3. พระราชดำริในการแก้ไขปัญหานำ้ ท่วม พ้ืนท่ีการเกษตรและชมุ ชน ทรงมีนโยบายการจดั การปัญหาอย่างไร
จงอธบิ ายอย่างละเอยี ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. หลักการสำคัญของโครงการตามแนวพระราชดำริในการบำบดั นำ้ เสีย อาศัยวธิ กี าร 2 อย่าง คือวธิ ีการใด จง
อธิบายวิธีการทง้ั 2 อย่าง มาอยา่ งละเอยี ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 51 ภูมปิ ัญญาไทย : การอยู่กบั สายนำ้
บทที่ 4
แนวทางการพัฒนาภมู ปิ ัญญาและศาสตรข์ องในหลวง
สกู่ ารบริหารจัดการนำ้ และการอยูก่ บั สายน้ำ
สาระสำคญั
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย : การอยู่กับสายน้ำ เป็นการเรียนรู้แนวทางการ
พฒั นาภมู ปิ ัญญาและศาสตร์ของในหลวงสกู่ ารบรหิ ารจัดการนำ้ และการอยู่กับสายน้ำ
ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง
เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการน้ำ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของ
การบริหารจัดการน้ำและนำความร้ทู ไี่ ดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้
ขอบข่ายเน้ือหา
เร่ืองที่ 1 แนวทางการพัฒนาภูมิปัญญาและศาสตร์ของในหลวงสู่การบริหารจัดการน้ำและ
การอยูก่ บั สายน้ำ
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 52 ภมู ปิ ญั ญาไทย : การอยู่กบั สายน้ำ
เรื่องที่ 1 แนวทางการพฒั นาภมู ิปญั ญาและศาสตรข์ องในหลวงสูก่ ารบรหิ ารจดั การนำ้
และการอยกู่ ับสายนำ้
ในบทเรียนทผ่ี า่ นมา เราได้ศึกษาถึง การอย่กู ับสายนำ้ จากอดีตและปัจจบุ ัน นอกจากนี้เราไดเ้ รียนรู้
พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการจัดการทรพั ยากรนำ้ รวมถึงภูมิปญั ญาของชมุ ชนที่
อาศยั อยู่รมิ น้ำ ในการอยู่กับสายน้ำอย่างยัง่ ยนื องค์ความรู้ต่างๆ เราสามารถนำมาประยุคใช้ในยคุ ปจั จบุ ันนี้ได้
อยา่ งไรบ้าง เพ่ือการบรหิ ารจัดการนำ้ และการอยกู่ บั สายน้ำ
ศาสตร์ของในหลวง จอมปราชญ์แหง่ น้ำ
พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถท่ีเราควรจะตามรอยพระบาทพระองคท์ ่าน หากเรามองให้ลึก
จากส่งิ ทพ่ี ระองค์ทำ พระองค์ตรัส พระองคด์ ำริ จะยง่ิ เขา้ ใจยิง่ ขึ้นวา่ หลักการจัดการนำ้ ของพระองค์นั้น
แท้จรงิ ไม่ไดซ้ ับซอ้ นเป็นเร่อื งยากแต่อยา่ งได้ แต่อยู่บนพ้ืนฐานของการ เฝ้าสงั เกต ใส่ใจ และเพยี รพยายามใน
การบริหารจดั การอยา่ งถึงแกน่
หลกั การทรงงานของในหลวง ในการบรหิ ารจัดการน้ำ พระองคจ์ ะศึกษาจากแผนท่ี ทำการบ้าน
ศกึ ษาขอ้ มูลตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ทรงตรวจสอบข้อมูลกับประชาชนในพนื้ ท่ี ใชห้ ลกั การพฒั นาจะต้องวางให้
สอดคล้องกับภูมิประทศและคน ทรงศึกษาก่อนทจ่ี ะทรงทำอะไร ตราบใดทยี่ งั ไมบ่ รรลปุ รโุ ปร่งไม่สุดปลาย
ของปญั หาพระองคจ์ ะไม่ทรงหยุด โดยเฉพาะเรื่อง “นำ้ ” ทรงเตือนวา่ “ระวังนะ อย่าไปรงั แกธรรมชาติ หาก
ไปรงั แกมากๆ เขาจะโกรธเอา และเขาจะทำรา้ ยเรา” น่ันคอื ทรงแนะให้เราอยู่กบั น้ำตามธรรมชาติ อยา่ ฝืน
ธรรมชาติ เพราะผลกระทบท่ีกลบั มาอาจจะเกดิ ความเสียหายรนุ แรงได้
ปรัชญาในการบริหารนำ้ ของในหลวง
“การพฒั นาแหล่งน้ำนั้น ในหลกั ใหญค่ ือ การควบคุมน้ำให้ไดด้ ัง่ ประสงค์ทั้งปริมาณและคุณภาพ
กล่าวคือ เมอ่ื นำ้ มปี ริมาณมากเกินไป ก็ต้องหาทางระบายออกให้ทนั การณ์ ไม่ปล่อยให้เกิดความเดอื นร้อน
เสียหายได้ และขณะทเ่ี กิดภาวะขาดแคลน กต็ อ้ งมีน้ำเก็บกกั ไวใ้ ชอ้ ย่างพอเพยี ง ทั้งมีคณุ ภาพเหมาะสมกับ
การเกษตร การอตุ สาหกรรมและการอปุ โภคบริโภค ปญั หาอยทู่ ีว่ ่าการพฒั นาแหล่งน้ำอาจจะมีผลกระทบตอ่
สิง่ แวดล้อมบ้าง แต่ถา้ ไม่มีการควบคมุ น้ำทีด่ ีพอแล้ว เมือ่ เกิดภัยธรรมชาตขิ น้ึ ก็จะก่อใหเ้ กิดความเดือดร้อน
สญู เสยี ทัง้ ในดา้ นเศรษฐกจิ และในชวี ติ ความเปน็ อยู่ของประชาชน ทั้งส่งผลกระทบกระเทือนแกส่ ิ่งแวดล้อม
อย่างร้ายแรง”
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 53 ภูมิปัญญาไทย : การอยกู่ บั สายนำ้
ก. การอนุรกั ษต์ น้ น้ำ
1. การพัฒนาแหลง่ นำ้ ในหลวงทรงมพี ระราชดำรสั ในการพฒั นาแหลง่ น้ำ ความว่า “...ตน้ ไม้ท่ีจะ
ปลูกทดแทนป่าไมท้ ่ีถูกทำลายนัน้ ควรใช้ต้นไม้โตเรว็ ทม่ี ีประโยชน์หลายๆ ทางคละกนั ไปและควรปลูกพชื คลมุ
แนวรอ่ งนำ้ ต่างๆ เพือ่ ยดึ ผิวดินและให้เก็บรักษาความชุ่มช้ืนไว้ นอกจากนั้นจะต้องสร้างฝายเล็กเพ่ือหนนุ น้ำ
สง่ ไปตามเหมือง ไปใช้ในพื้นท่ีเพาะปลูกทั้ง 2 ด้าน ซงึ่ จะทำให้น้ำคอ่ ยๆ แผข่ ยายออกไปทำความชุม่ ช้ืนให้
บริเวณน้นั ด้วย...”
การพัฒนาแหลง่ น้ำเพ่ือการอนรุ กั ษ์พน้ื ทต่ี น้ น้ำลำธารตามแนวพระราชดำริ เป็นการหาวธิ เี กบ็ กักน้ำ
เอาไว้ในบรเิ วณแหลง่ ตน้ นำ้ ลำธารเอาไว้ใหน้ านทีส่ ุด โดยการทดและเก็บกกั นำ้ ท่ไี หลบ่าลงมาไวใ้ นลำนำ้ คล้าย
กับอา่ งเกบ็ น้ำขนาดเลก็ โดยใหก้ ระจายอยทู่ ว่ั ไปตามบรเิ วณพนื้ ทตี่ น้ น้ำลำธาร เพ่ือให้นำ้ ทเ่ี กบ็ กักเอาไว้ได้ซึม
เขา้ ไปในดินตามตลงิ่ และท้องนำ้ เข้าไปเก็บอยตู่ ามชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดนิ ทำให้ปริมาณน้ำบริเวณแหล่งตน้
นำ้ ลำธาร มเี พม่ิ มากขึ้นซึ่งก่อให้เกดิ ความช่มุ ช้ืนของดนิ บรเิ วณนั้น กระทั่งสง่ ผลทำให้ลำธารหรอื ลำหว้ ย
ดังกล่าวมีนำ้ ไหลอยู่ตลอดปที ้ังในฤดฝู นและฤดแู ลง้ ทำให้สภาพปา่ ตน้ นำ้ มีความชุม่ ชนื่ และอุดมสมบรู ณ์
อำนวยประโยชนต์ อ่ การทำมาหากินของชาวบา้ นทอ่ี าศยั อยู่ในเขตลุม่ น้ำนน้ั ๆ ไดอ้ ย่างดแี ละทั่วถึง
2. “การปลกู ปา่ โดยไม่ต้องปลูก” ในหลวงทรงคิดวิธีบรหิ ารจดั การน้ำและการปลกู ป่าดว้ ยวธิ งี า่ ยๆ
น่นั คอื “การปลกู ปา่ โดยไมต่ ้องปลูก” ผืนดิน ตน้ นำ้ ลำธาร ปา่ ไมท้ ี่อดุ มสมบรู ณก์ ่อเกิดพืชพรรณทีห่ ลากหลาย
และเติบโตเปน็ ตน้ ไมใ้ หญ่ เป็นผืนป่าอนั อุดมสมบรู ณ์ไดเ้ องตามธรรมชาติ ความช่วยเหลอื ที่มนษุ ย์ตอ้ งชว่ ย
ธรรมชาติ คอื “เก็บกกั น้ำ” เอาไวใ้ หผ้ นื ป่าดดู ซับความชุ่มชื้น เป็นท่มี าของ “ฝายชะลอนำ้ ” ที่ไมต่ ้องใช้
เครอื่ งมอื หรือเทคโนโลยขี ้นั สูงใดๆ มาช่วย ใช้เพียงแค่ดิน ต้นไม้ ใบไม้ ซากไม้ ท่ปี รักหักพงั ใสเ่ ข้าไป เท่าน้ีก็
ได้ “ฝายดนิ ” เลก็ ๆ ที่แขง็ แรง ทำหนา้ ทีเ่ ก็บกกั น้ำเอาไว้ สร้างความชมุ่ ชืน้ ให้กบั ผืนป่าได้นานข้ึน ทรงใช้
หลกั การเดยี วกบั “ถุงน้ำเกลือ” ทสี่ ่งน้ำเกลือสู่รา่ งกายท่ลี ะหยด ทรงคิดต่อยอดวา่ หากเกดิ “ถุงน้ำเกลือ”
(คอื ฝายดนิ ) เกบ็ กักน้ำเปน็ กระเปาะเล็กๆ หลายๆ จดุ กระจายท่ัวผนื ป่า ก็จะเกิดความชุ่มช้นื ท่วั ภูเขา ความ
อดุ มสมบูรณ์ของป่ากย็ ิ่งขยายวงกว้างมากข้นึ ตามไปด้วย
3. “Wet Fire Brake” ในหลวงทรงตรสั วา่ Wet Fire Brake หรือ การใชค้ วามชืน้ สกดั ไฟป่า
ในปา่ ใบไม้ทรี่ ่วงทบั ถมกันจะมีความชน้ื จะป้องกันการเกิดไฟปา่ ในตวั การเกบ็ ใบไม้ออกหมด เปน็ การทำลาย
ความชมุ่ ช้นื ในผืนดินออกไป ทำให้เกิดไฟปา่ ไดง้ า่ ยกว่า การ Wet Fire Brake นอกจากจะใหธ้ รรมชาติ
ไดส้ รา้ งสมดุลในตวั เองแล้ว ความช่มุ ช้ืนในปา่ จะทำใหไ้ ฟป่าลดลง
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทยั 54 ภูมปิ ัญญาไทย : การอยู่กบั สายนำ้
4.ฝายชะลอความชุ่มชื้น หรือ Check Dam หมายถึง สิง่ กอ่ สร้างขวางกน้ั ทางเดินน้ำ เช่น ลำห้วย
ขนาดเล็กในบรเิ วณต้นน้ำ หรือพื้นท่ีทม่ี ีความลาดชันสงู เพ่ือชะลอน้ำหรอื ความชมุ่ ชืน้ ให้หมนุ เวียนภายใน
บริเวณน้นั ๆ ทำให้ดนิ ช่มุ ฉำ่ ป่าไมเ้ ขยี วขจีและกระจายความชุ่มช้นื ไปยงั บรเิ วณโดยรอบ ทัง้ เปน็ แนวป้องกัน
ไฟป่า ชะลอน้ำทเ่ี ชย่ี วกรากในฤดนู ำ้ หลาก กักเก็บตะกอนหรอื หนา้ ดนิ ไมใ่ ห้ไหลลงลุม่ นำ้ ตอนล่าง
ฝายชะลอความชุ่มชนื้ มี 2 ประเภท คือ ฝายรักษาความชุ่มชื้น และฝายดกั ตะกอน แบ่งออกเป็น 3
แบบ คอื
1. ฝายท้องถิ่น กอ่ สร้างได้ง่ายโดยวสั ดุธรรมชาติ เชน่ ก่งิ ไม้ ทอ่ นไม้ ขนาบด้วยกอ้ นหินขนาดต่างๆ
ในบริเวณตอนบนของลำหว้ ยหรอื รอ่ งน้ำ หรอื สรา้ งดว้ ยท่อนไม้ขนาบด้วยถุงบรรจุทราย หรือก่อสรา้ งแบบ
คอกหมแู กนดนิ อัดขนาบด้วยหินแบบเรยี งหิน แบบคอกหมูหินทิ้ง แบบคอกหมูถงุ ทรายซเี มนต์ แบบหลกั
คอนกรีตหนิ ทงิ้ แบบถุงทรายซเี มนต์ แบบคนั ดิน แบบหลักไม้ไผ่สานขัดกนั ซ่ึงเป็นรปู แบบฝายด่งั เดมิ ของ
ชาวบา้ น อาจทำดว้ ยตนเองหรอื ระดมแรงลงแขก เป็นฝายทมี่ คี ่าใช้จ่ายน้อยหรอื อาจจะไม่มเี ลย
2. ฝายเรียงด้วยหนิ เรียงก้อนหินเป็น 55 ภูมิปญั ญาไทย : การอยกู่ ับสายน้ำ
พนังกน้ั นำ้ บริเวณตอนกลาง หรอื ตอนลา่ งของ
หว้ ย หรือร่องนำ้ ใชด้ ักตะกอนและเกบ็ กักน้ำ
หนา้ แล้ง
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั
3. ฝายคอนกรตี สร้างดว้ ยคอนกรีตเสรมิ เหล็ก
แบบถาวรทบ่ี ริเวณปลายลำห้วย ใชด้ กั ตะกอนและเก็บ
กกั นำ้ ไดด้ ใี นฤดูแลง้ ค่าก่อสร้างประมาณ 4-5 หม่นื บาท
สำหรับลำหว้ ยกว้างไมเ่ กนิ 4 เมตร
การก่อสร้างฝายกน้ั นำ้ ตามแนวพระราชดำริ
1. สำรวจสภาพพน้ื ท่ี วัสดธุ รรมชาตทิ ี่จะใช้ก่อสร้าง กำหนดรปู แบบฝายกนั้ น้ำที่เหมาะสมและ
สมั พันธก์ ับภมู ิประเทศใหม้ ากท่ีสดุ
2. คำนึงถงึ ความแขง็ แรงของฝาย ไม่ใหเ้ สยี หายหรือพงั ทลายเมอ่ื ฝนตกหนักหรือกระแสน้ำแรง
3. ก่อสร้างในพ้ืนท่ที ีช่ ่องลำห้วยลาดชนั เพอื่ ให้ฝายมีขนาดพอเหมาะสามารถกักน้ำและตะกอนได้
พอสมควร ในลำห้วยที่มคี วามลาดชนั มากควรสรา้ งฝายให้ถีข่ ึ้น
ข. การแกไ้ ขปัญหานำ้ ท่วมและภยั แล้ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชทานพระราชดำรเิ ปน็ แนวทางการบรหิ ารจดั การนำ้ ท่วมไว้ 5
รปู แบบ คือ
1. การสร้างคนั กั้นน้ำ จะทำขนานตามลำนำ้ ห่างจากขอบตลงิ่ พอประมาณเพื่อก้นั น้ำท่มี ีระดับสูง
กว่าตลิง่ ไม่ใหไ้ ปทว่ มพน้ื ทีส่ ำคัญ
2. การสร้างทางผันน้ำ หรือ ฟลดั เวย์ เปน็ การขุดคลองสายใหม่หรือช่องทางระบายน้ำอุทกภัยเพื่อ
เป็นทางระบายเช่ือมต่อลำนำ้ ที่มปี ัญหาน้ำทว่ ม ผันนำ้ ทล่ี ้นตลง่ิ ใหไ้ หลไปลงลำนำ้ สายอ่นื หรือระบายออกสู่
ทะเล
3. การปรบั ปรุงสภาพลำนำ้ เป็นการปรบั ปรุง ปรับแตง่ ขดุ ลอก คคู ลอง ตื้นเขินให้ลึกข้ึนใหน้ ้ำ
ไหลสะดวกเร็วขึ้นกว่าเดมิ หรอื บริเวณลำน้ำที่มีแนวโค้งมากในลกั ษณะกระเพาะหมูอาจจะขดุ ทางน้ำตัดตรงให้
นำ้ ไหลตามทางน้ำท่ีขดุ ใหม่ เช่นคลองลดั โพธิ์
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 56 ภูมิปญั ญาไทย : การอย่กู ับสายน้ำ
4. การสร้างเขือ่ นเกบ็ กักนำ้ เป็นการสรา้ งเขื่อนเกบ็ กักนำ้ ระหว่างหุบเขาหรือเนนิ สูงทีบ่ ริเวณตน้ น้ำ
สายใหญ่ เพอ่ื ปดิ กกั น้ำตามธรรมชาตไิ ว้เหนือเข่ือน และมีโครงการพระราชดำรแิ กม้ ลงิ เพม่ิ ขึน้ เพ่ือเป็นพ้ืนที่
รบั นำ้ และเกบ็ กกั น้ำ
5. การระบายน้ำออกจากพื้นท่ลี ุ่ม เปน็ การระบายน้ำออกจากพื้นท่ลี ุ่มต่ำซงึ่ มนี ำ้ ขังอยู่นานหลาย
เดอื นในแต่ละปี จนไม่สามารถทำการเพาะปลูกได้ การระบายน้ำออกนอกจากจะช่วยแก้ไขปัญหาน้ำทว่ มแลว้
ยงั สามารถใช้พ้ืนท่ใี ห้เกดิ ประโยชน์ในการเพาะปลกู ได้อีกด้วย
แก้มลิง แนวพระราชดำริแก้มลิง เปน็ แนวทางบรรเทาปัญหาน้ำท่วมโดยจดั หาพ้นื ที่รองรบั
และเกบ็ กกั น้ำในชว่ งฝนตกมีนำ้ มาก และระบายออกในช่วงทีน่ ้ำลดลง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำ
ลักษณะการเกบ็ อาหารของลิง เมอ่ื สง่ กลว้ ยให้จะนำใส่ปากเคย้ี ว และเก็บไวท้ ่ีกระพุง้ แก้ม ก่อนนำออกมา
กลืนกนิ ภายหลัง
โครงการแก้มลิง ทุ่งทะเลหลวง จ.สโุ ขทยั
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 57 ภมู ิปัญญาไทย : การอยู่กับสายน้ำ
1. การแก้ไขปัญหานำ้ ทว่ ม ระดับชมุ ชน ชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน และท้องที่ รวมถึง
หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง สามารถร่วมกนั แกป้ ญั หานำ้ ท่วม ตามแนวพระราชดำริได้ คือ
1) สร้างพืน้ ท่ีรบั น้ำ หาพน้ื ทีร่ ับนำ้ เพือ่ ลดปริมาณน้ำที่จะไหลบ่าลงพ้ืนท่ลี า่ ง
2) ดำเนินการเพ่ือระบายน้ำออกจากพ้ืนทล่ี ุม่ คอื งานขุดคลอง หรือ ปรับปรุงคลองระบาย
น้ำทม่ี ีอยู่ เพื่อใหส้ ามารถระบายน้ำจำนวนมากออกจากพืน้ ท่ี โดยใหไ้ หลลงสู่แม่น้ำสายใหญ่อยา่ งสะดวก
จนกระทัง่ สามารถใชพ้ น้ื ทีน่ น้ั ๆ มาใชเ้ พาะปลูกไดใ้ นเวลาท่ีต้องการ
3) นอกจากต้องมีการขดุ หรือปรบั ปรุงคลองระบายน้ำดังกล่าวแลว้ จึงต้องมกี ารสร้างประตู
หรือทอ่ ระบายน้ำเอาไว้ทป่ี ลายคลองระบายน้ำด้วย โดยนอกจากจะเป็นการควบคุมการเกบ็ กักนำ้ เอาไว้ใช้ใน
ยามจำเปน็ แลว้ ยงั เปน็ การป้องกันนำ้ จากบรเิ วณด้านนอกไม่ให้ไหลยอ้ นเข้าไปในพื้นที่อีกน่นั เอง
4) อาจต้องพิจารณาสร้างโรงสบู น้ำขนาดใหญ่ เพ่ือสบู น้ำภายในพน้ื ที่ออกทงิ้ ไปในช่วงเวลาที่
ระดับน้ำภายนอกมีระดบั สูงอีกด้วย
2. การขุดลอกหนองบึง ในหลวงได้พระราชทานพระราชดำริวา่ “ควรสำรวจหาหนองนำ้ ธรรมชาติ
เพือ่ ดำเนินการปรับปรุง ใหส้ ามารถเก็บสำรองน้ำฝนไดต้ ลอดทัง้ ปี จะได้เป็นแหล่งเกบ็ น้ำสำหรบั การเพาะปลูก
การอุปโภคบรโิ ภคและการประมง” “ในท้องท่ซี ง่ึ มหี นองและบึงนน้ั หนองและบงึ จะเก็บกักนำ้ ในฤดนู ำ้ หลาก
ทำให้มีนำ้ ใชใ้ นยามหน้าแลง้ เหมอื นกบั อ่างเก็บนำ้ ตามธรรมชาติที่มีอยแู่ ล้ว เมื่อหนองบึงอยใู่ นสภาพตนื้ เขิน
จนใช้การไม่ไดด้ ังแต่ก่อน และพนื้ ที่หลายส่วนถกู ยดึ ครองไปโดยไมเ่ ป็นธรรม ผลสดุ ทา้ ยความทุกข์ยาก
เนือ่ งขากการขาดแคลนนำ้ ของชุมชนนน้ั จะต้องเกิดขึน้ การบูรณะฟน้ื ฟูแหล่งน้ำตามธรรมชาติต่างๆ ท่ีต้นื
เขิน โดยการขุดลอกพัฒนาแหล่งนำ้ เหล่านัน้ อยา่ งสมำ่ เสมอ เพ่ือสามารถเก็บกักน้ำไดม้ ากขึ้น
3. การขุดสระเก็บน้ำ ตามทฤษฎใี หม่ สระเกบ็ น้ำเปน็ แหลง่ เก็บนำ้ ฝน นำ้ ทา่ หรอื น้ำทีไ่ หลออกมา
จากดิน ทำไดโ้ ดยการขุดดนิ ใหเ้ ป็นสระสำหรบั เก็บขังนำ้ ซง่ึ สว่ นใหญม่ ักเปน็ สระทมี่ ีความจุน้อย นิยมสรา้ งใน
ท้องที่ซง่ึ ไม่มแี หลง่ นำ้ ธรรมชาติ หรือทอ้ งท่ที ี่ไม่เอ้อื อำนวยให้ทำการก่อสร้างอา่ งเก็บน้ำ เมอ่ื ขุดสระเก็บน้ำ
แล้ว ย่อมสามารถเกบ็ ขังน้ำที่มีมากในฤดูฝนเอาไวไ้ ดจ้ นกระทั่งเมื่อถึงฤดูแล้ง กส็ ามารถนำน้ำในสระมาใช้
อุปโภคบรโิ ภคและทำการเกษตรผสมผสานไดเ้ ป็นอยา่ งดี
4. ฝนหลวง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงริเรม่ิ ข้นึ เพื่อแก้ปญั หาภัยแล้ง ฝนท้งิ ช่วงและฝนไมต่ ก
ในพื้นท่ีเกษตรกรต้องการ ภายหลงั ยังชว่ ยบรรเทาปญั หาไฟป่าและหมอกควันปกคลุม หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ
คือ สำนกั ฝนหลวงและการบนิ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หากมปี ญั หาดงั กลา่ วขา้ งตน้ สามารถ
ประสานขอฝนหลวงผา่ นทางสำนักงานเกษตรและสหกรณ์อำเภอ หรือ ทสี่ นามบนิ จ.แพร่ และ สนามบนิ จ.
เชียงใหม่
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทัย 58 ภมู ิปัญญาไทย : การอย่กู ับสายน้ำ
ค. การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ทางนำ้
ทฤษฎีและวธิ ีการทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั พระราชทานพระราชดำริใหด้ ำเนินการเพ่ือแก้ไข
ปัญหามลพิษทางนำ้ ประกอบด้วย
1. นำ้ ดไี ล่น้ำเสยี คอื การทำใหเ้ จือจางโดยใชน้ ้ำคุณภาพดีช่วยบรรเทาน้ำเนา่ เสยี เปน็ การนำระบบ
การเคลอื่ นไหวของน้ำตามธรรมชาตมิ าจัดระเบยี บแบบแผนข้นึ ใหม่ นบั เป็นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติใน
เชิงอนุรกั ษ์ ควบคู่ไปกบั การพฒั นาท่เี รียบง่ายอย่างได้ผลดี โดยให้ใชน้ ้ำทมี่ ีคณุ ภาพดจี ากแมน่ ้ำหรือแหลง่ นำ้
ภายนอกสง่ เข้าไปยงั แหล่งนำ้ ของชุมชนภายในเมืองตามคลองตา่ งๆ หรือแหล่งทน่ี ำ้ เสยี เพื่อให้น้ำดจี ากแมน่ ้ำ
ช่วยผลกั ดนั และเจอื จางนำ้ เน่าเสียออกจากแล่งชมุ ชนต่างๆ
2. กังหันนำ้ ชยั พฒั นา เปน็ การบำบดั น้ำเนา่ เสียดว้ ยระบบการเติมอากาศ กงั หันนำ้ ชัยพัฒนา หรือ
เคร่ืองกลเตมิ อากาศท่ีผิวนำ้ หมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอย เปน็ อุปกรณ์บำบัดนำ้ เสยี ชนดิ หนึง่ มีลักษณะการทำงานคล้าย
กังหนั วิดนำ้ ข้นึ เหนือผวิ น้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหลง่ นำ้ เกดิ ข้นึ ในช่วงทปี่ ระเทศไทยเริม่ เผชิญ
ปญั หาน้ำเสยี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงศกึ ษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึน้ เม่ือ พ.ศ.2531
แลว้ ทรงมอบหมายมูลนิธิชยั พัฒนาศึกษาวจิ ยั เพื่อทำตน้ แบบพร้อมสนับสนนุ งบประมาณใหก้ รมชลประทาน
สรา้ ง นำไปใชง้ านตามแหลง่ นำ้ เสียทว่ั ประเทศ กรมทรัพยส์ ินทางปญั ญาได้ทลู เกลา้ ฯ ถวายการจดสิทธบิ ตั ร
การประดิษฐเ์ ลขท่ี 3127 และองคก์ รนักประดษิ ฐ์โลกจากประเทศเบลเย่ียมไดท้ ลู เกล้าถวายรางวัลในฐานะที่
ทรงสรา้ งนวตั กรรมท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการรักษาสิง่ แวดลอ้ ม(สามารถศึกษารายละเอยี ดแบบการทำไดท้ ่ี
http://job.haii.or.th/wiki84new/index.php/ค-เคร่ืองกลเตมิ อากาศ)
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 59 ภมู ปิ ญั ญาไทย : การอยูก่ บั สายนำ้
3. การบำบดั น้ำเน่าเสยี โดยวธิ ีธรรมชาติ เช่น การบำบัดน้ำเสยี ดว้ ยระบบพนื้ ที่ช่มุ น้ำเทียม การบำบดั
นำ้ เสยี ดว้ ยระบบหญ้ากรองน้ำเสยี โดยการปลูกกกธูป
4. การกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา ผกั ตบชวามีคุณสมบัติในการดดู สารพษิ สารเคมีและโลหะหนกั ท่ี
อยูใ่ นน้ำได้ดี โดยปลูกผักตบชวาในคอกไม้ที่กั้นขวานลำน้ำเป็นระยะ และผักตบชวาเหลา่ นจ้ี ะถูกเก็บขน้ึ เปน็
ครัง้ คราวเพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน์ คือ ทำปุ๋ย หรอื เช้อื เพลงิ ตามความเหมาะสม ผกั ตบชวาเปน็ เสมอื น “ไต
ธรรมชาต”ิ ที่ทำหน้าที่เก็บกักนำ้ และฟอกน้ำเสยี
จากแนวทาง “ศาสตร์ของในหลวง” ใน “การอยู่กับสายน้ำ” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงทุ่มเท
กำลงั พระวรกายตลอดจนกำลังพระราชหฤทัยเพ่ือทรงหาวธิ ีการปอ้ งกนั และแก้ไขมาตลอดระยะเวลา 65 ปี
แหง่ การครองราชย์ ซ่ึงเป็นประโยชนอ์ ย่างย่งิ ต่อประชาชนทจ่ี ะนำมาปรบั ใช้ เพ่ือท่ีจะได้ อยูก่ บั สายนำ้ ได้
อยา่ งปกติสุข
ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น กบั การอยกู่ ับสายน้ำ จากกรณีศึกษาในพ้นื ที่
จากเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นร้ขู องชาวบ้านท่อี าศยั อยู่รมิ น้ำ 3 สายสำคัญของสุโขทยั คือ แม่นำ้ ยม ลำน้ำ
แม่มอก และคลองแม่รำพนั ได้คน้ พบ ภมู ิปญั ญาแบบชาวบา้ น ท่ีเกิดจากการเรียนรู้ การสงั่ สมประสบการณ์
จากท่ีพบเหตุการณ์จรงิ และการถ่ายทอดองค์ความรจู้ ากรุ่นสรู่ ุน่ ที่นา่ สนใจและเปน็ ประโยชน์ ในการนำมาใช้
ประยกุ ต์ใช้ ต่อยอด เพ่ือท่จี ะอย่กู บั สายน้ำ ในยุคปจั จุบนั ไดอ้ ยา่ งปกติสุข ดงั นี้
สภาพปัจจุบนั ของสายน้ำเป็นอยา่ งไร
- แมน่ ้ำยม
ปัจจุบันแม่น้ำยมแคบลง ต้ืนเขินผู้คนเร่ิมเยอะข้ึน ผู้คนเร่ิมย้ายมาอยู่อาศัยบนบกวิถีชีวิตจะไม่อยู่กับ
สายน้ำ มีการสร้างบ้านเรือนแถบริมแม่น้ำมากข้ึนโดยเฉพาะบ้านชั้นเดียว มีการทำถนนเลียบริมแม่น้ำ คลอง
ต่าง ๆ แปรสภาพเป็นถนน ผู้คนเริ่มใช้น้ำประปา ไม่ใช้น้ำในแม่น้ำในการอุปโภค/บริโภค การจับปลาก็มี
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทยั 60 ภมู ปิ ญั ญาไทย : การอยู่กบั สายน้ำ
นอ้ ยลงและจะจับปลาเพื่อการค้าไม่ใช่สำหรับการบรโิ ภค เมื่อมนี ้ำมามากถนนกน้ั น้ำไม่มีคคู ลองสำหรบั ระบาย
นำ้ น้ำจงึ ท่วมหนักโดยเฉพาะในปี 49 ซึ่งถอื ว่าน้ำท่วมสูงท่ีสุดสำหรับหมู่บา้ นคลองน้ำหัก น้ำจะทว่ มประมาณ
อก ข้าวของเสียหายมากบ้านช้ันเดยี วท่วมแทบมิดหลังคา อาชพี หลักจะทำนาและรับจา้ งก่อสรา้ งเป็นส่วนใหญ่
ในฤดูแล้งนำ้ กจ็ ะแห้งและไม่มีปลาชุกชมุ เหมือนสมัยก่อน
- ลำน้ำแมม่ อก
รัฐโดยกรมชลประทานไดเ้ ปลี่ยนฝายนำ้ ลน้ ธรรมชาตเิ ปน็ ประตูนำ้ ทำใหล้ ำนำ้ หัวฝายแคบลง มี
ตน้ หญ้าขึน้ บรเิ วณริมตล่งิ ทั้ง 2 ขา้ ง นำ้ ในลำน้ำแห้งขอด เมอ่ื มีประตูนำ้ ทำใหก้ ารเพ่ิมลดของน้ำเปลย่ี นแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ชาวบา้ นประสบกับปัญหาตล่ิงพัง ดินทรดุ ตัวอยา่ งรวดเร็ว การใช้พื้นทส่ี าธารณะบรเิ วณประตูน้ำ
น้ำในลำน้ำตืน้ เขนิ ไมส่ ามารถใช้น้ำได้ นำ้ มีกลน่ิ เหม็นจากการปลอ่ ยของเสียจากบา้ นเรือนลงส่ลู ำน้ำ สารเคมี
ในการทำนาไหลลงสลู่ ำน้ำ เมื่อนำ้ หลากมาประตนู ้ำเปิด-ปิดไม่ทัน ทำให้เกิดน้ำทว่ มเสยี หายหนัก ปัจจุบัน
ชาวบ้านไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์จากลำน้ำแมม่ อกเพราะลำนำ้ มนี ้ำนอ้ ย และมลี ักษะแคบลง ชาวบ้านจึงใชป้ ระโยชน์
จากฝายเป็นส่วนใหญ่
- คลองแม่รำพัน
ปจั จบุ นั แม่น้ำแคบลง ฤดแู ล้งนำ้ น้อย เน่อื งจากชาวบา้ นทำการเกษตรมากขน้ึ และทำหลายคร้งั มาก
ข้ึนตอ่ ปี มีประตนู ้ำ มีการใชน้ ้ำคลองแม่รำพนั ในการทำการเกษตร 3 คร้ัง ตอ่ ปี ชาวบา้ นไมไ่ ด้ใชป้ ระโยชนจ์ าก
คลองแมร่ ำพนั ในการอุปโภค/บริโภค เพราะมีน้ำประปา น้ำตามสระตา่ ง ๆ กเ็ ลกิ ใช้ เน่อื งจากนำ้ สกปรก
เพราะเปน็ น้ำขังไมม่ ีการระบายน้ำออกเหมือนสมยั ก่อน ในส่วนของการทำการเกษตรชาวบา้ นตน้ คลองแม่
รำพันจะสบู น้ำเพื่อใชท้ ำนา ทำใหบ้ างช่วงมนี ้ำแห้ง ซงึ่ ในปัจจุบันทำนากนั ปีละ 3 หน นำ้ จึงไม่พอสำหรับใชใ้ น
การเกษตร มีการปล่อยน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือน ลงลำน้ำแม่รำพันทำใหน้ ำ้ เน่าเหม็นและมีการสรา้ งอาคาร
บ้านเรอื นท้ังของเอกชนและของรฐั รุกล้ำเขา้ ไปในลำน้ำ
สภาพปัจจุบันของสายน้ำ กรณศี ึกษาแยกตามพ้ืนที่
ตำบลวังไมข้ อน อำเภอสวรรคโลก จ.สโุ ขทยั ปัจจบุ นั แมน่ ำ้ ยมแคบลง ผู้คนเริม่ เยอะขน้ึ มี
การสร้างบา้ นเรือนแถบริมแม่นำ้ มากข้ึนโดยเฉพาะบา้ นช้ันเดียว มกี ารทำถนนเลยี บริมแม่น้ำ คลองตา่ ง ๆ แปร
สภาพเปน็ ถนน ผคู้ นเรม่ิ ใชน้ ำ้ ประปา ไมใ่ ชน้ ำ้ ในแม่น้ำในการอุปโภค/บริโภค การจบั ปลากม็ ีน้อยลงและจะจับ
ปลาเพื่อการค้าไม่ใช่สำหรบั การบรโิ ภค เม่อื มีน้ำมามากถนนกั้นนำ้ ไมม่ ีคคู ลองสำหรบั ระบายน้ำ นำ้ จึงท่วม
หนกั โดยเฉพาะในปี 49 ซ่ึงถอื ว่าน้ำทว่ มสงู ทส่ี ดุ สำหรับหมู่บา้ นคลองนำ้ หกั นำ้ จะทว่ มประมาณอก ข้าวของ
เสยี หายมากบ้านชน้ั เดยี วท่วมแทบมิดหลงั คา
ตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลี่ยม จ.สโุ ขทัย รัฐโดยกรมชลประทานไดเ้ ปล่ียนฝายน้ำล้นธรรมชาตเิ ปน็
ประตูน้ำ ทำให้ลำน้ำหัวฝายแคบลง มตี น้ หญ้าข้ึนบริเวณรมิ ตล่งิ ทัง้ 2 ขา้ ง น้ำในลำนำ้ แม่มอกแห้งขอด เม่ือมี
ประตูนำ้ ทำให้การเพมิ่ ลดของนำ้ เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ชาวบ้านประสบกับปญั หาตล่ิงพัง ดินทรดุ ตวั อย่าง
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทยั 61 ภมู ิปญั ญาไทย : การอย่กู บั สายน้ำ
รวดเร็ว การใชพ้ น้ื ท่สี าธารณะบริเวณประตูน้ำ นำ้ ในลำน้ำตื้นเขินไมส่ ามารถใชน้ ้ำได้ นำ้ มีกล่นิ เหม็นจากการ
ปล่อยของเสยี จากบ้านเรือนลงสู่ลำน้ำ สารเคมีในการทำนาไหลลงสู่ลำนำ้ เม่ือนำ้ หลากมาประตูน้ำเปิด-ปิดไม่
ทัน ทำให้เกดิ น้ำท่วมเสยี หายหนัก
ตำบลกงไกรลาศ อำเภอกงไกรลาศ จ.สโุ ขทยั ปัจจุบันแม่นำ้ ยมแคบลง ตื้นเขนิ ผู้คนเร่มิ ยา้ ย
มาอยู่อาศยั บนบกวิถชี ีวติ จะไมอ่ ยู่กับสายน้ำ อาชีพหลกั จะทำนาและรบั จ้างก่อสร้างเป็นส่วนใหญ่ ในฤดแู ล้ง
นำ้ ก็จะแห้งและไมม่ ีปลาชุกชุมเหมอื นสมัยก่อน
ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมือง จ.สโุ ขทัย ปจั จบุ ันไมไ่ ดใ้ ช้ประโยชน์จากคลองแมร่ ำพนั ในการ
อุปโภค/บรโิ ภค เพราะมีนำ้ ประปา น้ำตามสระตา่ ง ๆ กเ็ ลิกใช้ เนอื่ งจากน้ำสกปรก เพราะเป็นน้ำขงั ไม่มีการ
ระบายน้ำออกเหมือนสมยั ก่อน ในสว่ นของการทำการเกษตรชาวบา้ นตน้ คลองแมร่ ำพันจะสบู นำ้ เพ่ือใช้ทำนา
ทำให้บางชว่ งมีน้ำแห้ง ซ่ึงในปัจจบุ นั ทำนากนั ปีละ 3 หน น้ำจงึ ไม่พอสำหรบั ใช้ในการเกษตร มกี ารปล่อยน้ำ
เสียจากอาคารบ้านเรอื น ลงลำนำ้ แมร่ ำพนั ทำให้น้ำเน่าเหม็นและมกี ารสรา้ งอาคารบา้ นเรอื นท้ังของเอกชนและ
ของรฐั รกุ ลำ้ เข้าไปในลำนำ้
ตำบลบ้านไร่ อำเภอศรีสำโรง จ.สโุ ขทยั ปจั จุบันแมน่ ้ำฝากระดาน (แมม่ อก) แคบลง ฤดแู ลง้ น้ำ
น้อย เนือ่ งจากชาวบา้ นทำการเกษตรมากข้ึนและทำหลายครั้งมากขน้ึ ต่อปี มปี ระตนู ำ้ ท่ีบ้านบ่งุ สกั และท่ีหมู่ 4
บา้ นไร่ ช่วงเดอื น มนี าคม ถึงเดอื น กรกฎาคม มีกำนนั เป็นผู้ติดตามและวิง่ นำ้ เพ่ือให้นำ้ เตม็ คลอง มีการทำ
การเกษตร 3 คร้ัง ต่อปี
การปรับตัว กับสภาพสายนำ้ ปจั จบุ ัน
- แมน่ ำ้ ยม
หลังเกิดน้ำท่วมหนัก ในปี 2549 ชาวบ้านบริเวณรมิ แม่น้ำเริ่มดีดบ้านให้สูงข้ึน ยกปลั๊กไฟให้สูง และ
ใต้ถุนบ้านจะไม่ไว้ของที่เสียหาย บางรายย้ายไปอยู่ท่ีอ่ืน บรเิ วณวัดริมน้ำก็ถมดินให้สูง มีการเตรียมโต๊ะใหญ่ ๆ
ไว้ให้ชาวบ้านยืมเวลาน้ำท่วม ชาวบ้านเริ่มต่ืนตัวและเตรียมตัวมากข้ึน คือ เม่ือรับฟังข่าวสารมาว่าน้ำกำลังจะ
มา ก็จะเตรียมเกบ็ ข้าวของให้อยู่บนท่ีสูง เตรียมซ้ืออาหารแห้งมากักตุน เรม่ิ ซื้อเรือเป็นสมบตั ิส่วนตวั ในส่วน
ของพืชสวนเม่ือถูกน้ำท่วมตายก็จะรบี ปลูกทดแทนใหม่ บางคนท่ีพอมีเงินก็จะสรา้ งบ้านหลังท่ีสองไว้เตรียมถ้า
น้ำท่วมเมื่อไรก็จะย้ายไปอยู่บ้านหลังที่สองท่ีน้ำไม่ท่วม หน่วยงานของรัฐเร่ิมเข้ามาช่วยเหลือชาวบ้านมากข้ึน
ทงั้ เสริมถนนให้สงู ให้ความร้แู ละบทบาทหนา้ ที่อาสาสมัครกบั ผู้คนในหม่บู า้ นเพื่อให้ช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั
- ลำน้ำแม่มอก
มีการต้ังเครือข่ายเฝ้าระวังน้ำท่วม และชาวบ้านได้รวมตัวกันเรียกร้องให้เปล่ียนจากประตูน้ำเป็น
ฝายน้ำลน้ ดงั เดมิ เพ่ือคนื สมดลุ ใหก้ ับลำนำ้
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 62 ภมู ปิ ัญญาไทย : การอยู่กบั สายน้ำ
- คลองแม่รำพัน
มีการรวมกลุ่มกันเพ่ือฟื้นคืนชีวิตให้กับลำน้ำแม่รำพัน ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้เหมือน
สมัยก่อนและเรียกร้องให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงสระตระพังทอง-ตระพังเงิน ให้สามารถนำน้ำมาใช้ในการ
ผลิตประปาได้ ปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ดีขึ้น หลังเกิดน้ำท่วมหนัก ที่นาเสียหายแต่บ้านเรือนไม่เสียหาย
สามารถเข้า-ออกมาซ้ือเครื่องอุปโภค-บริโภค มีการเตือนภัยจากหอกระจายข่าวจากหมู่บ้าน โทรทัศน์ ผู้นำใน
ชุมชนวิ่งดูเฝ้าระวัง มีการปรับเปล่ียนพันธ์ุข้าวให้เหมาะสมกับสภาพน้ำท่ีเปล่ียนไป และต้องทำนาเพ่ิมมากขึ้น
เน่อื งจากมคี วามตอ้ งการและมีคา่ ใชจ้ า่ ยในครวั เรอื นมากข้ึน ท้ังการทำมาหากนิ และอุปกรณ์ทำการเกษตร
การปรับตัว กับสภาพสายน้ำปัจจุบนั กรณศี กึ ษาแยกตามพื้นที่
ตำบลวังไม้ขอน อำเภอสวรรคโลก จ.สโุ ขทยั หลังเกิดนำ้ ท่วมหนัก ผคู้ นบา้ นคลองนำ้ หักเรมิ่
เตรียมตัวมากข้นึ คือ เมอื่ รับฟงั ขา่ วสารมาว่านำ้ กำลังจะมา ก็จะเตรียมเก็บข้าวของให้อย่บู นท่ีสงู เตรียมซอ้ื
อาหารแหง้ มากักตุง เร่ิมซ้ือเรือเปน็ สมบัติส่วนตัว ในส่วนของพชื สวนเม่ือถูกนำ้ ทว่ มตายกจ็ ะรีบปลกู ทดแทน
ใหม่ บางคนที่พอมเี งินก็จะสรา้ งบา้ นหลงั ทส่ี องไว้เตรยี มถ้าน้ำท่วมเมื่อไรกจ็ ะย้ายไปอย่บู า้ นหลงั ท่ีสองทีน่ ้ำไม่
ท่วม
หน่วยงานของรัฐเริ่มเขา้ มาชว่ ยเหลอื ชาวบา้ นมากข้นึ ทั้งเสริมถนนให้สงู ให้ความรแู้ ละบทบาทหนา้ ท่ี
อาสาสมัครกบั ผคู้ นในหมู่บา้ นเพ่ือให้ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน
ตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลีย่ ม จ.สุโขทัย มีการตง้ั เครือข่ายเฝ้าระวังนำ้ ทว่ ม และชาวบา้ นได้
รวมตวั กนั เรยี กรอ้ งใหเ้ ปลย่ี นจากประตูนำ้ เปน็ ฝายนำ้ ลน้ ดังเดิม เพ่ือคนื สมดุลให้กบั ลำน้ำ
ตำบลกงไกรลาศ อำเภอกงไกรลาศ จ.สุโขทยั หลงั เกดิ น้ำท่วมหนัก ในปี 2549 ชาวบา้ น
บรเิ วณริมแมน่ ำ้ เร่ิมดีดบา้ นให้สูงขึน้ ยกปล๊ักไฟใหส้ งู และใต้ถนุ บ้านจะไม่ไว้ของที่เสียหาย บางรายย้ายไปอยู่ท่ี
อื่น บริเวณวดั ริมนำ้ ก็ถมดินใหส้ ูง มีการเตรยี มโตะ๊ ใหญ่ ๆ ไวใ้ หช้ าวบา้ นยืมเวลานำ้ ทว่ ม
ตำบลเมอื งเก่า อำเภอเมือง จ.สโุ ขทัย มกี ารรวมกลมุ่ กันเพ่ือฟน้ื คนื ชีวิตให้กบั ลำน้ำแมร่ ำพนั ให้
สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ได้เหมือนสมัยก่อนและเรียกร้องให้หนว่ ยงานของรัฐปรบั ปรุงสระตระพงั ทอง-ตระพัง
เงิน ใหส้ ามารถนำนำ้ มาใชใ้ นการผลติ ประปาได้ ปรับปรงุ คุณภาพนำ้ ใหด้ ีขน้ึ
ตำบลบ้านไร่ อำเภอศรสี ำโรง จ.สโุ ขทัย หลงั เกิดนำ้ ท่วมหนัก ทนี่ าเสยี หายแตบ่ า้ นเรือนไม่
เสยี หาย สามารถเข้า-ออกมาซือ้ เครื่องอุปโภค-บรโิ ภค มีการเตอื นภยั จากหอกระจายข่าวจากหมบู่ า้ น โทรทัศน์
ผู้นำในชมุ ชนว่งิ ดเู ฝา้ ระวัง มีการปรับเปลี่ยนพนั ธ์ุขา้ วใหเ้ หมาะสมกบั สภาพน้ำท่ีเปลย่ี นไป และต้องทำนาเพิม่
มากข้ึนเน่ืองจากมีความต้องการและมคี ่าใชจ้ ่ายในครัวเรือนมากขึน้ ทัง้ การทำมาหากินและอุปกรณ์ทำ
การเกษตร
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 63 ภมู ปิ ัญญาไทย : การอยกู่ ับสายน้ำ
องค์ความรู้จากศาสตรข์ องในหลวง และภมู ิปัญญาชาวบ้านของผคู้ นทอี่ าศยั อย่รู ิมฝง่ั ลำน้ำ ในการท่ีจะ
อยู่กบั สายน้ำ อย่างปกตสิ ุขและยงั่ ยนื เป็นองค์ความรูท้ สี่ ามารถนำมาใช้ประโยชน์ หากมีการศกึ ษาจนมี
ความรู้และเขา้ ใจ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการบริหารจัดการนำ้ การอยกู่ บั สายน้ำ เพื่อทจ่ี ะดำเนินชีวิต
อย่างปกตสิ ขุ ต่อไป
------------------------------------------------------------------
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 64 ภูมปิ ญั ญาไทย : การอยกู่ ับสายน้ำ
กจิ กรรมทา้ ยบท
1. ใหผ้ ้เู รยี นอธิบายถึงการ “ปลูกปา่ โดยไมต่ ้องปลกู ” ตามพระราชดำริของในหลวง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. Check Dam หมายถงึ อะไร และมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทยั 65 ภูมปิ ัญญาไทย : การอยู่กับสายนำ้
3. พระราชดำรทิ เ่ี ป็นแนวทางบริหารจัดการนำ้ ท่วม ประกอบด้วยอะไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. พระราชดำริใหด้ ำเนนิ การแกไ้ ขปญั หามลพิษทางน้ำ มีอะไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทยั 66 ภมู ปิ ญั ญาไทย : การอย่กู ับสายน้ำ
5. ผเู้ รียนจะมวี ธิ กี ารบรหิ ารจัดการกับแหล่งน้ำใหม้ ีน้ำไวอ้ ุปโภค-บริโภคโดยวธิ ีใดบ้าง จงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….…..…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…..………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 67 ภูมิปญั ญาไทย : การอยกู่ บั สายน้ำ
แบบทดสอบหลังเรียน
1. การสร้างเมืองในสมยั สโุ ขทัยโบราณ เลอื กสร้างในพ้นื ทใ่ี ด
ก. บนสองฝง่ั แม่น้ำ ข. บนพื้นทร่ี าบลุม่
ค. พ้ืนทล่ี านตะพกั ลำน้ำ ง. ถูกทุกข้อ
2. ตามหลกั ศลิ าจารึกสุโขทยั คำวา่ สรดี ภงศ์ หมายความว่าอยา่ งไร
ก. ลำน้ำ,แมน่ ำ้ ข. เขอื่ น
ค. หนอง,บึง ง. ทะเลสาบ
3. ชุมชนแรกของเมืองสุโขทัยโบราณ ค้นพบที่ใด
ก. วดั ตระพงั ทอง ข. วัดมหาธาตุ
ค. วัดช้างล้อม ง. วดั พระพายหลวง
4. ห้วยแมโ่ จน มีสายน้ำใดไหลผา่ น ข. ลำนำ้ ยม
ก. ลำน้ำแมม่ อก ง. คลองแมส่ ลา
ค. ลำน้ำแม่รำพัน
5. การสร้างเมืองสุโขทัยที่มีกำแพงเมืองสลบั กบั คนู ำ้ ล้อมรอบ 3 ชน้ั เรยี กว่าอะไร
ก. กำแพงเมอื ง ข. ตรีบรู
ค. พนังก้ันน้ำ ง. สรีดภงศ์
6. แมน่ ้ำยมในอดตี มีสภาพเป็นเชน่ ไร ข. แคบและตน้ื
ก. กวา้ งและลกึ ง. กวา้ งและตื้น
ค. แคบและลกึ
7. ในชว่ งฤดแู ล้งของแม่น้ำยม เมื่อสมยั ก่อน 30 ปีท่ผี า่ นมา ชาวบ้านมวี ธิ กี ารกักเกบ็ น้ำไว้ใช้อปุ โภคอย่างไร
ก. เอาข้าวสารแลกน้ำไวใ้ ช้ ข. ทำบอ่ ทรายเพอื่ ใช้
ค. ใส่โอง่ ใหญก่ ักตุนไว้ ง. ซ้ือน้ำจากชาวมอญมาไวบ้ ริโภค
8. ในชว่ งฤดูน้ำหลากของลำน้ำแมม่ อก พนั ธุข์ า้ วที่ใชใ้ นการปลูกคือพนั ธ์อุ ะไร
ก. ขา้ วนาปรัง ข. ขา้ วนาปรัง,ขา้ งนาปี
ค. ข้าวฟางลอย,ข้าวนาปี ง. ข้าวพันธ์ุผสม
9. พนื้ ที่ตำบลเมืองเกา่ ในอดตี ใช้น้ำในการอุปโภค-บรโิ ภคจากแหล่งใด
ก. คลอง,สระ ข. แม่นำ้ ยม
ค. เขื่อน,ประตูน้ำ ง. สระตระพังทอง-ตระพังเงิน
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สุโขทัย 68 ภมู ปิ ัญญาไทย : การอยู่กบั สายนำ้
10. ชาวบา้ นกลางดงใชน้ ้ำจากแหลง่ ใดในการทำนา
ก. อา่ งเก็บนำ้ แม่มอก ข. ฝายนำ้ ล้น
ค. คลองแมส่ ลา ง. คลองแมร่ ำพัน
11. โรงเรยี นธรรมชาตแิ ห่งแรกของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ได้ทรงศึกษาเรอื่ งอะไร
ก. น้ำและดนิ ข. น้ำและอากาศ
ค. ดินและแรธ่ าตุ ง. ดินและอากาศ
12. ข้อใดคอื หลักการสำคัญในการจดั การพนื้ ท่ที ำกนิ ตามแนวเกษตร “ทฤษฎีใหม่”
ก. 30:10:20:40 ข. 10:40:50:0
ค. 30:30:30:30 ง. 30:30:30:10
13. ในการแบ่งพื้นทตี่ ามแนวเกษตร “ทฤษฎีใหม่” 10% คือสว่ นของอะไร
ก. บ่อน้ำ ข. ท่ีอยอู่ าศัย
ค. แปลงปลูกผัก ง. ที่ว่างเปลา่
14. การบำบัดน้ำเสยี ตามแนวพระราชดำรมิ วี ธิ กี าร 2 อยา่ ง คอื วิธอี ะไร
ก. วธิ กี ารทางชีวภาพ และวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ข. วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ และวธิ ีการทางกลศาสตร์
ค. วธิ ีการทางชวี ภาพ และวิธกี ารทางกลศาสตร์ ง. วิธีการทางชวี ภาพ และวธิ กี ารทางธรรมชาติ
15. น้ำเสียถกู ยกขึ้นมากระจายสมั ผัสกับอากาศตกลงไปยงั ผิวน้ำ จะทำให้เกดิ ฟองอากาศจมตามลงไป
ก่อให้เกิดการถา่ ยทอดออกซเิ จนเกิดจากเคร่ืองมอื ชนดิ ใด
ก. กงั หันน้ำทนุ่ ลอย ข. กังหันนำ้ ชัยพัฒนา
ค. กงั หนั น้ำพลังลม ง. กงั หันน้ำทุ่นจม
16.ข้อใดตอ่ ไป ไมใ่ ช่ การอนุรักษ์น้ำ ข. การปลูกป่า
ก. การพฒั นาแหลง่ น้ำ ง. Wet Fire Brake
ค. การขดุ บ่อบาดาล
17. “การขดุ คลองสายใหม่หรือช่องทางระบายน้ำอุทกภยั เพ่ือเปน็ ทางระบายเชื่อมต่อลำน้ำทีม่ ปี ญั หาน้ำทว่ ม
ผนั น้ำที่ลน้ ตล่ิงใหไ้ หลไปลงลำน้ำสายอื่นหรอื ระบายออกสทู่ ะเล” คือการแกไ้ ขปญั หาน้ำท่วมและภัยแลง้
รปู แบบใด
ก. การสร้างคนั ก้นั นำ้ ข. การสร้างทางผนั นำ้
ค. การปรับปรุงสภาพลำนำ้ ง. การระบายนำ้ ออกจากพ้นื ทีล่ มุ่
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 69 ภมู ิปัญญาไทย : การอยกู่ ับสายนำ้
18. การแก้ไขปัญหามลพิษทางน้ำขอ้ ใดถือวา่ เปน็ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตใิ นเชิงอนรุ ักษ์
ก. การใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพ ข. กังหันนำ้ ชัยพัฒนา
ค. การกำจัดขยะมลู ฝอย ง. นำ้ ดไี ลน่ ้ำเสยี
19. ขอ้ ใดต่อไปนี้ท่ี ไมใ่ ช่ สายนำ้ ทส่ี ำคญั ของสุโขทัย
ก. คลองคึกฤทธิ์ ข. แม่นำ้ ยม
ค. ลำน้ำแมม่ อก ง. คลองแม่รำพัน
20. ข้อใดต่อไป ไมใ่ ช่ การปรับตัวเขา้ กบั สภาพปัญหาน้ำในการดำเนินชวี ติ ปัจจบุ ัน
ก. การปรับปรุงบ้านตนเองเพือ่ รองรับภาวะนำ้ ท่วม ยกบา้ นใหส้ ูง ถมดนิ ขุดสระเก็บกักนำ้
ข. การขุดบ่อน้ำบาดาลมาใช้ในภาคการเกษตรและครัวเรือนแทนการใชน้ ำ้ บนผวิ ดิน
ค. ตดิ ตามใส่ใจขา่ วสารและวเิ คราะหส์ ถานการณน์ ้ำอยูต่ ลอดเวลา
ง. มีการปรับเปล่ยี นหมนุ เวียนปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาลและคำนึงถึงสว่ นรวมมากกว่าสว่ นตัว
------------------------------------------------------------
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทัย 70 ภูมปิ ญั ญาไทย : การอยกู่ ับสายนำ้
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
1. ค
2. ข
3. ง
4. ค
5. ข
6. ก
7. ข
8. ค
9. ง
10. ก
11. ก
12. ง
13. ข
14. ค
15. ข
16. ค
17. ข
18. ง
19. ก
20. ข
กศน.อำเภอศรสี ำโรง สโุ ขทยั 71 ภมู ิปญั ญาไทย : การอยูก่ บั สายน้ำ