผนู้ าทางการศึกษา
เสนอ รศ.ดร.รพีพรรณ สุวรรณณฐั โชติ
โดย นางสาวณฐั กฤตา จอมศรี 6219060010
เดก็ นกั เรียนกบั การลว่ งละเมิดทางเพศ
นายสรุ ิยา ฆ้องเสนาะ มีนาคม 2561
• ปัจจุบันข่าวการล่วงละเมิดทางเพศในสังคมไทยเป็นเรื่องที่เกิดขึ้น
ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะการล่วงละเมิดทางเพศเด็กนักเรียน โดยครูและ
บุคลากรทางการศึกษานั้น มีปรากฏขึ้นโดยตลอด แต่ตัวเลขความเป็นจริง
ของจานวนผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศมีจานวนมากกว่านั้น เนื่องจากการที่เด็ก
นักเรียนไม่กล้าออกมาเปิดเผยเพราะอับอาย ความกลัวผู้ล่วงละเมิดทางเพศ
ที่มีอานาจสูงกว่า และความรู้สึกว่าไม่ได้รับความยุติธรรม ซึ่งการล่วงละเมิด
ทางเพศนักเรียนถือเป็นปัญหาสาคัญที่สังคมจะต้องช่วยกันหาวิธีช่วยเหลือ
รวมถึงการหามาตรการปอ้ งกันอยา่ งเร่งดว่ น
ความหมายของการลว่ งละเมิดทางเพศ
"การล่วงละเมิดทางเพศ" หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลที่ละเมิดสิทธิ
ของบุคคลอื่นในเรื่องเพศลักษณะต่าง ๆ เช่น ด้วยคาพูด ด้วยสายตา การใช้
ท่าทีที่ส่อเจตนาล่วงเกินทางเพศ การกระทาอนาจารตลอดจนการบังคับให้มี
เพศสัมพันธ์ การข่มขืน และการกระทาที่ทาให้ผู้อื่นได้รับความอับอาย โดยที่
ผู้ถูกกระทาไม่ยินยอมพร้อมใจอันส่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม รวมถึงสวัสดิภาพและการดารงชีวิตอย่างปกติสุท้ังในระยะส้ันและระยะ
ยาวของผู้ถกู กระทา ถือเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมายศีลธรรมและความสงบสุขของ
สงั คมเปน็ อย่างมาก
พฤติกรรมการล่วงละเมิดทางเพศเป็นรูปแบบการกระทาอนาจารต่อ
บคุ คลอืน่ ท้ังหญิงและชายโดยการเรียกร้องความพึงพอใจท้ังทางกายและวาจา
หรือเข้าแทรกแซงสภาพแวดล้อมอันดีในการดาเนินชีวิตของบุคคลอื่นอย่างไร้
เหตุผลมีทง้ั การกระทาที่รุนแรงและไม่รุนแรง แบ่งออก เปน็ 3 ลักษณะ คือ
1. ล่วงละเมิดทางเพศด้วยวาจา
2. ลว่ งละเมิดทางเพศด้วยการกระทาที่ไม่ถูกเนื้อต้องตัว คือ การกระทา
อนาจารต่อบคุ คลอื่นด้วยการกระทาตา่ งๆ อาจจะด้วยสายตา ตลอดจนการสื่อ
ต่างๆ เพือ่ ตอบสนองในความพึงพอใจของตนเองในเรือ่ งเพศ
3. ล่วงละเมิดทางเพศที่เป็นการกระทาอย่างชัดแจ้ง หมายถึง การ
กระทาอนาจารด้วยการกระทาอย่างซดั เจนโดยการถกู เนื้อต้องตัว
แนวทางป้องกันและการแกไ้ ชปัญหากรณีนักเรียนถูกล่วงละเมิดสิทธิ มีดังนี้
1. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ้ งไมก่ ระทาการลว่ งละมิดทางร่างกายนักเรียน
โดยไม่มีสิทธิหรือโดยมิชอบ อนั ได้แกก่ ารทารา้ ยร่างกาย การลงโทษนกั เรียนเกินกว่าเหตุ
หรือโดยวิธีที่ไมเ่ หมาะสม
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการล่วงละเมิดทางเพศ หรือมี
พฤติการณไ์ มเ่ หมาะสมในทางเพศกับนักเรียน
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการใดอันเป็นการล่วงละเมิดด้วย
วาจา อากปั กิริยา
4. ให้ตระหนักในหน้าที่ของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่จะต้องสอดส่องดูแล
ด้วยความเชา้ ใจ
5. ให้ถือเป็นหน้าที่ของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ต้องให้ความช่วยเหลือ
นกั เรียนทีถ่ ูกละเมิดทางเพศตามความเหมาะสม
ขอ้ คิดจากบทความ
• กระทรวงศึกษาธิการ (2523 : 18) สรุปว่า จริยธรรมของบุคคลประกอบด้วยสิ่ง
สาคัญ 3 ประการ ไดแ้ ก่
1. องค์ประกอบด้านความรู้ คือ ความเข้าใจในเหตุผลของความถูกต้องดี
งามสามารถตัดสินแยกความถูกผิดได้ด้วยความคิด
2. องค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึก คือ ความพึงพอใจ ศรัทธา
เลือ่ มใส เกิดความนิยมยินดีที่จะรบั จริยธรรมนน้ั มาเป็นแนวปฏิบตั ิ
3. องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการแสดงออก คือ พฤติกรรมที่บุคคล
ตัดสินในการทีจ่ ะกระทาถกู หรือผิดในสถานการณ์แวดล้อมตา่ งๆ กัน
แต่จริยธรรมที่แท้จริงนั้นจะต้องมีความเป็นอิสระไม่ตกอยู่ในเงื่อนไข
ภายนอก
จริยธรรมออกเป็น 4 ดา้ น คือ
ความรู้เชิงจริยธรรม หมายถึง การบอกได้ว่าการกระทาใดเลวควรงดเว้น ซึ่ง
ความรู้เชิงจริยธรรมของคนเราจะมีมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอายุ ระดับการศึกษา และ
สติปัญญา
ทัศนคติเชิงจริยธรรม หมายถึง ความรู้สึกเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงจริยธรรมว่า
ชอบหรือไม่ชอบลักษณะน้ันเพียงใด ทัศนคติเชิงจริยธรรมของบุคคลส่วนใหญ่จะ
สอดคล้องกับค่านิยมในสังคมน้ัน และในเวลาต่างกัน ทัศนคติเชิงจริยธรรมของบุคคล
อาจเปลี่ยนแปลงไป
เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึง การยกเหตุผลมาอ้างถึงการตัดสินใจที่จะกระทา
หรือไมก่ ระทา พฤติกรรมอยา่ งใดอย่างหนึ่ง
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายถึง การที่บุคคลแสดงพฤติกรรมที่สังคมนิยม
ชมชอบหรืองดเว้นไม่ไปแสดงพฤติกรรมทีฝ่ า่ ฝืน ค่านิยม หรือกฎเกณฑใ์ นสงั คมน้นั
• ศีลธรรม ซึ่งตอ้ งแปลวา่ ศีลกบั ธรรม มีธรรมเปน็ ศีล (ศีล แปลวา่ ปกติ) คือ
1) มีเมตตา ความรกั ความปรารถนาดี ไม่มีการฆ่า
2) มีสัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ และ มีจาคะ การแบ่งปัน ไม่มีการ
ลกั ขโมย
3) มีกามสังวร การระมัดระวังเรือ่ งเพศ ไมม่ ีการประพฤติผิดในกาม
4) มีวจีสจั จะ การพูดคาจริง ไม่มีการพูดเทจ็
5) มีสติ มีสติครองตน ไม่มีการทาลายสติด้วยการดื่มน้าเมา คือ สุรา
และเมรยั
การมีธรรมอยา่ งวา่ มานีเ้ ปน็ ปกติ จึงจดั วา่ มีธรรมเปน็ ศีล