93
1.5. โขนฉาก เปน รปู แบบโขนทีพ่ ฒั นาเปนลําดบั สุดทาย กลา วคอื เปนการแสดงในโรง มกี าร
จดั ทําฉาก เปล่ยี นไปตามเรอ่ื งราวทกี่ าํ ลังแสดง ดําเนนิ เร่ืองดว ยการพากย เจรจา และขบั รอง รา ยรํา
ประกอบคาํ รองมรี ะบํา ฟอ นประกอบ
2. ละคร คอื การแสดงท่ีเลน เปน เรอื่ งราว มงุ หมายกอใหเกดิ ความบนั เทงิ ใจ สนกุ สนาน
เพลดิ เพลนิ หรอื เรา อารมณ ความรูสึกของผดู ู ตามเรอ่ื งราวนนั้ ๆ ขณะเดยี วกันผดู กู จ็ ะไดแ นวคดิ
คตธิ รรมและปรัชญา จากการละครน้ัน
ประเภทของละครไทย
ละครไทยเปน ละครท่ีมพี ฒั นาการมาเปนลําดบั ต้งั แตสมยั กรุงศรีอยุธยาจนถึงปจ จุบัน
ดงั น้นั ละครไทยจงึ มรี ปู แบบตาง ๆ ซ่งึ แบงออกเปน ประเภทใหญ ได ประเภทดงั ตอไปนี้
ละครรํา
ละครรอ ง
ละครพูด
ละครราํ
เปนศลิ ปะการแสดงของไทยท่ีประกอบดว ยทา ราํ ดนตรบี รรเลง และบทขับรอ งดําเนนิ เรื่อง มีผู
แสดงเปนตวั พระ ตวั นาง และตวั ประกอบแตง องคทรงเครอ่ื งตามบท งดงามระยับตา ทา รําตามบทรอง
ประสานทํานองดนตรบี รรเลง จังหวะชา เรว็ เราอารมณ ใหเ กิดความรสู ึกตามบทละครทั้งคกึ คกั
สนกุ สนาน หรือโศกเศรา ตวั ละครส่อื ความหมายบอกกลาวตามอารมณด ว ยภาษาทา โดยมผี ขู ับรอ ง คือผู
เลา เร่ืองดว ยทํานองเพลงตามบทละคร ซ่ึงเปน คาํ ประพนั ธ ประเภทคํากลอน บทละคร มกี ารบรรยายความ
วา ตัวละครเปนใคร อยูที่ไหน กําลังทาํ หรอื คดิ ส่ิงใด และมีทํานอง เพลงรอง เพลงหนาพาทย ประกอบทา
ราํ บรรจไุ วใ นบทกลอน ตามรูปแบบศิลปะการแสดงละครรํา ดนตรใี ชวงปพ าทยบ รรเลงประกอบการ
แสดง
ละครรําแบงการแสดงออกเปน 6 ชนิดคอื ละครนอก ละครใน ละครดกึ ดาํ บรรพ ละครพันทาง
ละครเสภา และละครชาตรีเครอ่ื งใหญ
94
ภาพละครในเรือ่ งอิเหนา
ละครชาตรเี ร่ืองมโนราห
95
ละครนอกเร่อื งสงั ขท อง
3. ราํ และระบํา เปนการแสดงชดุ เบด็ เตลด็ มหี ลายรปู แบบ ไดแกราํ หนา พาทย การราํ บท การราํ
เดี่ยว การราํ หมู ระบาํ มาตรฐาน ระบาํ ทีป่ รับปรุงขึน้ ใหม ราํ หรือ ระบาํ สวนใหญ จะเนน ในเรอ่ื งสวยงาม
ความพรอมเพรียง ถา เปน การแสดงหมมู าก ตลอดทัง้ ใชร ะยะเวลาการแสดงสน้ั ๆ
ชมแลว ไมเ กิดความเบ่อื หนาย
ราํ สีนวล
96
ฉุยฉายพราหมณ
4. การละเลน พืน้ เมอื ง
การละเลน พื้นเมอื งเปน การละเลนในทอ งถนิ่ ท่สี บื ทอดกันมาเปนเวลานาน แบง ออกเปน ภาค
กลาง ภาคเหนือ ภาคใต ภาคอีสาน แตล ะภาคจะมีลกั ษณะเฉพาะในการแสดง ท้งั น้ขี น้ึ อยูกับปจจัยหลาย
ประการไดแ กส ภาพภูมศิ าสตร ประเพณี ศาสนา ความเช่ือและคานิยม ทาํ ใหเกดิ รปู แบบการละเลน
พน้ื เมอื งข้ึนหลายรูปแบบ ไดแ ก รปู แบบการแสดงทีเ่ ปน เรอื่ งราวของการรอ งเพลง เชน เพลงเกยี่ วขา ว เพลง
บอก เพลงซอ หรอื รูปแบบการแสดง เชน ฟอนเทียน เซ้ิงกระหยัง ระบาํ ตารกี ีปส
ซ่งึ แตละรูปแบบนีจ้ ะมที ง้ั แบบอนุรกั ษป รบั ปรงุ และพฒั นา เพ่อื ใหด ํารงอยสู บื ไป
ภาพฟอนเทียน
97
เรือ่ งท่ี 4 นาฏยศัพท
นาฏยศพั ท หมายถึง ศัพทเ ฉพาะในทางนาฏศิลป ซ่ึงเปน ภาษาที่ใชเปน สญั ลกั ษณและส่ือ
ความหมายกันในวงการนาฏศิลปไ ทย
นาฏยศพั ท แบง ออกเปน 3 หมวด คือ
1. หมวดนามศัพท หมายถึง ทา รําส่อื ตางๆ ท่บี อกอาการของทา นนั้ ๆ
- วง เชน วงบน วงกลาง
- จีบ เชน จีบหงาย จบี ควํ่า จีบหลัง
- ทา เทา เชน ยกเทา ประเทา กระดก
2. หมวดกิริศพั ท คอื ศพั ทท่ีใชใ นการปฏบิ ัติอาการกริ ิยา แบงออกเปน ศัพทเสริมและ
ศพั ทเส่ือม
- ศพั ทเสรมิ หมายถงึ ศัพทท ี่ใชเสรมิ ทวงทใี หถ กู ตอ งงดงาม เชน ทรงตัว สง มอื เจยี ง ลักคอ
กดไหล ถบี เขา เปน ตน
- ศัพทเ ส่อื ม หมายถึง ศพั ทท ีใ่ ชเ รียกทารําที่ไมถูกระดบั มาตรฐาน เพื่อใหผรู าํ รูต ัวและตอง
แกไ ขทว งทขี องตนใหเขาสูร ะดบั เชน วงลา วงตกั วงลน ราํ เลือ้ ย ราํ ลน เปน ตน
3. หมวดนาฏยศพั ทเ บ็ดเตลด็ คอื ศัพทท น่ี อกเหนือจากนามศัพท กิริยาศัพท ซึง่ จัดไวเ ปน หมวด
เบด็ เตล็ด มีดงั นี้
เหล่ยี ม หมายถึง ระยะเขา ทง้ั สองขางแบะออก กวาง แคบ มากนอยสุดแตจะเปน ทาของพระ
หรือนาง ยกั ษ ลงิ เหล่ียมท่กี วา งท่ีสดุ คือเหลีย่ มยกั ษ
เดินมอื หมายถึง อาการเคลอ่ื นไหวของแขนและมอื เพ่ือเชอื่ มทา
แมท า หมายถึง ทา ราํ ตามแบบมาตรฐาน เชน แมบท
ขนึ้ ทา หมายถงึ ทาทีป่ ระดษิ ฐใ หส วยงาม แบง ออกเปน
ก. ข้นึ ทาใหญ มอี ยู 4 ทา คอื
(1) ทาพระสห่ี นา แสดงความหมายเจรญิ รุงเรอื ง เปน ใหญ
(2) ทานภาพร แสดงความหมายเชน เดียวกับพรหมสห่ี นา
(3) ทาเฉดิ ฉิน แสดงความหมายเก่ียวกบั ความงาม
(4) ทาพสิ มยั เรียงหมอน มคี วามหมายเปนเกยี รติยศ
98
ข. ข้ึนทา นอ ย มีอยูหลายทาตา งกนั คอื
(1) ทามอื หนง่ึ ตงั้ วงบัวบาน อกี มอื หนึ่งจีบหลงั
(2) ทา ยอดตอ งตอ งลม
(3) ทา ผาลาเพียงไหล
(4) ทา มอื หนงึ่ ตง้ั วงบน อกี มือหนงึ่ ต้งั วงกลาง เหมือนทา บงั สรุ ยิ า
(5) ทา เมขลาแปลง คือมอื ขางทหี่ งายไมตองทําน้วิ ลอ แกว
พระใหญ – พระนอ ย หมายถึง ตวั แสดงทม่ี บี ทสําคัญพอๆ กัน พระใหญ หมายถึงพระเอก เชน
อเิ หนา พระราม สวนพระนอย มีบทบาทเปนรอง เชน สังคามาระตา พระลกั ษณ
นายโรง หมายถงึ พระเอก เปนศัพทเฉพาะละครราํ
ยืนเครือ่ ง หมายถงึ แตงเคร่ืองละครรําครบเครอื่ ง
นางกษตั ริย บคุ ลิกทว งทเี รยี บรอ ย สงา มีทีทาเปนผูด ี
นางตลาด ทว งทวี อ งไว สะบดั สะบ้งิ ไมเรียบรอ ย เชน นางยกั ษ นางแมว เปนตน
ทา “เฉดิ ฉิน”
นาฏยศพั ท มือขวาตง้ั “วงบัวบาน” มือซายตัง้ ”วงหนา” เทาซา ย “กระดกหลงั ”
99
ภาษาทา หมายถงึ การแสดงกริ ยิ าทาทางเพ่อื สือ่ ความหมายแทนคาํ พดู สว นมากใชใน
การแสดงนาฏศลิ ปแ ละการแสดงละครตา งๆ ภาษาทา แบง เปน 3 ประเภท ดงั นี้
1. ทา ทางทใี่ ชแทนคาํ พดู เชน ไป มา เรยี ก ปฏเิ สธ
2. ทาทางที่ใชแ ทนอารมณภ ายใน เชน รกั โกรธ ดใี จ เสียใจ
3. ทา แสดงกริ ิยาอาการหรืออิริยาบถ เชน ยนื เดิน น่งั
การรา ยราํ ทา ตางๆ นํามาประกอบบทรอ งเพลงดนตรี โดยมงุ ถงึ ความสงางามของลลี าทา ราํ และ
จาํ เปน ตองอาศยั ความงามทางศิลปะเขาชว ย วธิ กี ารใชท า ทางประกอบบทเรียน บทพากย และเพลงดนตรี
พนั ทางนาฏศิลปเ รียกวา การตีบท หรือการรําบท
100
เรอื่ งท่ี 5 ราํ วงมาตรฐาน
ประวัติรําวงมาตรฐาน
รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงมาจากราํ โทน เปนการละเลน พน้ื บา นอยา งหนง่ึ ของชาวไทยท่ีบง
บอกถงึ ความสนกุ สนาน ซง่ึ แตเ ดิมราํ โทนกเ็ ลนกนั เปน วง จึงเรียกวา “ราํ วง” แตเ ดิมไมมคี าํ วา “มาตรฐาน”
จะเรียกกันวา ราํ วงเทานน้ั ตอ มาราวสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 ไดม กี ารปรับปรุงการเลน ราํ โทนใหงดงามตาม
แบบของกรมศลิ ปากร ทงั้ การรอ ง และการรายรําใหมคี วามงดงามเปน แบบฉบบั กลางๆ ทจี่ ะรองเลน ได
ท่ัวไปในทกุ ภาค และเปล่ียนจากการเรียกวา ราํ โทน เปน ราํ วง เพราะประการท่ีหน่ึง เครื่องดนตรที ใ่ี ชมี
มากกวา ฉง่ิ กรบั และโทน เพือ่ เพิ่มความสนกุ สนาน และความไพเราะใหถูกหลกั ทง้ั ไทยและสากล
ประการทสี่ อง แตเ ดมิ ราํ โทนกเ็ ลน กันเปนวงการเปลยี่ นจากราํ โทนเปน รําวง ก็ยงั คงรูปลักษณเดิมไวส ว น
ท่พี ัฒนาคอื ทารํา จดั ใหเปน ทา ราํ ไทยพืน้ ฐานอยางงา ยๆ สโู ลกสากล เรยี นรงู า ย เปน เรว็ สนุก และเปนแบบ
ฉบับของไทยโดยแท ทางดา นเนือ้ รอ งไดพฒั นาในทาํ นองสรา งสรรค ราํ วงที่พัฒนาแลวนเ้ี รียกวา รําวง
มาตรฐาน เนอื้ เพลงในราํ วงมาตรฐานมที ้ังหมด 10 เพลง แตละเพลงจะบอกทาราํ (จากแมบ ท) ไวใ หพ รอม
ปฏิบตั ิ
ชอ่ื เพลงรําวงมาตรฐานและทาราํ ทารํา
ชอ่ื เพลง 1. สอดสรอ ยมาลา
1. งามแสงเดอื น 2. ชักแปง ผัดหนา
2. ชาวไทย 3. รําสา ย
3. รํามาซิมาราํ 4. สอดสรอ ยมาลาแปลง
4. คนื เดอื นหงาย 5. แขกเตาเขารงั
5. ดวงจนั ทรว ันเพญ็
เพลงรําวงมาตรฐาน
1. เพลงงานแสงเดือน ราํ ทา สอดสรอ ยมาลา
งามแสงเดอื นมาเยือนสอ งหลา งามใบหนา เมือ่ อยวู งราํ (2 เทยี่ ว)
เราเลน เพ่อื สนกุ เปล้อื งทกุ ขวายระกํา
ขอใหเ ลน ฟอนรํา เพ่อื สามัคคี เอย.
101
2. เพลงชาวไทย รําทา ชักแปง ผดั หนา
ชาวไทยเจาเอย ขออยา ละเลยในการทําหนา ที่
การทเ่ี ราไดเลน สนกุ เปลือ้ งทุกขส บายอยางน้ี
เพราะชาติเราไดเ สรี มีเอกราชสมบูรณ
เราจึงควรชว ยชาติ ใหเกงกาจเจดิ จํารูญ
เพ่ือความสุขเพ่มิ พูน ของชาวไทยเรา เอย.
3. เพลงรําซิมารํา รําทา รําสาย เรงิ ระบาํ กันใหส นุก
รํามาซิมารํา ไมละไมทิ้งจะเกดิ เขญ็ ขกุ
ตามเชิงเชนเพอื่ ใหส รา งทกุ ข
ยามงานเราทาํ งานจริงจริง เลน สนกุ อยางวฒั นธรรม
ถึงยามวางเราจงึ ราํ เลน ใหงามใหเรยี บจงึ จะคมขาํ
ตามเยี่ยมอยางตามยุค มาเลนระบําของไทยเรา เอย.
เลน อะไรใหม ีระเบยี บ
มาซิมาเจา เอยมาฟอนราํ
4. เพลงคนื เดอื นหงาย ราํ ทา สอดสรอ ยมาลาแปลง
ยามกลางคนื เดอื นหงาย เยน็ พระพายโบกพล้วิ ปลิวมา
เย็นอะไรก็ไมเ ย็นจติ เทา เยน็ ผกู มิตรไมเบ่อื ระอา
เย็นรม ธงไทยปกไทยทว่ั หลา เย็นย่ิงนาํ้ ฟามาประพรม เอย.
ชือ่ เพลง ทา ราํ
6. ดอกไมข องชาติ 6. รํายั่ว
7. หญงิ ไทยใจงาม 7. พรหมสห่ี นา, ยงู ฟอนหาง
8. ดวงจันทรข วญั ฟา 8. ชา งประสานงา, จันทรท รงกลดแปลง
9. ยอดชายใจหาญ 9. (หญิง) ชะนีรายไม (ชาย) จอ เพลงิ กาฬ
10. บชู านักรบ 10. เท่ียวแรก (หญิง) ขดั จางนาง
(ชาย) จนั ทรท รงกลด
เท่ียวสอง (หญงิ ) ลอ แกว
(ชาย) ขอแกว
102
ลักษณะทา รําแบบตางของราํ วงมาตรฐาน
ทาสอดสรอยมาลา
ทาชกั แปง ผัดหนา
103
ทา นกแขกเตาเขา รัง
104
เร่ืองท่ี 6 การอนุรักษน าฏศิลปไทย
นาฏศลิ ปไทย เปนผลผลิตทางวัฒนธรรมทเ่ี ปน รปู ธรรม ซ่ึงนบั เปน มรดกทางวัฒนธรรมทีบ่ รรพ
บุรษุ ของเราไดส รา งและสั่งสมภมู ิปญญามาแตโ บราณ เปนส่ิงท่แี สดงถงึ เอกลักษณของชาติ ซงึ่ แสดงให
เห็นถงึ ความเปนอารยประเทศของชาตไิ ทยที่มีความเปนเอกราชมาชานาน นานาประเทศในโลกตางชนื่ ชม
นาฏศลิ ปไ ทยในความงดงามวจิ ิตรบรรจง เปน ศิลปะทมี่ คี ณุ คาควรแกก ารอนรุ กั ษแ ละสบื ทอด
แนวทางในการอนรุ ักษนาฏศลิ ปไ ทย
1. การอนุรกั ษร ปู แบบ หมายถงึ การรกั ษาใหค งรปู ดงั เดิม เชน เพลงพน้ื บา นกต็ อ งรกั ษาข้นั ตอน
การรอ ง ทํานอง การแตง กาย ทาราํ ฯลฯ หรอื หากจะผลิตขน้ึ ใหมกใ็ หร กั ษารูปแบบเดมิ ไว
2. การอนรุ กั ษเนอ้ื หา หมายถงึ การรักษาในดานเนอ้ื หาประโยชนค ณุ คา ดว ยวิธีการผลิต การ
รวบรวมขอมลู เพ่ือการศึกษา เชน เอกสาร และสือ่ สารสนเทศตางๆ
การอนรุ กั ษท้งั 2 แบบน้ี หากไมมกี ารสืบทอดและสง เสริม ก็คงไวประโยชนใ นท่นี ้ี
จะขอนาํ เสนอแนวทางในการสงเสริมเพื่ออนรุ ักษน าฏศิลปไ ทย ดงั นี้
1. จดั การศึกษาเฉพาะทาง สง เสรมิ ใหม ีสถาบนั การศกึ ษาดา นนาฏศิลปจัดการเรยี นการสอน เพ่ือ
สบื ทอดงานศลิ ปะดานนาฏศิลป เชน วิทยาลัยนาฏศลิ ป สถาบนั เอกชน องคก รของรัฐบางแหง ฯลฯ
2. จดั การเรียนการสอนในข้ันพนื้ ฐาน โดยนําวชิ านาฏศิลปจดั เขา ในหลกั สูตรและเขา สรู ะบบ
การเรียนการสอนทกุ ระดับ ตามระบบทค่ี วรจะใหเยาวชนไดร บั รูเปนขน้ั ตอนตงั้ แตอนบุ าล ประถม
มธั ยมศกึ ษา และอดุ มศึกษา ตลอดจนสถาบนั การศกึ ษาทุกระดับ จดั รวบรวมขอ มลู ตา งๆ เพือ่ ประโยชนต อ
การศึกษาคนควา และบริการแกช มุ ชนไดด ว ย
3. มีการประชาสัมพันธใ นรปู แบบสอื่ โฆษณาตา งๆ ทง้ั วิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ โดยนาํ
ศลิ ปวฒั นธรรมดานนาฏศิลปเ ขา มาเก่ยี วขอ งเพื่อเปนการสรางบทบาทของความเปน ไทยใหเปนทร่ี จู กั
4. จัดเผยแพร ศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปแกห นว ยงานรฐั และเอกชน
โดยทวั่ ไปทั้งภายในประเทศและตางประเทศ
5. สง เสรมิ และปลกู ฝงมรดกทางศิลปวัฒนธรรมภายในครอบครวั ใหร ูซ้ึงถึงความเปน ไทยและ
อนุรกั ษร ักษาเอกลักษณไทย
105
กิจกรรมที่ 1
ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั บอกท่มี าและประเภทของนาฏศลิ ปไทยได
คาํ ชี้แจง ใหผ ูเ รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. นาฏศลิ ปไ ทยเกิดขึน้ จากเหตใุ ด
2. นาฏศลิ ปไทยมีกป่ี ระเภท อะไรบาง จงอธบิ าย
3. ใหผูเรยี นเขยี นช่อื การแสดงราํ และระบาํ ของนาฏศลิ ปไทยที่เคยชมใหมากท่ีสุด
4. ใหผ ูเ รยี นหาภาพและประวัตกิ ารแสดงเกยี่ วกับนาฏศลิ ปไทย
กจิ กรรมที่ 2
ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง
1. บอกความหมายของนาฏยศัพทได
2. เขา ใจสุนทรยี ะของการแสดงนาฏศิลปไ ทยตามหลกั การใชภ าษาทา
คําช้แี จง ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอไปนี้
1. อธิบายความหมายของนาฏศัพท พรอมยกตัวอยางพอสังเขป
2. อธิบายความหมายของภาษาทา ในนาฏศิลปไทย
3. แบง กลุม คดิ ภาษาทา กลมุ ละ 3 ประโยค ออกมาแสดงภาษาทาทคี่ ิดไวท ีละกลุม โดยใหก ลมุ
อ่ืนเปนผูทายวาภาษาทานนั้ ๆ หมายถึงอะไร
กิจกรรมที่ 3
ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั
1. แสดงความรูส ึก ความคิดเหน็ ไดอยางมีเหตผุ ลและสรางสรรค
2. รับฟง ความคดิ เหน็ ของผูอ่นื และนาํ ไปปรับใชไ ดอยางมีเหตผุ ล
คาํ ชแี้ จง ใหผ ูเรยี นบอกชื่อการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยท่ีเคยชม แลวแสดงความคดิ เห็น
1. เร่อื งทชี่ ม
2. เนือ้ เรือ่ ง
3. ตวั แสดง
4. ฉาก
5. ความเหมาะสมของการแสดง
106
กจิ กรรมท่ี 4
ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง
1. บอกประวตั คิ วามเปน มาของรําวงมาตรฐานได
2. แสดงราํ วงมาตรฐานไดอ ยา งถกู ตองเหมาะสม
คาํ ช้ีแจง
1. จงอธิบายประวัติความเปน มาของรําวงมาตรฐาน
2. ราํ วงมาตรฐานนาํ ไปแสดงในโอกาสใดบา ง จงอธิบาย
3. ใหผเู รียนแบงกลมุ ฝก การแสดงราํ วงมาตรฐาน กลุมละ 3 เพลง แสดงใหเพ่อื นดทู ลี ะกลุม
กิจกรรมที่ 5
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั รคู ุณคา ของนาฏศิลปไทยและแนวทางอนุรกั ษนาฏศลิ ปไ ทย
คาํ ช้แี จง ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปนี้
1. ถา หากไมม นี าฏศิลปไ ทย ประเทศไทยจะเปน อยา งไร
2. ผเู รยี นมแี นวทางการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทยอยางไรบาง
107
บทท่ี 4
นาฏศิลปไทยกับการประกอบอาชีพ
นาฏศิลปไ ทยเปน การแสดงศิลปะที่เปนเอกลักษณของไทย เปนเรื่องท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธ
กบั ประวตั ศิ าสตรไทย วัฒนธรรมไทย เปนการละเลนเพอื่ ความบนั เทงิ รนื่ เรงิ ของชาวบานภายหลังฤดูเก็บ
เกย่ี ว นาฏศิลปไ ทยมหี ลายประเภท เชน โขน ละคร ราํ การละเลน พนื้ เมือง เปนตน
สาํ หรบั แนวทางในการประกอบอาชีพนาฏศิลปไทยนั้น ไดแก อาชีพการละเลนพื้นเมืองของแต
ละภาค ดังนี้
1. อาชพี การแสดงหนังตะลงุ
2. อาชีพการแสดงลเิ ก
3. อาชพี การแสดงหมอลาํ
ผูเรยี นสนใจทีจ่ ะศึกษาแนวทางการประกอบอาชพี ดา นน้ีตองมคี วามสนใจ และมีความเช่ือม่ันใน
ตัวเอง พรอ มที่จะเรยี นรูส่ิงตางๆ เก่ยี วกบั อาชพี ดังกลาว
เร่อื งท่ี 1 คุณสมบตั ิของอาชพี นกั แสดงทดี่ ี
ในการแสดงบทบาทตางๆ นักแสดงตองมีความรับผิดชอบ มีการซอมบทบาทท่ีตองแสดงโดย
การศึกษาเน้อื เร่อื ง และบททไี่ ดรับมอบหมายใหแ สดง แสดงบทตลก บทที่เครงเครียด โดยการใชถอยคํา
หรอื กิรยิ าทาทาง แสดงประกอบ อาจรอ งเพลง เตนรํา หรอื ฟอนรํา อาจชํานาญในการแสดงบทบาทอยาง
ใดอยางหน่ึง หรอื การแสดงประเภทใดประเภทหนึ่งและอาจมีช่ือเรียกตามบทบาทหรือประเภทของการ
แสดง
เรื่องท่ี 2 คุณลกั ษณะของผูประกอบอาชีพการแสดง
1. มีความถนดั ทางศิลปะการแสดง
2. มสี นุ ทรยี ะ สนใจสง่ิ สวยงาม ดนตรี วรรณกรรม
3. มีอารมณอ อ นไหว
4. มีจนิ ตนาการสงู มีความคดิ สรา งสรรค และไมล อกเลยี นแบบใคร
108
โอกาสกา วหนา ในอาชีพ
เปนนกั แสดง โอกาสกาวหนาขึ้นอยูกบั ความสามารถของผูแสดง และความนยิ มของผชู ม ท้ังน้ีอยู
ท่ีการพัฒนาตนเองและการใฝหาความรูของผูท่จี ะประกอบอาชีพ
1. อาชพี การแสดงหนงั ตะลงุ
หนังตะลุง คือ ศลิ ปะการแสดงประจาํ ทอ งถ่ินอยางหนง่ึ ของภาคใต เปนการเลา เรื่องราวท่ีผูกรอย
เปนนิยาย ดาํ เนินเรือ่ งดวยบทรอ ยกรองท่ีขับรอ งเปน ลําเนียงทองถิ่น หรือท่ีเรียกกันวาการ “วาบท” มีบท
สนทนาแทรกเปนระยะ และใชการแสดงเงาบนจอผาเปนส่ิงดึงดูดสายตาของผูชม ซ่ึงการวาบท การ
สนทนา และการแสดงเงาน้ี นายหนงั ตะลงุ เปนคนแสดงเองท้งั หมด
หนังตะลุงเปน มหรสพทนี่ ิยมแพรหลายอยางย่ิงมาเปน เวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยกอนที่ไมมี
ไฟฟา ใชก ันทว่ั ถึงทกุ หมูบ านอยา งในปจจบุ นั หนงั ตะลงุ แสดงไดท ง้ั ในงานบุญและงานศพ ดังน้ันงานวัด
งานศพ หรืองานเฉลมิ ฉลองทีส่ าํ คญั จงึ มักมหี นงั ตะลงุ มาแสดงใหช มดวยเสมอ
ปจ จบุ ัน โครงการศิลปน แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ไดสงเสริมใหมี
การอนรุ ักษและสืบทอดศลิ ปะการแสดงหนังตะลงุ ใหแ กอ นชุ นรุนหลัง เพอ่ื รกั ษามรดกทางวัฒนธรรมอัน
ทรงคุณคา นใ้ี หค งอยสู ืบไป
ประวัตคิ วามเปนมาของหนังตะลุง
นักวิชาการหลายทานเชื่อวา มหรสพการแสดงเงาจําพวกหนังตะลุง เปนวัฒนธรรมเกาแกของ
มนุษยชาติ ปรากฏแพรห ลายมาทง้ั ในแถบประเทศยโุ รป และเอเชยี โดยมหี ลกั ฐานปรากฏวา เม่ือคร้ังพระ
เจาอเล็กซานเดอรม หาราชมีชัยชนะเหมือนอียิปต ไดจัดใหมีการแสดงหนัง (หรือการละเลนท่ีคลายกัน)
เพอื่ เฉลมิ ฉลองชัยชนะและประกาศเกยี รตคิ ณุ ของพระองค และเชื่อวามหรสพการแสดงเงาน้ีมีแพรหลาย
ในประเทศอียิปตม าแตกอ นพุทธกาล ในประเทศอนิ เดยี พวกพราหมณแสดงหนังทีเ่ รียกกันวา ฉายานาฏกะ
เรื่องมหากาพยรามายณะ เพื่อบูชาเทพเจาและสดุดีวีรบุรุษ สวนในประเทศจีนมีการแสดงหนังสดุดี
คุณธรรมความดีของสนมเอกแหง จกั รพรรดย์ิ วนตี่ (พ.ศ. 411 – 495)
109
ในสมัยตอมา การแสดงหนังไดแพรหลายเขาสูในเอเชียอาคเนย เขมร พมา ชวา มาเลเซีย และ
ประเทศไทย คาดกนั วา หนังใหญค งเกิดขึน้ กอ นหนงั ตะลงุ และประเทศแถบนคี้ งจะไดแ บบมาจากอินเดีย
เพราะยงั มีอิทธิพลของพราหมณหลงเหลืออยูมาก เรายังเคารพนับถือฤาษี พระอิศวร พระนารายณ และ
พระพรหม ย่ิงเรอ่ื งรามเกียรต์ิ ยิ่งถอื วาเปนเรอื่ งขลังและศกั ด์ิสทิ ธ์ิ หนังใหญจ ึงแสดงเฉพาะเร่ืองรามเกียรต์ิ
เรม่ิ แรกคงไมมจี อ คนเชดิ หนังใหญจงึ แสดงทาทางประกอบการเชดิ ไปดว ย
เคร่ืองดนตรีหนังตะลงุ
เครื่องดนตรีหนังตะลุงในอดีต มีความเรียบงาย ชาวบานในทองถ่ินประดิษฐขึ้นไดเอง มีทับ
กลอง โหมง ฉิง่ เปน สําคญั สว นป เกดิ ข้นึ ภายหลัง แตก็ยังเปนเครื่องดนตรีที่ชาวบานประดิษฐไดเองจน
เมื่อมีวัฒนธรรมภายนอกเขามา หนังตะลุงบางคณะจึงนําเครื่องดนตรีใหมๆ เขามาเสริม เชน กลองชุด
กตี าร ไวโอลิน ออรแกน เมอ่ื เคร่ืองดนตรีมากขน้ึ จาํ นวนคนในคณะก็มากขึ้น ตนทุนจึงสูงขึ้น ทําใหตอง
เรยี กคา ราด (คา จา งแสดง) แพงข้ึน แตห นังตะลงุ หลายคณะก็ยังรักษาเอกลกั ษณเ อาไว
เครอื่ งดนตรสี ําคญั ของหนังตะลุง มีดงั ตอ ไปนี้
ทับ ของหนังตะลุงเปนเครอื่ งกาํ กบั จังหวะและทวงทํานองท่ีสําคัญที่สุด ผูบรรเลงดนตรีช้ินอ่ืนๆ
ตองคอยฟงและยกั ยายจงั หวะตามเพลงทบั นกั ดนตรที ี่สามารถตที ับไดเรียกวา “มือทับ” เปนคํายกยองวา
เปนคนเลน ทับมือฉมัง
รปู หนังตะลงุ ตัวตลกหนังตะลงุ
110
ตวั ตลกหนังตะลงุ เปน ตวั ละครที่มคี วามสาํ คญั อยางย่ิง และเปนตัวละครท่ี “ขาดไมได” สําหรับ
การแสดงหนงั ตะลุง บทตลกคือเสนหหรือสีสัน ที่นายหนังจะสรางความประทับใจใหกับคนดู เมื่อการ
แสดงจบลง ส่งิ ท่ีผชู มจาํ ได และยังเกบ็ ไปเลา ตอ กค็ อื บทตลก นายหนงั ตะลุงคนใดท่ีสามารถสรางตัวตลก
ไดมีชีวติ ชวี าและนาประทบั ใจ สามารถทําใหผ ชู มนําบทตลกน้ันไปเลา ขานตอไดไมรูจบ ก็ถือวาเปนนาย
หนังทป่ี ระสบความสําเรจ็ ในอาชีพโดยแทจ รงิ ตวั ตลกหนังตะลุงมชี อื่ ดงั ตอ ไปน้ี
1. อายเทง
2. อา ยหนนู ุย
3. นายยอดทอง
4. นายสแี กว
5. อายสะหมอ
ข้นั ตอนการแสดงหนังตะลุง
หนังตะลงุ ทุกคณะจะนิยมเลนเปน แบบเดยี วกันโดยมีการลําดบั การเลน ดังน้ี
1. ตง้ั เคร่อื งเบิกโรง เปนการทําพธิ ีเอาฤกษ ขอทตี่ ัง้ โรงและปด เปา เสนียดจัญไร เร่ิมโดยเมื่อคณะ
หนังขนึ้ โรงแลว นายหนังจะตกี ลองนําเอาฤกษ ลกู คูบรรเลงเพลงเชดิ ชนั้ นี้เรยี กวา ต้งั เคร่อื ง
2. โหมโรง การโหมโรงเปนการบรรเลงดนตรีลวนๆ เพื่อเรียกคนดู และใหนายหนังได
เตรียมพรอม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมที่เลากันวาใช “เพลงทับ” คือใชทับเปนตัวยืนและเดินจังหวะ
ทํานองตา งๆ กันไป
3. ออกลิงหัวคํา่ เปนธรรมเนยี มการเลนหนังตะลุงสมัยกอน ปจจุบันเลิกเลนแลว เขาใจวาไดรับ
อิทธพิ ลจากหนงั ใหญ เพราะรูปท่ใี ชส ว นใหญเปนรูปจับ มีฤาษีอยูกลาง ลิงขาวกับลิงดําอยูคนละขาง แต
รูปทแ่ี ยกเปน รูปเดีย่ วๆ 3 รูป แบบเดียวกบั ของหนังตะลุงกม็ ี
4. ออกฤาษี เปนการเลนเพ่ือคารวะครู และปดเปาเสนียดจัญไร โดยขออํานาจจากพระพรหม
พระอิศวร พระนารายณ และเทวะอน่ื ๆ และบางหนังยังขออํานาจจากพระรัตนตรัยดวย
5. ออกรูปฉะ หรือรูปจับ คําวา “ฉะ” คอื สูร บ ออกรปู ฉะเปนการออกรูปจากพระรามกับทศกัณฐ
ใหต อสกู นั วธิ ีเลน ใชท ํานองพากยค ลา ยหนงั ใหญ การเลนชดุ น้ีหนงั ตะลุงเลิกเลน ไปนานแลว
6. ออกรูปปรายหนา บท รูปปรายหนาบท เปน รปู ผูชายถือดอกบัวบา ง ธงชาตบิ าง ถือเปนตัวแทน
ของนายหนงั ใชเลน เพ่อื ไหวครู ไหวสิ่งศกั ดิ์สิทธแ์ิ ละผทู ีห่ นังเคารพหนงั ถอื ทง้ั หมดตลอดท้งั ใชรองกลอน
ฝากเนื้อฝากตัวกบั ผูชม
7. ออกรูปบอกเร่อื ง รปู บอกเรือ่ งเปน รปู ตลก หนงั สวนใหญใชร ูปขวัญเมืองเลนเพ่ือเปนตัวแทน
ของนายหนัง ไมมีการรอง กลอน มีแตพูด จุดประสงคของการออกรูปน้ีเพ่ือบอกกลาวกับผูชมถึงเรื่อง
นิยายทห่ี นังจะหยิบยกข้ึนแสดง
111
8. เก้ียวจอ เปนการรองกลอนสั้นๆ กอนต้ังนามเมืองเพ่ือใหเปนคติสอนใจแกผูชม หรือเปน
กลอนพรรณนา ธรรมชาติและความในใจ กลอนท่ีรองนห้ี นงั จะแตง ไวก อ น และถอื วา มคี วามคมคาย
9. ต้ังนามเมือง หรือตั้งเมือง เปนการออกรูปกษัตริย โดยสมมติขึ้นเปนเมืองๆ หน่ึงจากนั้นจึง
ดาํ เนนิ เหตุการณไ ปตามเรื่องท่ีกาํ หนดไว
วตั ถุประสงคก ารเลน หนังตะลุง
จากทก่ี ลาวมา เปน ขนบนิยมในการเลนหนังเพื่อความบันเทิงโดยทั่วๆ ไป แตหากเลนประกอบ
พิธกี รรม จะมขี นบนิยมเพิ่มขน้ึ การเลน เพอื่ ประกอบพิธีกรรมมี 2 อยาง คือ เลนแกเหมรยและเลนในพิธี
ครอบมือ การเลน แกเหมรยเปน การเลนเพื่อบวงสรวง ครูหมอหนังหรือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ตามพันธะท่ีบนบาน
ไว หนงั ตะลุงทจี่ ะเลน แกเหมรยไดต อ งรอบรใู นพิธกี รรมอยางดี และผานพิธคี รอบมอื ถูกตอ งแลว การเลน
แกเหมรยจะตองดูฤกษยามใหเหมาะ เจาภาพตองเตรียมเครื่องบวงสรวงไวใหครบถวนตามที่บนบานไว
ขนบนยิ มในการเลนทั่วๆไปแบบเดียวกับเลนเพื่อความบันเทิง แตเสริมการแกบนเขาไปในชวงออกรูป
ปรายหนาบท โดยกลา วขับรองเชิญครหู มอหรอื สง่ิ ศกั ดิ์สิทธ์ิมารบั เครอ่ื งบวงสรวง ยกเรอื่ งรามเกียรติ์ตอน
ใดตอนหนงึ่ ทพ่ี อจะแกเ คล็ดวาตัดเหมรยไดขึ้นแสดง เชน ตอนเจาบุตรเจาลบ เปนตน จบแลวชุมนุมรูป
ตา งๆมีฤาษีเจาเมือง พระ นาง ตัวตลก ฯลฯ โดยปกรวมกนั หนาจอเปน ทํานองวา ไดรว มรูเห็นเปนพยานวา
เจาภาพไดแกเหมรยแลว แลวนายหนังใชมีดตัด หอเหมรยขวางออกนอกโรง เรียกวา “ตัดเหมรย” เปน
เสรจ็ พิธี สวนการครอบมือเปน พธิ ีที่จดั ขึน้ เพ่อื ยอมรับนบั ถอื ครหู นงั แตครั้งบุรพกาล ซง่ึ เรียกวา “ครตู น ” มี
พระอณุ รทุ ธไชยเถร พระพริ าบหนา ทอง ตาหนยุ ตาหนักทอง ตาเพชร เปนตน
112
ตวั อยางผทู ปี่ ระสบความสาํ เรจ็ ในอาชีพการแสดงหนังตะลุง
นายหนงั พรอ มนอ ย
นายหนงั พรอ มนอ ย ตะลงุ สากล เปน นายหนังผูหนงึ่ ที่ไดร ับความนิยมจากประชาชนท่มี ีความช่ืน
ชอบการแสดงหนังตะลุงของนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เนื่องจากมีคุณลักษณะในการแสดงหนัง
ตะลงุ หลายๆ ดานรวมกัน เชน
1. มเี สยี งเพราะนํา้ เสียงในการขับบทกลอนทมี่ เี สียงดงั ฟงชดั
2.มคี วามรอบรทู ัง้ ทางโลกและทางธรรม
3. มกี ารนําเหตุการณบ า นเมอื งในปจ จบุ นั มาทําการแสดงเขากับวรรณกรรม
4. สอดแทรกมขุ ตลก
นายหนงั พรอ มนอ ย ตะลุงสากล มคี ณุ ลกั ษณะในเร่ืองของเสียงนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เปนนาย
หนังท่ีมนี ํ้าเสยี งทสี่ ามารถแสดงหนงั ตะลงุ ติดตอกันหลายชั่วโมงโดยเสียงไมแหบและสามารถเลียนเสียง
ตัวหนังแตล ะตัวที่เอกลักษณข องนา้ํ เสียงแตกตางกันออกไปไดอยางเหมาะสม สามารถถายทอดใหผูชม
ไดร บั รูถึงบทบาทของนายหนังไดเ ปน อยา งดี
วรรณกรรมท่ีแสดงหนังพรอมนอย ตะลุงสากล มีการนําคติสอนใจมาสอดแทรกในเนื้อหาการ
แสดงสอนใหผชู มไดรบั รูถงึ คําสอนในทางโลกและทางธรรม วรรณกรรมที่แสดงเขากับยุคสมัยโดยการ
นําเหตุการณในทองถิ่น เหตุการณการเมืองการปกครองมาดัดแปลงในการแสดงเพ่ือเปนสื่อกลางให
ชาวบานผูชมทราบถึงเหตุการณบานเมืองในปจจุบัน เร่ืองมุขตลกหนังพรอมนอย ตะลุงสากลมีวิธีการ
แสดงโดยนาํ มาสอดแทรกในเรอื่ งทาํ ใหก ารแสดงหนังตะลงุ เปนเร่อื งสอื่ บนั เทิงใหกับชาวบานในทองถ่ิน
ไดม ีความสนุกมสี วนรวมไปกับการแสดงหนังตะลงุ
หนังพรอมนอย ตะลุงสากลยังมีลุกคูที่มีความสามารถบรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง
รวมถึงความทันสมยั ในเรื่องดนตรที นี่ าํ มาบรรเลงกบั ดนตรีพนื้ บาน ทําใหไ ดรับความนิยมจากผูชมทุกวัย
การนําดนตรีสากลเขา มาใชป ระกอบการแสดงหนังตะลุงของคณะหนงั พรอมนอย มีการสรา งสรรคโ ดยนาํ
เพลงไทยเดิมมาบรรเลงกับดนตรีสากล สวนเพลงตามสมัยนิยมสามารถนํามาบรรเลงกับการแสดงหนัง
ตะลงุ ไดอ ยางเหมาะสมและลงตัว
สิ่งที่ขาดไมไดนอกเหนือจากองคประกอบความสามารถของนายหนังในการแสดงหนังตะลุง
นายหนังตะลุงควรนําองคประกอบการแสดงหนังตะลุงและความสามารถจากการแสดงหนัง
113
ตะลุงและความสามารถจากการแสดงไปชว ยเหลือสังคม โดยนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากลกลาว
วา การแสดงหนังตะลุงท่ตี นประสบความสาํ เร็จไดม ากจากการยอมรับจากประชาชน เราควรจะทําอะไร
เพ่ือประโยชนใหกับสังคมบาง หนังพรอมนอย ตะลุงสากล จึงนําเงินที่ไดจากการแสดงหนังตะลุงไป
ชวยเหลือชุมชน หรือบางคร้ังเปดการแสดงหนังตะลุงเพ่ือหาเงินสมทบไปพัฒนาหมูบาน โรงเรียน วัด
สถานทร่ี าชการ ใหม คี วามสะดวกยง่ิ ขนึ้
คณุ สมบตั พิ เิ ศษของผูทจ่ี ะแสดงหนังตะลงุ
จะตองเปนคนเสียงดีและเสียงดัง ทําเสียงไดหลายเสียง เปลี่ยนเสียงตามบทบาทของตัวละครที่
พากยไดฉบั พลันและเปนธรรมชาติ พากยย กั ษเสียงตองหาวอยางยักษ พากยนางเสียงตองนุมหวานอยาง
นาง พากยต ัวตลกตัวใดเสียงตองเปน อยา งตวั ตลกตัวนั้น เรยี กภาษาหนังตะลุงวา “กินรูป” เสียงท่ีชวนฟง
ตอ งแจมใสกังวานกลมกลนื กับเสยี งโหมง เรียกวา “เสียงเขาโหมง ” และสามารถรกั ษาคุณภาพของเสียงได
ตลอดเวลา การแสดงตงั้ แตป ระมาณ 3 ทุม จนสวาง ตองรอบรูในศิลปและศาสตรตางๆ อยางกวางขวาง
ท้ังคดีโลกและคดธี รรม เพื่อแสดงหนงั ใหไดท ั้งความบันเทงิ และสารประโยชน มีอรรถรส สามารถดึงดูด
ผชู มใหช วนตดิ ตาม
2.อาชพี การแสดงลิเก
ลเิ ก เกิดขนึ้ ในสมัยรชั กาลที่ 5 คําวา ลเิ ก ในภาษามลายู แปลวา ขับรอง เดิมเปนการสวดบูชาพระ
ในศาสนาอิสลาม สวดเพลงแขกเขากับจังหวะรํามะนา พวกแขกเจาเซ็นไดสวดถวายตัวเปนคร้ังแรกใน
การบาํ เพญ็ พระราชกศุ ล เมือ่ พ.ศ. 2423 ตอ มาคิดสวดแผลงเปน ลํานําตางๆ รอ งเปน เพลงตา ง
114
ภาษา และทําตัวหนังเชิด โดยเอารํามะนาเปนจอก็มี ลิเกจึงกลายเปนการเลนขึ้น ตอมามี
ผูคิดเลน ลเิ กอยา งละคร คอื เรม่ิ รอ งเพลงแขก แลวตอไปเลน อยางละครราํ และใชป พ าทยอยา งละคร
ลเิ กมี 4 แบบ คอื
ลิเกบันตน เร่ิมดวยรองเพลงบันตนเปนภาษามลายู ตอมาก็แทรกคําไทยเขาไปบาง ดนตรีก็ใช
รํามะนา จากนั้นก็แสดงเปนชุดๆ ตางภาษา เชน แขก ลาว มอญ พมา ตองเร่ิมดวยชุดแขกเสมอ
ผูแสดงแตงตัวเปนชาติตางๆ รองเอง พวกตีรํามะนาเปนลูกคู มีการรองเพลงบันตนแทรกระหวางการ
แสดงแตล ะชดุ
ลิเกลูกบท คอื การแสดงผสมกบั การขบั รองและบรรเลงเพลงลูกบท รองและราํ ไปตามกระบวน
เพลง ใชป พ าทยป ระกอบแทนรํามะนา แตง กายตามทนี่ ิยมในสมัยน้นั ๆ แตสีฉดู ฉาด ผูแสดงเปนชายลว น
เม่อื แสดงหมดแตละชุด ปพ าทยจ ะบรรเลงเพลง 3 ช้ันท่เี ปน แมบ ทข้นึ อกี และออกลูกหมดเปนภาษาตางๆ
ชุดอนื่ ๆ ตอ ไปใหม
ลิเกทรงเครอ่ื ง เปน การผสมผสาน ระหวางลเิ กบนั ตนและลิเกลกู บท มีทา รําเปน แบบแผน แตงตัว
คลา ยละครราํ แสดงเปนเรื่องยาวๆ อยางละคร เริม่ ดว ยโหมโรงและบรรเลงเพลงภาษาตางๆ เรียกวา "ออก
ภาษา" หรือ "ออกสบิ สองภาษา" เพลงสดุ ทา ยเปนเพลงแขก พอปพ าทยห ยดุ พวกตีรํามะนาก็รองเพลงบัน
ตน แลวแสดงชุดแขก เปนการคํานับครู ใชปพาทยรับ ตอจากน้ันก็แสดงตามเนื้อเร่ือง ลิเกท่ีแสดงใน
ปจ จุบันเปนลิเกทรงเคร่ือง
ลิเกปา เปนศิลปะการแสดงที่เคยไดรับความนิยมอยางกวางขวางในจังหวัดสุราษฎรธานีและ
จังหวดั ทางภาคใตท่วั ๆ ไป แตใ นปจ จุบนั ลเิ กปามีเหลืออยูนอ ยมาก ผูเฒาผูแกเลาวา เดิมลิเกปาจะมีแสดง
ใหดูทกุ งาน ไมวาจะเปน บวชนาค งานวดั หรอื งานศพ
ลเิ กปามีเคร่ืองดนตรีประกอบการแสดง 3 อยา ง คือ กลองรํามะนา 1-2 ใบ ฉ่งิ 1 คู กรับ 1 คู บาง
คณะอาจจะมโี หมง และทบั ดวย ลเิ กปามนี ายโรงเชน เดยี วกบั หนงั ตะลงุ และมโนราห สําหรบั การแสดงก็
คลา ยกบั โรงมโนราห ผแู สดงลิเกปา คณะหนงึ่ มีประมาณ 6-8 คน ถา รวมลกู คดู ว ยก็จะมจี าํ นวนคนพอ ๆ
กบั มโนราหห น่ึงคณะ การแสดงจะเรม่ิ ดวยการโหมโรง "เกริน่ วง" ตอ จากเกรน่ิ วงแขกขาวกบั แขกแดงจะ
ออกมาเตน และรอ งประกอบ โดยลกู คจู ะรบั ไปดว ย หลังจากน้นั จะมผี ูออกมาบอกเรื่อง แลว กจ็ ะเรม่ิ แสดง
วธิ กี ารแสดง เดนิ เรื่องรวดเรว็ ตลกขบขนั เร่ิมดวยโหมโรง 3 ลา จบแลว บรรเลงเพลงสาธุการ ให
ผูแสด ง ไ หว ค รู แล ว จึ ง ออก แข ก บอก เรื่ อง ท่ี จ ะ แสด ง สมั ย ก อน มี ก าร รํ า ถว า ย มื อหรื อ
ราํ เบกิ โรง แลวจึงดาํ เนินเร่ือง ตอมาการราํ ถวายมือก็เลกิ ไป ออกแขกแลว กจ็ บั เรือ่ งทนั ที การรายรํานอยลง
ไปจนเกอื บไมเ หลอื เลย คงมีเพียงบางคณะทยี่ งั ยดึ ศลิ ปะการราํ อยู
ผแู สดง เดิมใชผูชายลวน ตอมาแสดงชายจริงหญิงแทน้ัน ผูแสดงตองมีปฏิภาณในการรองและ
เจรจา ดาํ เนนิ เร่ืองโดยไมมกี ารบอกบทเลย หัวหนา คณะจะเลา ใหฟ ง กอนเทา น้ัน นอกจากน้ี
115
การเจรจาตองดดั เสียงใหผ ดิ ปกติ ซึง่ เปนเอกลักษณ ของลิเก แตตวั สามัญชนและตัวตลกพูดเสียงธรรมดา
เพลงและดนตรี ดาํ เนินเร่อื งใชเ พลงหงสท องช้ันเดียว แตด ดั แปลงใหดนไดเน้ือความมาก ๆ แลวจึง
รับดวยปพาทย แตถาเลนเรื่องตางภาษา ก็ใชเพลงท่ีมีสําเนียงภาษาน้ันๆ ตามทองเร่ือง แตดนใหคลาย
หงสทอง ตอมานายดอกดิน เสือสงา ไดดัดแปลงเพลงมอญครวญของลิเกบันตนที่ใชกับ
บทโศก มาเปน เพลงแสดงความรกั ดวย
เรื่องที่แสดง นิยมใชเรื่องละครนอก ละครใน และเร่ืองพงศาวดารจีน มอญ ญวน เชน สามกก
ราชาธิราช
การแตงกาย แตงตัวดวยเคร่ืองประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย จึงเรียกวา ลิเก
ทรงเครื่อง "สมยั ของแพง" กล็ ดเครื่องแตงกายที่แพรวพราวลงไป แตบางคณะก็ยังรักษาแบบแผนเดิมไว
โดยตวั นายโรงยังแตงเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริยในสวนที่มิใชเครื่องตน เชน นุงผายกทอง สวมเสื้อ
เขมขาบหรือเยียรบับ แขนใหญถึงขอมือ คาดเข็มขัดนอกเสื้อ ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณตางๆ แต
ดดั แปลงเสียใหม เชน เครอื่ งสวมศรี ษะ เครอื่ งประดับหนา อก สายสะพาย เครอื่ งประดับไหล ตัวนางนุงจีบ
ยกทอง สวมเส้ือแขนกระบอกยาว หมสไบปกแพรวพราว สวมกระบังหนาตอยอดมงกุฎ ท่ีแปลกกวาการ
แสดงอนื่ ๆ คือสวมถุงเทา ยาวสีขาวแทนการผัดฝนุ อยา งละคร แตไมสวมรองเทา
สถานทแ่ี สดง ลานวัด ตลาด สนามกวางๆ โดยปลกู เพิงสงู ระดับตา ดานหนา เปน ทแ่ี สดง ดานหลงั
เปนที่พักท่แี ตง ตวั
คณุ สมบัติของผูท จี่ ะแสดงลเิ ก
- มีใจรกั ในการแสดงและฝกฝนใหช าํ นาญ
- มีการรอ งและราํ ทีด่ ีและสวยงามเพราะเปน จุดเดนของลเิ กไทย
- ผสมผสานศิลปวฒั นธรรมไทยไดอยา งงดงาม นาชม
- ตรงตอเวลา และมคี วามรบั ผดิ ชอบในอาชีพ สามารถทํางานกับสวนรวมให เพราะคณะลิเก
จะมผี ูแ สดงจาํ นวนมาก
ผูที่ประสบความสําเร็จจากอาชีพการแสดงลิเก
คุณพนม พง่ึ อํานาจ อายุ 40 ป ลิเกคณะ พนมพึ่งอาํ นาจ ทอ่ี ยู 121/1 อาํ เภอเมือง จงั หวดั
เพชรบรุ ี ลิเกคณะพนมพึง่ อาํ นาจ เริม่ มกี ารแสดงมาแลว ต้งั แตส มยั บรรพบรุ ษุ โดยคณุ พอคณุ แมข องคุณ
พนมไดแ สดงลิเกมากอ นแลว และเขาไดเ ริ่มเลนตอนอายุ 26 ปซึ่งอดีตไดเ คยทํางานธนาคารแลวลาออกมา
เลน ลิเก เพราะชอบศลิ ปวฒั นธรรมของไทยและไดต ้งั คณะลเิ กข้ึนเปน ของตนเองเพื่อเปนการสบื สานตอ
จากคุณพอคณุ แม การแสดงลเิ กจะถือวา เปนเรอื่ งทง่ี า ยก็งายจะวา ยากกย็ ากแตถา มใี จรักในสงิ่ ทเ่ี ราทาํ นนั้ กจ็ ะ
ถอื วาเปน ความถนดั และงา ยสาํ หรบั ตวั เราเอง และมพี ืน้ ฐานตน แบบของการแสดงลเิ กนี้มาจากคณุ พอ
คณะมีผูรว มแสดงทง้ั หมดประมาณ 27 คน จะมอี ายุตั้งแต 17 ปซ ่งึ จะอยูในวยั เรยี น แลว ก็อายุ 20 ปทม่ี าก
สดุ 60 ป การแสดงแตล ะเร่ืองจะมหี ลายบทบาทที่แตกตา งกนั
116
ออกไปก็จะดวู า ใครเหมาะสมกบั บทบาทไหน สวนใหญจ ะแสดงลิเกกันเปนอาชีพหลัก การแสดงจะมีอยู
ตลอดทุกเดือนอยางตอเน่ืองและมีการแสดงมากในชวงออกพรรษาตระเวนแสดงผลงานทั้งป การแสดง
ไดรับเงินมากท่ีสุด คือ 60,000 บาท การแสดงเร่ืองหนึ่งจะใชเวลา 4 ชั่วโมง เวลาที่แสดงจะเปนชวง
กลางคืนเวลาสามทุมถึงตีหนงึ่ เสนห ข องลเิ กอยทู ่เี นอ้ื เรื่อง การแตง ตัวสําคัญที่สุดคือศิลปะการรอง การรํา
ซึง่ จะเปนจุดเดน ของลิเกไทยเปน การผสมผสานของศลิ ปวัฒนธรรมไทยทาํ ใหม ีความงดงามนาชม
ความเจริญกา วหนา ในอาชพี
ฝกการแสดงในบทรอง – บทราํ ใหม ีความชํานาญและพฒั นาไปในสิ่งท่ีดี และมีความรับผิดชอบ
จนเปน ทีย่ อมรับของผูชมท่ัวไป สามารถประสบความสาํ เรจ็ ได
3. อาชีพการแสดงหมอลาํ
คําวา "ลาํ " มีความหมายสองอยาง อยางหน่ึงเปนช่ือของเร่ือง อีกอยางหน่ึงเปนชื่อของ การขับ
รอ งหรือการลํา ที่เปนชือ่ ของเรือ่ งไดแ กเรอื่ งตา ง ๆ เชน เรอ่ื งนกจอกนอย เรอ่ื ง ทา วกา่ํ กาดํา เรอื่ งขลู นู างอว้ั
เปนตน เรือ่ งเหลา นีโ้ บราณแตงไวเ ปนกลอน แทนทจี่ ะเรยี กวา เร่อื งก็เรียกวา ลาํ กลอนท่เี อามาจากหนังสือ
ลาํ เรยี กวากลอนลํา
อกี อยางหนง่ึ หมายถึงการขับรอง หรือการลํา การนําเอาเร่ืองในวรรณคดีอีสานมา ขับรอง หรือ
มาลํา เรียกวา ลํา ผูที่มีความชํานาญในการขับรองวรรณคดีอีสาน โดยการทองจําเอากลอน
มาขบั รอง หรือผทู ีช่ ํานาญในการเลานทิ านเรอื่ งนัน้ เรอ่ื งน้ี หลายๆ เรื่องเรยี กวา "หมอลาํ "
117
ววิ ฒั นาการของหมอลํา
ความเจริญกา วหนา ของหมอลาํ กค็ งเหมือนกบั ความเจริญกา วหนาของสงิ่ อน่ื ๆ เร่มิ แรกคงเกดิ จากผู
เฒา ผูแกเ ลานิทาน นิทานทน่ี าํ มาเลา เกยี่ วกบั จารตี ประเพณแี ละศลี ธรรม โดยเรยี กลกู หลานใหม าชมุ นุมกนั ที
แรกนั่งเลา เม่ือลูกหลานมาฟงกนั มากจะนั่งเลา ไมเหมาะ ตอ งยืนขน้ึ เลา เรือ่ งทน่ี ํามาเลาตอ งเปน เรื่องท่ีมใี น
วรรณคดี เชน เรื่องกาฬเกษ สนิ ชัย เปนตน ผูเ ลาเพยี งแตเ ลา ไมออกทาออกทางก็ไมสนุก ผูเ ลาจึง
จาํ เปนตอ งยกไมย กมือแสดงทา ทางเปน พระเอก นางเอก เปน นกั รบ เปน ตน
เพียงแตเ ลา อยา งเดยี วไมส นุก จึงจาํ เปนตองใชส ําเนียงส้ันยาว ใชเสยี งสงู ต่ํา ประกอบ และหา
เคร่ืองดนตรีประกอบ เชน ซงุ ซอ ป แคน เพือ่ ใหเ กิดความสนุกครกึ ครนื้ ผูแสดง มเี พียงแตผ ูช ายอยา งเดยี ว
ดไู มมรี สชาติเผด็ มนั จงึ จําเปน ตองหาผหู ญงิ มาแสดงประกอบ เม่อื ผูหญงิ มาแสดงประกอบจึงเปน การลําแบบ
สมบูรณ เม่อื ผหู ญิงเขา มาเกี่ยวของเร่อื งตา ง ๆ ก็ตามมา เชน เรอื่ งเกีย้ วพาราสี เร่ืองชงิ ดชี งิ เดน ยาด (แยง) ชยู าด
ผัวกนั เรื่องโจทย เรื่องแก เร่อื งประชนั ขันทา เร่อื งตลกโปกฮากต็ ามมา จึงเปนการลาํ สมบรู ณแบบ
จากการทมี่ ีหมอลาํ ชายเพียงคนเดียวคอย ๆ พัฒนาตอมาจนมีหมอลาํ ฝายหญงิ มเี คร่อื งดนตรี
ประกอบจังหวะเพ่อื ความสนกุ สนาน จนกระทั่งเพม่ิ ผแู สดงใหมจี าํ นวนเทา กบั ตวั ละครที่มใี นเรื่องมีพระเอก
นางเอก ตวั โกง ตวั ตลก เสนา ครบถวน ซง่ึ พอจะแบง ยคุ ของววิ ฒั นาการไดดงั นี้
ลาํ โบราณ เปน การเลา ทานของผูเฒา ผูแกใ หล ูกหลานฟง ไมมที า ทางและดนตรปี ระกอบ
ลกู คูห รือลํากลอน เปนการลําทมี่ ีหมอลําชายหญิงสองคนลําสลับกัน มีเครื่องดนตรีประกอบ คือ
แคน การลาํ มีทัง้ ลําเรอื่ งนทิ านโบราณคดีอสี าน เรยี กวา ลาํ เรอื่ งตอ กลอน ลําทวย (ทายโจทย) ปญหา ซึ่งผลู ํา
จะตองมี ปฏิภาณไหวพริบที่ดี สามารถตอบโต ยกเหตุผลมาหกั ลา งฝายตรงขามได ตอ มามกี ารเพ่ิมผูลํา ข้ึน
อีกหนึง่ คน อาจเปนชายหรือหญิง กไ็ ด การลาํ จะเปล่ียนเปนเรอื่ ง ชิงรักหกั สวาทยาดชูยาดผัว เรียกวา ลําชิงชู
ลาํ หมู เปน การลําท่มี ีผแู สดงเพิม่ มากขน้ึ จนเกือบจะครบตามจาํ นวนตัวละครทมี่ ีในเรอ่ื ง มเี คร่อื ง
ดนตรีประกอบเพ่มิ ขน้ึ เชน พณิ (ซงุ หรือ ซึง) กลอง การลําจะมี 2 แนวทาง คอื ลาํ เวยี ง จะเปนการลําแบบ
ลํากลอน หมอลําแสดง เปนตวั ละครตามบทบาทในเร่อื ง การดาํ เนินเร่อื งคอ นขา งชา แตก ็ไดอรรถรสของ
ละครพ้ืนบาน หมอลําไดใ ชพรสวรรคข องตวั เองในการลาํ ทงั้ ทางดา นเสียงรอง ปฏภิ าณไหวพริบ และ
ความจาํ เปนทนี่ ิยมในหมผู สู งู อายุ ตอมาเมอื่ ดนตรลี ูกทงุ มอี ทิ ธิพลมากขึน้ จึงเกิดววิ ัฒนาการของลําหมูอีก
คร้ังหนงึ่ กลายเปน ลําเพลิน ซึง่ จะมจี ังหวะทีเ่ ราใจชวนใหส นุกสนาน กอ นการลาํ เรอ่ื งในชวงหวั ค่าํ จะมี
การนําเอารปู แบบของ วงดนตรีลกู ทุงมาใชเ รยี กคนดู กลา วคอื จะมนี กั รอง (หมอลาํ ) มารอง เพลงลกู ทุงท่ี
กําลังฮิตในขณะนัน้ มหี างเครอ่ื งเตนประกอบ นําเอาเครอื่ งดนตรีสมัยใหมม าประยกุ ตใ ช เชน กตี าร
คียบ อรด แซ็กโซโฟน ทรมั เปต และกลองชดุ โดยนํามาผสมผสานเขากบั เคร่อื งดนตรีเดิมไดแ ก พณิ แคน
ทาํ ใหไ ดรสชาตขิ องดนตรที ่แี ปลกออกไป ยุคนับวา หมอลําเฟอ งฟมู ากท่สี ุด คณะหมอลําดัง ๆ สว นใหญ
จะอยูในแถบจังหวดั ขอนแกน มหาสารคาม อุบลราชธานี
ลาํ ซงิ่ หลงั จากท่หี มอลําคูและหมอลําเพลิน คอย ๆ เส่อื มความนยิ มลงไป อนั เนือ่ งมาจากการกา ว
เขามาของเทคโนโลยีวทิ ยโุ ทรทศั น ทําใหดนตรีสตริงเขา มาแทรกในวิถีชวี ติ ของผูค นอสี าน ความนยิ มของ
118
การชมหมอลาํ คอ นขางจะลดลงอยา งเห็นไดช ดั จนเกิดความวิตกกังวลกนั มากในกลมุ นกั อนรุ กั ษ
ศิลปวัฒนธรรมพืน้ บา น แตแลว มนตข ลงั ของหมอลําก็ไดก ลบั มาอีกครั้ง ดวยรปู แบบท่ีสะเทือนวงการดวย
การแสดงทีเ่ รียกวา ลําซงิ่ ซ่งึ เปนววิ ัฒนาการของลาํ คู (เพราะใชห มอลํา 2-3 คน) ใชเครือ่ งดนตรสี ากลเขา
รว มใหจ ังหวะเหมอื นลําเพลิน มีหางเคร่ืองเหมอื นดนตรลี กู ทงุ กลอนลาํ สนุกสนานมจี ังหวะอันเราใจ ทาํ
ใหไ ดร บั ความนิยมอยา งรวดเรว็ จนกระท่งั ระบาดไปสกู ารแสดงพืน้ บา นอน่ื ใหต อ งประยกุ ตปรบั ตวั เชน
เพลงโคราชกลายมาเปน เพลงโคราชซง่ิ กนั ตรมึ ก็กลายเปนกันตรึมรอ็ ค หนงั ปราโมทยั (หนังตะลงุ อีสาน)
กลายเปน ปราโมทัยซ่งิ ถงึ กบั มกี ารจดั ประกวดแขง ขัน บันทึกเทปโทรทัศนจ าํ หนายกันอยา งแพรห ลาย
จนถึงกับ มบี างทา นถึงกับกลา ววา "หมอลาํ ไมมวี นั ตาย จากลมหายใจชาวอสี าน"
กลอนลาํ แบบตางๆ
กลอนท่ีนํามาเสนอ ณ ท่ีน้มี หี ลายกลอนทม่ี คี าํ หยาบโลนจาํ นวนมาก บางทา นอาจจะทําใจยอมรับ
ไมไดก ต็ อ งกราบขออภยั เพราะผจู ดั ทาํ มเี จตนาที่จะเผยแพรไวเพอ่ื เปนการสบื สาน วัฒนธรรมประเพณี มไิ ด
มีเจตนาทีจ่ ะเสนอใหเปนเรอ่ื งลามกอนาจาร ตอ งยอมรับอยา งหน่งึ วา น่ีคอื วิถชี วี ิตของคนอีสาน กลอนลาํ
ทงั้ หลายท้งั ปวงผูลํามีเจตนาจะทําใหเกิดความสนุกสนานตลกโปกฮาเปนที่ตั้ง ทา นท่อี ยใู นทอ งถน่ิ อนื่ ๆ ขอ
ไดเขา ใจในเจตนาดว ยครับ สนใจในกลอนลําหัวขอใดคลกิ ทหี่ ัวขอนน้ั เพอ่ื เขา ชมไดค รับ
กลอนที่นํามารอ งมาลํามมี ากมายหลายอยาง จนไมสามารถจะกลาวนับหรือแยกแยะไดห มด แตเ มือ่
ยอรวมลงแลว จะมีอยูสองประเภท คอื กลอนสัน้ และกลอนยาว
กลอนสั้น คือ คาํ กลอนท่ีส้ันๆ สาํ หรับเวลามีงานเล็กๆ นอ ยๆ เชน งานทําบญุ บา น หรอื งาน
ประจําป เชน งานบญุ เดอื นหกเปนตน กลอนสนั้ มดี ังตอ ไปน้ี
1. กลอนข้นึ ลาํ
2. กลอนลงลํา
3. กลอนลาํ เหมดิ คนื
4. กลอนโตน
5. กลอนต่ิง
6. กลอนตง
7. กลอนอศั จรรย
8. กลอนสอย
9. กลอนหนังสอื เจียง
10. กลอนเตยหรือผญา
11. ลําสีฟนดอน
12. ลาํ สนั้ เรือ่ งตดิ เสนห
119
กลอนยาว คือ กลอนสาํ หรบั ใชล าํ ในงานการกศุ ล งานมหรสพตางๆ กลอนยาวนใี้ ชเ วลาลาํ เปน
ชวั่ โมงบาง คร่ึงชว่ั โมงบาง หรือแลว แตก รณี ถา ลาํ คนเดยี วเชน ลําพื้น หรอื ลําเรื่อง ตองใชเ วลาลาํ เปนวนั ๆ
คนื ๆ ท้งั น้แี ลวแตเรื่องที่จะลําสั้นหรอื ยาวแคไ หน แบง ออกเปน หลายชนดิ ดังนี้
1. กลอนประวัติศาสตร
2. กลอนลาํ พน้ื หรอื ลาํ เรื่อง
3. กลอนเซงิ้
4. กลอนสอ ง
5. กลอนเพอะ
6. กลอนลอ งของ
7. กลอนเวาสาว
8. กลอนฟอนแบบตางๆ
อปุ กรณวธิ ีการแสดง ประกอบดว ยผแู สดงและผบู รรเลงดนตรคี อื หมอแคน แบงประเภทหมอลํา
ดงั น้ี
1. หมอลาํ พ้นื ประกอบดวยหมอลํา 1 คน หมอแคน 1 คน
2. หมอลาํ กลอน ประกอบดว ย หมอลํา 2-3 คน และหมอแคน 1-2 คน
3. หมอลําเรอื่ งตอกลอน ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคน เรยี ก หมอลําหมู ดนตรีประกอบคอื
แคน พณิ ฉงิ่ กลอง และเครื่องดนตรีสากล
4. หมอลาํ เพลนิ ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคนและผูบรรเลงดนตรีหลายคน
สถานท่ีแสดง เปนมหรสพที่ใชในงานเทศกาล งานบวช งานกฐิน งานวันเกิด งานศพ ฯลฯ เปน
มหรสพทปี่ ระชาชนชาวอสี านในอดีตนิยมชมชน่ื มาก
120
ผปู ระสบความสําเรจ็ จากอาชพี การแสดงหมอลาํ
หมอแปน หรือ น.พ.สุชาติ ทองแปน อายุรแพทย วัย 36 ป เขาสามารถใชชีวิตอยูตรงก่ึงกลาง
ระหวางการเปน "หมอรกั ษาคน" และ "หมอลาํ " ไดลงตวั อะไรทท่ี ําใหน ายแพทยคนหน่ึงเลือกที่จะมีชีวิต
สองข้วั บนเสน ทางคขู นานระหวา งความฝนกบั ความเปนจรงิ
"หมอแปน " เปน แพทยประจาํ โรงพยาบาลมหาสารคาม ผูท ที่ ุมเทใหกับการรกั ษาผูปวยดวยหัวใจ
เกินรอย เขายังไดรับการยอมรับจากบุคลากรทุกระดับช้ันของโรงพยาบาล วาเปนหมอท่ีมากดวย
ประสทิ ธภิ าพในการเยียวยารักษา เอาใจใสผ ูปว ย และนิสยั ใจคอกโ็ อบออมอารี
หมอแปน เลาวา โดยสวนตัวผมชอบหมอลํามาต้ังแตเด็ก แลวจําไดวาตอนท่ีเรียนหมออยู
ป 4 ทค่ี ณะมหี มอลาํ เขามาเปดสอนใหหดั รองหัดลาํ ผมก็อยากจะไปเรียน เพราะชอบมาต้ังนานแลว ก็ไป
บอกพอกับแม แตเ ขากไ็ มใ หเรียน บอกวาอยาเลย ผมเลยไมไ ดไ ปสมัคร แตต อนนน้ั กจ็ ะไปดหู มอลาํ ตลอด
ดูจนถึง 6 โมงเชา เกือบทุกวันเลย แตไมใหเสียการเรียน ถึงกลับมาเชาเราก็ไปเขาเรียนตอได ไมมี
ผลกระทบอะไร เพราะเราแบง เวลาเปน และทีล่ าํ หมอลาํ ไดกไ็ มไดไปเรียนทไ่ี หน อาศยั จําเอา ดูคนนั้นคน
น้ีแลวก็จํา ตอมาประมาณป 2547 ก็เริ่มชักชวนเพื่อนๆ ในโรงพยาบาลตั้งวงหมอลําข้ึนมา ช่ือวา "บาน
รมเย็น" ปจ จบุ ันมีสมาชิกประมาณ 30 คน มีท้ังแพทย พยาบาล เจาหนาที่โภชนาการ แมบาน ผูปวย ฯลฯ
ซง่ึ ชว งแรกเปน เงนิ ของตัวเอง ตอ มากเ็ ปนเงินกองทุนบานรมเย็นเอาไวซ้ือเคร่ืองสําอาง วิชาชีพ "หมอลํา"
เปนการแสดงพน้ื บาน ท่หี ลอเล้ียง จิตวญิ ญาณของชาวอสี าน ทด่ี ไู ปแลว ศาสตรท ง้ั 2 น้นั ไมนา จะโคจรมาพบ
กนั ได ทําใหหนา ที่เปน หมอรกั ษาคนไข กบั การแสดงความเพลิดเพลินใหคนดมู คี วามสุข
ความเจรญิ กาวหนาในอาชพี
ฝก การแสดงใหมีความชาํ นาญ และพัฒนาไปในสิ่งท่ีดี มีความรับผิดชอบ จนเปนท่ียอมรับของ
ผชู มทว่ั ไป สามารถประสบความสาํ เรจ็ ได
121
สถานที่สําหรบั ศกึ ษาหมอลาํ
โรงเรยี นสอนหมอลาํ กลอน ลาํ ซง่ิ (ศิลปะการแสดงพ้ืนบาน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิทยาลัย
นาฏศลิ ปรอ ยเอด็ สําหรับผูทีส่ นใจเรยี นศลิ ปะการแสดง หมอลํากลอน แคนเตาเดียว หรือลาํ ซิ่ง การเรียนลาํ
เรียนตง้ั แตกอ นฟอน พนื้ ฐานตา งๆ สวนลํากลอนเรยี น 5 ยก ลาํ ซง่ิ 3-4 ยก
กจิ กรรมทา ยบท
ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง
บอกลักษณะท่ีมาและประเภทของอาชพี นาฏศลิ ปไทยได
คาํ ช้แี จง ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี
1. อธิบายข้ันตอนของอาชพี การแสดงหนังตะลุง
2. อธิบายขั้นตอนของอาชีพการแสดงลิเก
3. อธบิ ายขน้ั ตอนของอาชพี การแสดงหมอลํา
122
คณะผจู ัดทํา
ทปี่ รกึ ษา
1. นายประเสริฐ บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน.
รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
ทป่ี รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน.
3. นายวชั รินทร จาํ ป ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขาราชการบํานาญ
กศน. เฉลมิ พระเกรี ยติ จ.บุรีรัมย
5. นางรกั ขณา ตัณฑวฑุ โฒ สถาบนั กศน. ภาคใต
สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
ผูเขียนและเรียบเรยี ง สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายจํานง วนั วิชยั
ขาราชการบํานาญ
2. นางสรญั ณอร พฒั นไพศาล กศน. เฉลิมพระเกีรยติ จ.บุรรี ัมย
สถาบัน กศน. ภาคใต
3. นายชยั ยนั ต มณีสะอาด สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
4. นายสฤษดิช์ ัย ศริ ิพร กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ขาราชการบาํ นาญ
5. นางชอทพิ ย ศิรพิ ร
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
6. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
ผบู รรณาธกิ าร และพัฒนาปรับปรุง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นายจํานง วันวชิ ัย
2. นางสรัญณอร พัฒนไพศาล
3. นายชยั ยนั ต มณสี ะอาด
4. นายสฤษดชิ์ ัย ศริ พิ ร
5. นางชอทิพย ศริ ิพร
6. นายสรุ พงษ มัน่ มะโน
7. นายวิวฒั นไชย จนั ทนสุคนธ
คณะทาํ งาน
1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน
2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท
4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
123
ผพู ิมพตน ฉบบั คะเนสม กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1.นางสาวปยวดี เหลืองจติ วฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นางสาวเพชรนิ ทร กวีวงษพิพัฒน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวชาลนิ ี บา นชี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวอลิศรา
ผูอ อกแบบปก ศรีรัตนศลิ ป กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
นายศุภโชค
ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2
คณะทปี่ รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน.
อมิ่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน.
นายชัยยศ จนั ทรโอกลุ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานพฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน
นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานการเผยแพรท างการศกึ ษา
นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หวั หนาหนวยศกึ ษานเิ ทศก
นางชลุ ีพร งามเขตต ผูอ าํ นวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางอัญชลี
นางศุทธนิ ี
ผพู ฒั นาและปรับปรงุ คร้ังท่ี 2
นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นายกิตติพงศ จันทวงศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นางสาวผณนิ ทร แซอ้งึ
นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา
124
คณะผูปรบั ปรงุ ขอ มลู เกย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยป พ.ศ. 2560
ทป่ี รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายสุรพงษ ปฏิบตั หิ นาทร่ี องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ สุขสุเดช ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรีนุช
ผปู รบั ปรุงขอ มลู
นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
คณะทํางาน
1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น
8. นางสาวชมพูนท สังขพิชยั