The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.63 - 31 มี.ค.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.63 - 31 มี.ค.64

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.63 - 31 มี.ค.64





คำนำ

ภายหลังการปรับเปลี่ยนโครงสรางสวนราชการ ตามการปฏิรูประบบราชการเมื่อป พ.ศ. 2545
ภารกิจทีเ่ ก่ียวของกบั การอนมุ ตั ิจำนวนลูกจางประจำของสวนราชการไดถูกถายโอนมาอยูในความรับผดิ ชอบ
ของสำนักงาน ก.พ. ซึ่งสำ นักงาน ก.พ. ก็ไดนำ เรื่องระบบลูกจางสัญญาจางมาดำ เนินการตอ โดยไดนำ
ผลงานวิจยั เร่อื งการจา งงานระบบใหมใ นหนวยงานภาครฐั ท่เี นนใหม ีรูปแบบการจา งงานทม่ี คี วามหลากหลาย
และยืดหยุน ซ่ึงมีขอเสนอใหม ี “ระบบสัญญาจา ง” เปนกลไกรองรับมาประกอบการพจิ ารณาวางระบบรวมท้ัง
ขยายผลใหม ีความหลากหลายของรปู แบบการจา งงานในสวนของการจางผทู รงคุณวฒุ หิ รอื ผูเช่ียวชาญทั้งชาว
ไทยและตา งประเทศ ท้งั นไ้ี ดเ ปล่ยี นชอื่ “ลูกจางสัญญาจา ง” เปน “พนกั งานราชการ” เพือ่ ใหด งึ ดดู ใจและแสดง
สถานะที่ชัดเจน ตลอดจนการวางระบบบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวของตั้งแตเรื่องการกำหนดลักษณะงาน
ตำแหนง และกรอบอัตรากำ ลงั การกำหนดคา ตอบแทนและสิทธิประโยชน การสรรหาและเลือกสรร และการ
ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ภายใตหลักการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สำคัญคือหลักสมรรถนะ(Competency)
หลักผลงาน(Performance) และหลักคุณธรรม (Merit) รวมทั้งเปนการบริหารภาครัฐแนวใหมที่จะมอบ
อำนาจใหสวนราชการบริหารจัดการเองและเพื่อใหสอดคลองกับการบริหารภาครฐั แนวใหม ดังนั้น ระเบียบ
หลักเกณฑแ ละวิธกี ารตา ง ๆ จึงไดก ำหนดไวอ ยา งกวา งๆ ภายใตแนวทางทจี่ ะใหสว นราชการมีความอิสระและ
ยืดหยนุ (Freedom and Flexibility)

สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านพนักงานราชการเลม น้ี เปน การสรุปผลการดำเนินงานของ กศน.ตำบลตลงิ่ ชนั
ตามบทบาทภารกจิ ของครู กศน.ตำบล และเปน แนวทางการปฏิบัตงิ านที่เก่ยี วขอ ง สามารถขับเคลือ่ น
กิจกรรมหลักของ กศน.ตำบล เพื่อสง เสรมิ การเรียนรตู ลอดชีวติ ของประชาชนในชุมชนท่เี ปน รปู ธรรมอยางมี
ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผลตอ ประชาชนใหม ากทสี่ ุด

สมชาย นาโตนด
เมษายน 2564



สารบญั

เรื่อง หนา

คำนำ ก

สารบัญ ข

ประวตั สิ ว นตัว ค

บทท่ี 1 บทนำ

- ประวัติ กศน.ตำบล 1

- ปรัชญา วิสัยทศั น เอกลักษณ อตั ลักษณ 1

- แนวทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล 2

- บทบาทหนา ท่แี ละความรับผดิ ชอบ 5

บทท่ี 2 ผลการดำเนนิ งาน 6

ตัวชว้ี ัดที่ 1 : จำนวนขอมลู ในระบบฐานขอมลู เพื่อการบรหิ ารจดั การ (DMIS) 6
ตัวชี้วัดท่ี 2 : ระดบั ความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบตั ิการ กศน. ตำบล/แขวง 7
ตวั ช้ีวดั ที่ 3 : จำนวนผูเขา รวมกิจกรรมการศกึ ษาตอ เน่อื ง เมอื่ เทียบกับเปาหมาย 8
ตัวช้ีวัดท่ี 4 : รอ ยละของผจู บหลกั สตู รการศกึ ษาตอ เนอื่ งทีน่ าความรไู ปใช
เมือ่ เทยี บกบั เปาหมายตัวชวี้ ัดท่ี 9 : จำนวนผรู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย 9
ตวั ช้วี ัดท่ี 5 : จำนวนผูรบั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย 13
ตัวชี้วดั ที่ 6 : จำนวนกจิ กรรมท่ีจดั ในแหลง เรยี นรู บา นหนงั สือชมุ ชน
เม่ือเทียบกับเปา หมาย 14
ตัวชวี้ ัดท่ี 7 : ระดบั ความสำเร็จของการมีสว นรว มกับภาคีเครือขา ยในชุมชน 15
ตัวชีว้ ดั ท่ี 8 : จำนวนงานตามนโยบายเรงดวน หรืองานอ่ืน ๆ ท่ีไดร บั มอบหมาย 16
ตัวชวี้ ดั ที่ 9 : ระดับความสำเร็จในการจัดทาผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี (Best Practice) 20
บทท่ี 3 สรุปผล ขอเสนอแนะ

สรุปผล 26

ขอเสนอแนะ 28

ภาคผนวก 31

เว็บไซด



ประวัติสวนตวั

ชื่อ นายสมชาย นาโตนด
เกดิ วนั พฤหสั บดีที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2518 อายุ 46 ป
ทอ่ี ยู บานเลขที่ 147/1 หมทู ่ี 1 บานหนองไมกอง ตำบลหนองหญา ปลอง อำเภอบา นดา นลานหอย
จงั หวัดสโุ ขทัย รหัสไปรษณี 64140 เบอรโ ทร 0910274071
อเี มลล : [email protected] เวบ็ ไซด : http://sukho.nfe.go.th/bdh07/index.php
ยูทูป : https://www.youtube.com/channel/UCKNeWCQZHrJC-ifNyssnvgw
ตำแหนง ครู กศน.ตำบลตล่งิ ชนั
เริม่ ปฏิบัติงานตง้ั แตวนั ท่ี 10 มกราคม 2554 จนถงึ ปจจุบัน
ความสามารถ คอมพิวเตอร กฬี า
คตใิ นการทำงาน ศาสตรพ ระราชา
หลกั ธรรมในการทำงาน คิดบวก ชีวติ กบ็ วก

1
บทที่ 1
บทนำ
ประวตั ิ กศน.ตำบล
ตามหนงั สอื สำนกั งาน กศน. ท่ี ศธ 0210.02/3267 ลงวันท่ี 4 กนั ยายน 2552 เร่อื ง การดำเนินงาน
กศน. ตำบล สานกั งาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) ไดส่งั การ ใหผ ูอำนวยการสานักงาน
กศน. จังหวัด ทุกจังหวัด และผูอำนวยการสานักงาน กศน. กทม. ดำเนินการปรับศูนยการเรียนชุมชนในทกุ
ตำบลใหเปน กศน. ตำบล ศูนยก ารเรยี นชมุ ชนตำบลตลิง่ ชนั ประกาศจดั ตัง้ ใหเ ปน กศน.ตำบลตลง่ิ ชนั โดยผูวา
ราชการจังหวดั นายจกั รนิ เปล่ยี นวงษ เมื่อวนั ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใหการดำเนนิ งานจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตำบลตลิ่งชัน เปนผูประสานกับผูเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งภาครัฐ
เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูนำชุมชน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมี
ประสทิ ธภิ าพ ประชาชนไดร ับผลประโยชนโดยมเี ปา หมายสงู สดุ คือคนไทยไดเ รยี นรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ
พิธีเปด กศน.ตำบลตล่งิ ชัน เมื่อวันศุกรท ่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2553 โดยมี นายสมชาย ไขส ุวรรณ นายอำเภอบาน
ดานลานหอย เปน ประธานในพิธีเปด

แผนทที่ ่ตี ้งั กศน.ตำบลตล่ิงชัน
ปรัชญา

“คิดเปน เนน วิถีพอเพยี ง”
วสิ ยั ทัศน

ภายในป 2564 กศน.อำเภอบา นดานลานหอย มุงเนนการจัดและสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหกับกลมุ เปาหมายอยางทวั่ ถงึ และเสมอภาคอยางมีคุณภาพ
เอกลักษณ

ภูมิปญ ญาทองถ่นิ
อัตลักษณ

อยอู ยางพอเพียง

2

แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล
แนวทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล ซึ่งจะมีการปรับบทบาทภารกิจใหสอดคลองกับนโยบาย

รัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการเปนประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใตการขับเคลื่อนการ
ดำเนินงาน 4 ศูนยเรียนรู ประกอบดว ย

1 ศูนยเรียนรูหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจำตำบล เปนศูนยกลางการ
สง เสริม จดั กระบวนการเรียนรู และหนวยประสานงานแหลง เรียนรหู ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชมุ ชน
ดำเนินงานรวมกับกองอำนวยการรักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.)

2 ศูนยส งเสริมและพัฒนาประชาธปิ ไตยประจำตำบล เพอ่ื สรางการเรยี นรแู ละความเขาใจที่ถูกตอง
เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและ
หนาท่ใี นระบอบประชาธิปไตย บูรณาการความรวมมือกบั คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และภาคประชา
สงั คม

3 ศูนยดิจิทัลชุมชน ซึ่งบริหารจัดการฐานขอมลู ทีจ่ ำเปนสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อใหม ีความรู
และรบั รูท่เี ทาทนั ปรับตัวใหส อดคลอ งกบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลกยุคดิจทิ ัล

4 ศนู ยการศึกษาตลอดชวี ิตชมุ ชน เพ่อื สงเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาในระบบการศกึ ษา นอก
ระบบการศกึ ษา และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหม คี ุณภาพทส่ี อดคลองกบั นโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชน
เปนฐานในการดำเนนิ งาน โดย กศน.ตำบล มบี ทบาทเปนผูประสานงานและอำนวยความสะดวก
12 นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรูใหทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของโลกใน
ศตวรรษท่ี 21 โดยมงุ พัฒนาผูเ รียนทุกระดับการศึกษาใหม ีความรู ทักษะและคุณลกั ษณะท่เี หมาะสมกับบริบท
สงั คมไทย

2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธภิ าพครูและอาจารยในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานและอาชีวศึกษา
ใหมีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อใหค รูและอาจารยใดรับการพัฒนาใหมีสมรรถนะทั้งดานการจัดการ
เรยี นรู ดวยภาษาและดจิ ทิ ลั สามารถปรับวธิ ีการเรียนการสอนและการใชส ื่อทนั สมยั และมีความรับผดิ ชอบตอ
ผลลัพธทางการศกึ ษาท่เี กิดกับผูเรยี น

3. การปฏิรูปการเรียนรูดวยดิจิทัลฝานแพลตฟอรมการเรียนรดู วยดิจิทัลแหงชาติ (NDLP) และการ
สงเสริมการฝกทักษะดิจิทลั ในชีวติ ประจำวัน เพื่อใหมหี นว ยงานรับผิดชอบพฒั นาแพลตฟอรมการเรียนรูดว ย
ดิจิทัลแหงชาติ ที่สามารถนำไปใชในกระบวนการจัดการเรียนรูที่ทันสมัยและเขาถึงแหลงเรียนรูไดอยาง
กวางขวางผานระบบออนไลน และการนำฐานขอมูลกลางทางการศึกษามาใชประโยชนในการพัฒนา
ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

4. การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจัดการศกึ ษา โดยการสง เสริมสนับสนุนสถานศึกษาใหม ี
ความเปนอิสระและคลองตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใชจังหวัดเปน ฐาน โดย
อาศยั อำนาจตามกฎหมายการศกึ ษาแหง ชาติท่ีไดรบั การปรับปรุงเพือ่ กำหนดใหม ีระบบบริหารและการจัดการ
รวมถึงการจดั โครงสรางหนว ยงานใหเ อื้อตอการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ สถานศึกษาใหมีความเปน
อสิ ระและคลองตัว การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาโดยใชจงั หวดั เปนฐาน มรี ะบบการบริหารงานบคุ คลโดยยดึ
หลกั ธรรมาภบิ าล

3

5. ปรับระบบการประเมนิ ผลการศกึ ษาและการประกนั คุณภาพ พรอ มจดั ทดสอบวัดความรู และทกั ษะ
ท่ีจำเปนในการศกึ ษาตอ ระดับอุดมศกึ ษาทัง้ สายวชิ าการและสายวิชาชีพ เพื่อใหร ะบบการประเมินผลการศกึ ษา
ทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ไดรับการปรับปรุงใหทันสมัย ตอบสนองผลลัพธทางการ
ศกึ ษาไดอ ยา งเหมาะสม

6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรใหทั่วถึงทุกกลุมเปาหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากรทาง
การศึกษาจากความรวมมอื ทกุ ภาคสว น เพื่อใหการจดั สรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเปนธรรมและสราง
โอกาสใหกลุมเปาหมายไดเ ขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุม อื่น ๆ กระจายทรัพยากรทั้งบุคลากรทาง
การศกึ ษา งบประมาณและสอ่ื เทคโนโลยีไดอยางทั่วถึง

7. การนำกรอบคุณวฒุ ิแหง ชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอา งองิ อาเซยี น (AQRF) สูการปฏิบตั ิ เปนการ
ผลิตและการพัฒนากำลังคนเพ่อื การพัฒนาประเทศ โดยใชกรอบคุณวฒุ ิแหง ชาติ เชื่อมโยงระบบการศกึ ษาและ
การอาชีพ โดยใชก ลไกการเทยี บโอนประสบการณด วยธนาคารหนวยกิตและการจดั ทำมาตรฐานอาชีพในสาขา
ท่ีสามารถอางองิ อาเซยี นได

8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาเพื่อพัฒนารา งกาย จิตใจ
วินัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย เพื่อเปนการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวยั
ตามพระราชบญั ญัติการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. 2562 สกู ารปฏบิ ัตเิ ปน รูปธรรม โดยหนวยงานที่เก่ียวของนำไป
เปน กรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัย และมีการตดิ ตามความกาวหนาเปน ระยะ

9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เพื่อใหผูจบการศึกษา
ระดบั ปริญญาและอาชีวศกึ ษามอี าชีพและรายไดทเ่ี หมาะสมกบั การดำรงชีพและคณุ ภาพชีวติ ที่ดีมสี ว นชวยเพ่ิม
ขีดความสามารถในการแขง ขนั ในเวทโี ลกได

10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยดวยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในการจัด
การศกึ ษาทกุ ระดับการศกึ ษา เพ่ือใหสถาบนั การศกึ ษาทุกแหงนำนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ที นั สมยั มาใชใ นการ
จดั การศกึ ษาผานระบบดิจิทัล

11. การเพิ่มโอกาสและการเขาถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของกลุมผูดอยโอกาสทางการศึกษา และ
ผูเรียนที่มีความตองการจำเปนพิเศษ เพื่อเปนการเพิ่มโอกาสและการเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลมุ
ผดู อ ยโอกาสทางการศึกษา และผเู รยี นท่มี คี วามตอ งการจำเปน พิเศษ

12. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั โดยยดึ หลกั การเรียนรตู ลอดชีวิตและการ
มสี วนรวมของผมู ีสวนเกยี่ วขอ ง เพอ่ื เพ่ิมโอกาสและการเขาถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพของกลุมผูดอยโอกาสทาง
การศึกษาและผเู รยี นทมี่ ีความตองการจำเปนพิเศษ

7 วาระเรงดวน (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
วาระที่ 1 เรื่องความปลอดภัยของผูเรียน โดยจัดใหมีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล

ชวยเหลือนักเรยี น เพอื่ ใหผ เู รียนเกดิ การเรยี นรูอยางมคี ุณภาพ มคี วามสุข และไดรบั การปกปอ งคุมครองความ
ปลอดภัยทั้งดานรางกายและจิตใจ รวมถึงการสรางทักษะใหผ ูเรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัย
อนั ตรายตาง ๆ ทา มกลางสภาพแวดลอมทางสงั คม

วาระที่ 2 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุงเนนการจัดการเรียนรูที่หลากหลายโดยยึดความสามารถของ
ผเู รยี นเปนหลัก และพฒั นาผูเรยี นใหเ กิดสมรรถนะท่ีตอ งการ

4

วาระที่ 3 Big Data พัฒนาการจัดเกบ็ ขอมูลอยางเปนระบบและไมซ้ำซอน เพื่อใหไดขอมูลภาพรวม
การศกึ ษาของประเทศทม่ี ีความครบถวน สมบรู ณ ถกู ตอ งเปน ปจจุบัน และสามารถนำมาใชประโยชนไดอยาง
แทจ รงิ

วาระที่ 4 ขับเคลื่อนศูนยความเปนเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ
ดำเนินงานของศูนยความเปนเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเลิศของแตละ
สถานศึกษาและตามบริบทของพืน้ ที่ สอดคลองกบั ความตองการของประปจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการ
จัดการเรียนการสอนดว ยเครื่องมือท่ีทันสมัย สอดคลองกับเทคโนโลยปี จจบุ ัน

วาระที่ 5 พัฒนาทกั ษะทางอาชีพ สงเสริมการจัดการศึกษาที่เนน พฒั นาทกั ษะอาชีพของผูเรียน เพ่ือ
พฒั นาคุณภาพชีวติ สรางอาชพี และรายไดทเี่ หมาะสม และเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ

วาระท่ี 6 การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรตู ลอดชวี ิตสำหรับประชาชนทกุ ชวงวยั ใหมีคุณภาพและ
มาตรฐาน ประซาชนในแตล ะชว งวยั ไดรบั การศึกษาตามความตอ งการอยางมมี าตรฐาน เหมาะสมและเต็มตาม
ศักยภาพตัง้ แตวัยเดก็ จนถงึ วัยชรา และพฒั นาหลักสตู รทเ่ี หมาะสมเพื่อเตรียมความพรอ มในการเขาสูส ังคม
ผสู งู วยั

วาระที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับผูที่มคี วามตอ งการจำเปนพิเศษ สงเสริมการจดั การศึกษาใหผูที่มี
ความตองการจำเปน พิเศษไดรับการพัฒนาอยางเตม็ ศกั ยภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมอยา งมีเกยี รติ ศักดิ์ศรี
เทา เทียมกบั ผูอน่ื ในสงั คม สามารถชว ยเหลือตนเองและมสี วนรว มในการพัฒนาประเทศ

ภารกิจสำคัญท่ดี ำเนนิ การอยา งตอ เนื่องเพอื่ ใหเ กิดผลสัมฤทธใิ์ นทุกมิติ คอื การขับเคลือ่ น กศน. สู
“กศน.WOW (6G)” ปงบประมาณ 2563 ไดแ ก

1. Good Teacher การพัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและ
เรียนรู โดยจะดำเนนิ การเกลี่ยเพ่ิมอัตราตำแหนง การสรรหา บรรจุ แตงตัง้ ขาราชการครู กศน. จำนวน 891
อัตรา เพือ่ ให กศน. อำเภอมบี ุคลากรที่จะมาชว ยกันขับเคลอ่ื นงานไดอยา งเต็มประสทิ ธภิ าพ

2. Good Place โดยพฒั นา กศน. ตำบล ใหม ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู ซึง่ จะ
เปน การยกระดับให กศน.ตำบล, หองสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”, ศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. ใหเปน
แหลงเรียนรทู ที่ ันสมยั มคี ณุ ภาพตอบสนองตอการเรียนรูของประชาชนทุกชวงวัย

3. Good Activities สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูทีท่ ันสมัยและมีประสิทธิภาพ อาทิ การปรับ
หลักสูตรการจดั การศึกษาอาชพี หลกั สูตรลูกเสอื มคั คุเทศก และพฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน

4. Good Partnership การเสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย โดยใหมีความรวมมือจัดทำ
ทำเนียบภูมิปญ ญาทองถิ่น และสงเสริมภูมปิ ญ ญาสกู ารจดั การเรียนรูชมุ ชน

5. Good Innovation การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาและ
กลุมเปาหมาย โดยใหจดั ตั้งศูนยใหคำปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ brand กศน. รวมทั้งการสรางชอ งทางจดั
จำหนายไปยงั สถานีจำหนายนำ้ มัน

6. Good Learning การจัดต้งั ศูนยก ารเรียนรทู ุกชว งวยั ซึ่งตองมีการจดั เตรียมขอ มลู และประสานงาน
เบอ้ื งตน โดยผูบรหิ าร กศน. ทัง้ สวนกลางและสว นภูมภิ าค ตองชวยกันขบั เคล่ือนภารกิจสำคัญตาง ๆ ไปสูการ
ปฏิบัติ และชวยกันถายทอดความเขาใจไปสูเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน พรอมทั้งดูแลและสนับสนุนใหเกิด
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลตอ ไป

5

บทบาทหนา ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ
ครู กศน.ตำบล
1. ภารกิจหลกั จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนและกจิ กรรมการเรยี นรูตามภารกิจเฉพาะ
กลมุ เปาหมายและพื้นที่
2. สง เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การเรียนรู

1) สำรวจ รวบรวม วเิ คราะหข อ มูลกลุมเปา หมายและขอ มูลบรบิ ทของชุมชนในตำบลท่รี บั ผิดชอบตาม
รูปแบบการวางแผนจลุ ภาคอยางมีคุณภาพ

2) วางแผนการจัดการเรยี นการสอนและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
3) สง เสรมิ สนับสนุน ประสานการทำงาน จดั กิจกรรมการเรยี นรรู วมกบั ภาคเี ครอื ขา ย
4) ใหบรกิ ารขอ มลู ขา วสารชุมชนและภาคีเครอื ขาย
5) พัฒนาตนเอง พฒั นาส่อื พัฒนาแหลง เรียนรู เพ่อื ใหส ามารถจดั การเรียนรูไดอยา งเหมาะสม
6) ปฏบิ ตั ิงานรว มกบั ครู ศรช. ครูอาสาสมัคร กศน. บรรณารกั ษ วิทยากร ครสู อนเสริมภูมปิ ญญา

อาสาสมัครสงเสรมิ การอาน ฯลฯ
7) ทำหนำ้ ท่เี ลขานุการคณะกรรมการ กศน. ตำบล
8) ปฏิบัติหนา ทอี่ ่ืน ๆ ตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย

6

บทที่ 2
ผลการดำเนนิ งาน

ตัวชี้วดั ที่ 1 : จำนวนขอมูลในระบบฐานขอมูลเพื่อการบรหิ ารจัดการ (DMIS)
รายการฐานขอ มูลที่ตองบนั ทึกในระบบฐานขอมูลเพือ่ การบรหิ ารจดั การ (DMIS)
1. ขอมลู สถานที่ตัง้ และลักษณะพ้ืนทต่ี ัง้
2. พกิ ัดตำแหนง
3. ขอมลู บคุ ลากร
4. ช่ือและเบอรตดิ ตอ ของหวั หนา กศน. ตำบล/แขวง
5. ลิงค เวบ็ ไซต หรอื Fanpage กศน. ตำบล/แขวง
6. ขอ มลู สาธารณูปโภค (ไฟฟา นาประปา) โทรศัพท และอินเทอรเ น็ต
7. จำนวนคอมพวิ เตอร โทรทัศน และอุปกรณส ำนกั งานตาง ๆ
8. จำนวนผูใ ชค อมพวิ เตอร/ ผใู ชอ นิ เทอรเน็ต/ ผูใช Wi-Fi เฉล่ียตอวัน
9. จำนวนผเู ขา รับบริการที่ กศน. ตำบล/แขวง เฉลยี่ ตอเดอื น
10. รูปภาพของครู กศน.ตำบล/แขวง
11. คณะกรรมการ กศน. ตำบล/แขวง
12. มกี ารรายงานขอมูลพ้ืนฐานใหค รบถวน และเปนปจจบุ นั

รายการฐานขอมูลที่บันทึกในระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) กศน.ตำบลตลิ่งชันมี
ขอมลู 12 รายการ ไดร ะดับคะแนน 5 คะแนน

7
ตัวชี้วัดที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการจดั ทำแผนปฏิบัตกิ าร กศน. ตำบล/แขวง

การดำเนนิ งานในการจัดทำแผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตำบล สอดคลองกบั แผนปฏิบัตริ าชการของ
หนวยงาน พิจารณาจากความถูกตองครบถวนของขอมูลท่บี รรลุผลตามคาเปา หมายที่กำหนดไว และจัดทำแผน
ในระบบ DMIS มกี ารประเมนิ สรุป และรายงานผล และจดั ทำแผนในระบบ DMIS

การดำเนนิ งานในการจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล สอดคลอ งกบั แผนปฏิบตั ริ าชการของ
หนวยงาน พจิ ารณาจากความถูกตองครบถวนของขอ มลู ที่บรรลุผลตามคา เปา หมายท่ีกำหนดไว และจัดทำแผน
ในระบบ DMIS มกี ารประเมนิ สรปุ และรายงานผล และจัดทำแผนในระบบ DMIS และแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.
ตำบลตลิ่งชัน งบประมาณป 2564 โดยการทำคำรับรองปฏิบัติราชการกับ ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบาน
ดา นลานหอย และมีการรายงานผลในระบบ DMIS ครบถว นทกุ กิจกรรม ไดร ะดับคะแนน 5 คะแนน

8

ตัวช้ีวดั ที่ 3 : จำนวนผเู ขารว มกิจกรรมการศึกษาตอ เนอ่ื ง เม่อื เทียบกบั เปาหมาย

จำนวนผูเขา รว มกิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน การจดั กระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีผลการดำเนนิ งานบรรลตุ ามเปา หมาย/ มีผลการดำเนนิ งานเกนิ กวา เปา หมายตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำป
ของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รบั ผดิ ชอบ
ผลการดำเนินงาน
ลำดับที่ กิจกรรม คาเปา หมาย ผลการดำเนินงาน
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี 36 44
2 การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ 20 21
3 การศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชมุ ชน 14 20
4 การจดั กระบวนการเรียนรตู ามหลักปรชั ญา 8 10
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รวม 78 95
รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ไตรมาสท่ี 1 - 2 ของ นายสมชาย นาโตนด ประเภท ขา ราชการพลเรอื น ตำแหนง
ครู กศน.ตำบล ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 (DMIS)

จำนวนผเู ขา รวมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคา
เปาหมายที่กำหนดไวรวมทัง้ หมด จำนวน 78 คน กศน.ตำบล มีผลการดำเนินงานเกนิ กวาเปาหมายตาม
แผนปฏิบัติการประจำปของหนว ยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รับผิดชอบ จำนวนเปาหมาท่ีเขารวม
กิจกรรมทั้งสิ้น 95 คน มีผลการดำเนินงานตามเปาหมาย 4 กิจกรรม และเกินกวาเปาหมายมากกวา 4
กจิ กรรม ไดร ะดับคะแนน 5 คะแนน

9

ตัวชวี้ ัดท่ี 4 : รอยละของผูจบหลกั สตู รการศกึ ษาตอเน่อื งทน่ี าความรูไปใช เมอ่ื เทยี บกับเปา หมาย

จำนวนผูจ บหลกั สูตร/กิจกรรมในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ
การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน การจดั กระบวนการเรยี นรูตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีนำความรู
ไปใช มีผลการดำเนินงานบรรลุตามเปาหมาย/ มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการ
ประจำปข องหนวยงาน/สถานศกึ ษาท่ี ครู กศน. ตำบล ท่รี บั ผิดชอบ
ผลการดำเนินงาน คาเปาหมาย ผลการดำเนินงาน
ลำดับที่ หลักสตู ร
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี 36 44
(รอ ยละของผจู บหลกั สตู รทีน่ ำความรูไปใช
ลดรายจา ย/ เพิ่มรายได/ ตอ ยอดอาชีพเดมิ /
เพม่ิ มลู คา)
2 การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต 20 21
(รอยละของผจู บหลักสตู รท่ีนำความรไู ปใช
ในการพฒั นาตนเอง)
3 การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน 14 20
(รอยละของผจู บหลกั สูตรทีน่ ำความรูไ ปใช
ในการพัฒนาชมุ ชนและสงั คม)
4 การจัดกระบวนการเรยี นรูตามหลกั ปรัชญา 8 10
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 78 95
(รอยละของผจู บหลกั สูตรทนี่ ำความรไู ปใช
ในชีวติ ประจำวันไดอ ยา งเหมาะสม)
รวม

10
จัดการศึกษาตอเนื่องรูปแบบการฝกอบรมประชาชน (การเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง) หลักสูตรการปลูกพชื ผักปลอดภยั จำนวน 12 ชั่วโมง ใหกับประชาชนตำบลตลิง่ ชัน อำเภอบา น
ดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย สถานที่จัด ณ บานวังหาด หมูที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบานดานลานหอย
จังหวัดสุโขทัย ในระหวางวันที่ 23 - 24 เดือนมกราคม พ.ศ.2564 มีผูเรียน จำนวน 10 คน โดยมี นาย
สุรยิ า หนานนะ เปนวทิ ยากร

จดั การศึกษาตอเนื่อง หลกั สูตรทักษะการเลน กฬี าฟตุ บอลหลักสตู ร12 ชวั่ โมง ณ เทศบาลตำบลตลง่ิ ชนั
ตำบลตล่งิ ชนั อำเภอบานดา นลานหอย จังหวัดสุโขทัย ระหวางวนั ที่ 30 - 31 เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 มี
ผเู รยี น 21 คน

จดั การศกึ ษาตอ เนือ่ งรูปแบบการฝกอบรมประชาชน (การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน) หลกั สูตร
การทองเทยี่ วเชิงเกษตร จำนวน 12 ชว่ั โมง ระหวางวนั ที่ 5 - 6 ก.พ.64

11
จัดการศกึ ษาตอเนือ่ งรูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ หลักสตู รการยอ มผาฝายดว ยดินและสีธรรมชาติ จำนวน
35 ชั่วโมง มีผูเรียน จำนวน 15 คน โดยมี นางจุม สมหารวงศ เปนวทิ ยากร ระหวา งวนั ที่ 11 - 17 เดือน
กมุ ภาพันธ พ.ศ.2564 ณ บา นวงั หาด หมทู ่ี 2 ตำบลตล่ิงชัน อำเภอบานดา นลานหอย จังหวดั สโุ ขทยั

จดั การศกึ ษาตอ เนื่องรปู แบบอาชีพระยะสั้นหลกั สูตรการทำอาหารโคเนอ้ื จำนวน 10 ชัว่ โมง ชั่วโมง
มีผูเรียน จำนวน 9 คน โดยมี นายพยุง อิ่มพิทักษ เปนวิทยากร ณ บานวังหาด หมูที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน
อำเภอบานดานลานหอย จังหวดั สโุ ขทยั ในระหวางวนั ที่ 20 - 21 เดอื นกมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2564

จัดกจิ กรรมรปู แบบกจิ กรรมศนู ยฝ กอาชพี ชุมชน อาชีพระยะสัน้ (ไมเกนิ 30 ชม.) หลกั สูตรการทำขาว
เกรยี บปลานิล จำนวน 15 ช่ัวโมง (ศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชนอาชพี ระยะส้นั ) ระหวา งวนั ท่ี 5-7 มีนาคม 2564 โดย
มีผูเ ขารว มกจิ กรรม จำนวน 6 คน ณ หมทู ่ี 2 บานวงั หาด ตำบลตลิ่งชัน

12
หลักสูตรการปลูกพืชเกษตรปลอดภัย จำนวน 45 ชั่วโมง ระหวางวันที่ 19 เดือน มีนาคม พ.ศ.
2564 ถงึ วนั ท่ี 27 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564

หลกั สตู รการทำเจลลางมือ จำนวน 3 ช่ัวโมง ระหวางวนั ท่ี 13 มนี าคม พ.ศ.2564 สถานทจ่ี ดั
ณ บานวงั หาด หมทู ่ี 2 ตำบลตล่ิงชนั อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสโุ ขทยั

จำนวนผจู บหลักสูตร/กิจกรรมในการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพ นำไปสรา งรายไดเ สริจำนวน 38
คน เพิ่มโอกาสในการเรียนรู จำนวน 6 คน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สามารถเพิ่มโอกาสในการ
เรยี นรู จำนวน 21 คน การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน นำไปสรา งรายไดเ สริม จำนวน 20 คน การจดั
กระบวนการเรยี นรูตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสรา งรายไดเสรมิ จำนวน 10 คน กลมุ เปาหมาย
ที่นำความรูไปใช มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป ครู กศน. ตำบล ท่ี
รับผดิ ชอบ มผี ูจบหลกั สตู ร จำนวน 95 คน จากเปาหมาย 78 คน และสามารถนำความรไู ปใชในการดำเนิน
ชวี ติ รอยละ 90 ขึน้ ไป ไดร ะดบั คะแนน 5 คะแนน

13

ตวั ช้วี ัดที่ 5 : จำนวนผูรบั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั

จำนวนผูรบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เมือ่ เทียบกับเปา หมายการดำเนินงานโครงการ/
กจิ กรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจำปข องหนว ยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/แขวงรบั ผิดชอบ โดยให
สำนกั งาน กศน. จงั หวัดรว มกบั กศน. อำเภอเปน ผูกำหนดคา เปา หมายตามแผนใหครู กศน. ตำบล แตล ะคน
ผลการดำเนินงาน
คา ผลการ
ลำดับ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ดำเนนิ งาน
ท่ี ตามแผน (คน)

(คน)
1 กจิ กรรมสงเสริมการอาน (กศน.ตำบล/ศนู ยก ารเรียนชมุ ชน) 150 160
2 บา นหนังสอื ชุมชน
-สง เสรมิ การอา น 100 300
-มอบส่อื หนงั สือ 2 แหง 2 แหง
3 แหลงเรยี นรูพิพิธภณั ฑโ บราณคดีบา นวังหาด เรยี นรโู บราณวัตถุยคุ กอ น 20 41
ประวัตศิ าสตร 3 เรอื่ ง
4 สงเสริมการเรยี นรูภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ การถายคลิปภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ 3 เรือ่ ง 41
5 สงเสริมการเรียนรเู สน ทางทองเท่ียวโดยชุมชน 20 5 เร่ือง
ยุคกอ นประวัติศาสตร บา นวังหาด
6 บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั ผานชองทางระบบ 5 เรือ่ ง
https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141

7 บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัยผา นชองทางระบบ 5 คลปิ 27 คลิป
https://www.youtube.com/user/somchai0506/videos

8. ออกหนว ยบริการจงั หวัดเคล่ือนท่ี เพอ่ื บริการประชาชน 100 200

จำนวนผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย เม่อื เทียบกับเปา หมายการดำเนินงานโครงการ/
กจิ กรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปข องหนว ยงาน/สถานศกึ ษาที่ ครู กศน. ตำบล กำหนดไว 150 คน ซงึ่ มี
ผลการดำเนินงานเกินกวา เปาหมายตามแผนปฏบิ ัติการประจำป ครู กศน. ตำบล ท่ีรบั ผิดชอบ มีเปา หมาย
จำนวน 600 คน มีผลการดำเนินงานตามเปาหมาย 3 โครงการ/กจิ กรรม และเกินกวาเปาหมาย
มากกวา 2 โครงการ/กจิ กรรม ไดร ะดบั คะแนน 5 คะแนน

14

ตัวชว้ี ัดท่ี 6 : จำนวนกิจกรรมท่จี ัดในแหลง เรยี นรู บา นหนงั สอื ชุมชน เมื่อเทยี บกับเปาหมาย

จำนวนกิจกรรมในแหลงเรียนรู บานหนังสือชุมชนที่ดำเนินการเพื่อสงเสรมิ การเรียนรูที่สัมพันธกับ
แหลงเรียนรูแกป ระชาชน เมื่อเทียบกบั เปาหมายการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน/
สถานศึกษาที่ครู กศน. ตำบล/แขวงรับผิดชอบ โดยใหสำนักงาน กศน. จังหวัด รวมกับ กศน.อำเภอ เปนผู
กำหนดคาเปาหมายตามแผนใหครู กศน. ตำบลแตล ะคน
คา ผลการ
ลำดับ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ดำเนินงาน
ท่ี ตามแผน (คน)

(คน)
1 กจิ กรรมสงเสริมการอาน (กศน.ตำบล/ศูนยก ารเรยี นชุมชน) 150 160
2 บานหนังสอื ชุมชน
-สง เสรมิ การอาน 100 300
-มอบสือ่ หนังสอื 2 แหง 2 แหง
3 แหลงเรียนรูพพิ ธิ ภัณฑโ บราณคดบี า นวงั หาด เรียนรโู บราณวตั ถยุ ุคกอน 20 41
ประวัติศาสตร
4 สง เสรมิ การเรยี นรภู มู ิปญ ญาทองถ่ิน การถายคลปิ ภมู ิปญญาทอ งถ่ิน 3 เรือ่ ง 3 เร่อื ง
5 สง เสรมิ การเรียนรเู สน ทางทองเที่ยวโดยชุมชน 20 41

ยุคกอนประวตั ศิ าสตร บา นวงั หาด
6 บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ผานชองทางระบบ 5 เรอ่ื ง 5 เร่อื ง
https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141

7 บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ผานชองทางระบบ 5 คลิป 27 คลปิ
https://www.youtube.com/user/somchai0506/videos

8. ออกหนวยบรกิ ารจงั หวดั เคลื่อนท่ี เพอ่ื บรกิ ารประชาชน 100 200
9. บริการสอื่ หนังสอื เคลอื่ นที่ 3 คร้งั 3 ครง้ั

จำนวนกิจกรรมในแหลงเรียนรู บานหนังสือชุมชนที่ดำเนินการเพื่อสงเสริมการเรียนรูที่สัมพันธกบั
แหลงเรียนรแู กประชาชน เมือ่ เทยี บกบั เปาหมายการดำเนนิ งาน ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปข องหนวยงาน ที่
ครู กศน. ตำบล/รบั ผิดชอบ โดยใหสำนกั งาน กศน. จังหวดั รว มกับ กศน.อำเภอ เปนผูก ำหนดคา เปา หมายตาม
แผน ใหครู กศน. ตำบลแตละคน กศน.ตำบลตลิ่งชัน มีผลการดำเนินงานมากกวา 4 กิจกรรม ไดระดับ
คะแนน 5 คะแนน

15
ตัวชี้วดั ที่ 7 : ระดบั ความสำเร็จของการมสี ว นรวมกบั ภาคเี ครอื ขายในชมุ ชน

การมีสวนรวมกับภาคีเครือขายในชุมชน การเขารวมกิจกรรม การเขารวมประชุมการจัดกิจกรรม
รว มกัน การสนับสนนุ ทรพั ยากร การรว มนเิ ทศตดิ ตามผล มีผลการดำเนินงานดงั น้ี

การรวมเปนคณะกรรมการบริหารจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน กลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด
กลุมทอผาฝายยอมดิน ไดมีการรวมประชุม การรวมคิด รวมวางแผน รวมดำเนินการ รวมนิเทศติดตามผล
สงเสรมิ /สนับสนุนการจัดการศกึ ษาของภาคีเครือขาย และสนับสนุนทรัพยากรใหกบั ภาคีเครือขาย จนทำให
ชมรมฯ สามารถจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนได และกลุมเศรษฐกิจพอเพียงไดผานมาตรฐานเกษตรอินทรีย
และไดพัฒนาจดทะเบียนเปนวิสาหกจิ ชุมชน และกลุมทอผา ฝายยอ มดนิ ไดร ับรางวลั ผลติ ภณั ฑ 5 ดพี รีเม่ียม
ผานมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน (มผช)

ผลการดำเนนิ งานจากการรวมประชมุ การรวมคิด รว มวางแผน รวมดำเนนิ การ รวมนเิ ทศ ติดตามผล
สงเสรมิ /สนับสนนุ การจดั การศึกษาของภาคีเครอื ขาย และสนับสนนุ ทรัพยากรใหกับภาคีเครือขาย ไดศึกษา
เรียนรูประวัติศาสตรชุมชน วิถีชีวิตชุมชน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ซึ่งทำใหคนใน
ชุมชนสามารถรวมกลมุ กันจดั กิจกรรมตา ง ๆ ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ สามารถพึ่งตนเองให สงผลใหคุณภาพ
ชวี ติ ของคนในชุมชนดขี นึ้ ไดร ะดับคะแนน 5 คะแนน

16

ตัวชว้ี ัดที่ 8 : จำนวนงานตามนโยบายเรง ดวน หรืองานอื่น ๆ ทไ่ี ดร ับมอบหมาย

จำนวนงานตามนโยบายเรง ดว น และโครงการสำคัญประจำป อาทิ โครงการฝก อบรมหลกั สตู รการดแู ล
ผูสงู อายุ โครงการคลงั ความรู กศน. เพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ โครงการภาษาตา งประเทศเพื่อการสอื่ สารดา น
อาชพี โครงการศูนยด จิ ิทลั ชุมชน โครงการ กศน. สู กศน. WOW โครงการพเิ ศษตาง ๆ ตามนโยบายเรงดวน
นโยบายและจุดเนนของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อเทียบกับเปาหมายงานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย
หมายถึง การมอบหมายงานอืน่ ๆ นอกเหนือจากบทบาทหนา ที่ตามตำแหนง อาทิ งานพสั ดุ งานทะเบยี น ฯลฯ
สำนักงาน กศน. จงั หวดั ทีไ่ ดรบั การจัดสรรเงนิ งบประมาณตามโครงการ 1–5 ใหดำเนนิ การตามโครงการ 1–5
กอน จึงจะกำหนดโครงการอื่น ๆ เพิ่มเติมได โดยใหสำนักงาน กศน. จังหวัด รวมกับกศน. อำเภอ เปนผู
กำหนดคา เปา หมายตามแผนปฏิบตั ิการ/แผนงานของครแู ตละคน
ผลการดำเนนิ งาน
ที่ จำนวนงาน คา เปา หมาย ผลการดำเนินงาน
1 กิจกรรมปองกันภาวะซมึ เศราของผสู งู อายุ 20 คน 20 คน
2 โครงการคลงั ความรู กศน.เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชวี ิต 1 เว็บไซด 1 เว็บไซด
3 รวมประชมุ โครงการศูนยด ิจิทัลชุมชน 1 คร้ัง 1 ครั้ง
4 โครงการ กศน.สู กศน.WOW ผลิตภณั ฑ 5 ดพี รเี ม่ียม 1 ผลติ ภัณฑ รางวัลรองชนะเลิศ
5 รว มโครงการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น 1 ครั้ง 1 ครง้ั
กจิ กรรม ปองกันโรคติดตอไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) และการปอ งกันและดูแลสุขภาพจากภยั 1 วนั 1 วัน
ฝุนละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ณ 1 วัน 1 วัน
หอประชุมอำเภอบานดานลานหอย จงั หวดั สโุ ขทยั
6 รวมสำรวจพ้นื ท่ีคน พบโบราณวตั ถุ กับ ชาวบา น 2 วัน 2 วัน
จนท.สำนกั ศลิ ปากรท่ี 6 สโุ ขทยั ณ เดน ของเกา

7 รว มกิจกรรมสงเสรมิ การเรยี นรทู างวทิ ยาศาสตร ณ
ศนู ยวิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษาพิษณโุ ลก (ศว.
พษิ ณโุ ลก)

9 โครงการเสริมสรางและพัฒนาผูนำการเปลี่ยนแปลง
ตำบลตลงิ่ ชัน

10 วิทยากรแลกเปล่ยี นเรียนรูเ ทคนิคการถายวีดโี อ และ 1 วนั 1 วัน
การตดั ตอดวยโปรแกรม sony vegas
11 การอบรมนกั สือ่ ความหมาย เลาเรอื่ งวงั หาด โดย ม. 1 วัน 1 วัน
ราชภฏั พิบลู สงครามพิษณุโลก เมอ่ื วันท่ี 17
กมุ ภาพนั ธ 2564 ณ อาคารเอนกประสงคห มบู า น 3 วนั
12 การประชุมปฏบิ ัติการพฒั นาหลกั สูตรทอ งถิน่ ตามแนว 3 วัน
กรอบหลกั สตู รสุโขทยั เมอื งสรา งสรรคฯ ระหวา งวนั ท่ี
12 - 14 กุมภาพนั ธ 2564 ณ โรงแรมเทรเซอร
แอนสปา

17

ที่ จำนวนงาน คาเปาหมาย ผลการดำเนนิ งาน
13 วทิ ยากรแลกเปลย่ี นเรยี นรูกบั ชาวบา นวงั ไทรยอ ย ม. 1 วัน 1 วนั
10 ต.ตลง่ิ ชัน โครงการพัฒนาหมบู านเศรษฐกจิ 1 วัน
พอเพียง 1 วัน
14 ประชมุ สญั จร กำนัน ผใู หญบ าน และผูนำชมุ ชน เพอ่ื 1 วัน
แจงขอราชการของ กศน.ใหก บั ผูน ำในชุมชนไดร บั 1 วัน
ทราบ 1 วัน
15 นำเสนอขอ มูลเสน ทางทองเท่ยี วของชมรมการ 1 วนั 2 วนั
ทองเทยี่ วโดยชุมชนวงั หาด ใหกบั คณะครู อาจารย
และนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฎั พิบลู สงคราม เพื่อ 1 วัน
พฒั นาการดำเนินงานของการทองเทีย่ วโดยชุมชนวัง 2 วัน
หาด 1 วัน
16 กจิ กรรม เยาวชนรกั ษธ รรมชาตสิ ่ิงแวดลอม ศลิ ปะและ 1 วนั
โบราณคดีและวฒั นธรรมพ้นื บาน ณ บา นวงั หาด หมู
2 ตำบลตลง่ิ ขนั อำเภอบานดา นลานหอย จงั หวดั
สโุ ขทัย
17 รว มประชมุ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั สมาชิกสภา 1 วัน
เทศบาลและนายกเทศมนตรี เพอ่ื วางแผนการจัดการ
เลือกตงั้ สมาชกิ สภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ณ
เทศบาลตำบลตลง่ิ ชัน
18 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารศูนยดจิ ทิ ลั ชมุ ชน 2 วัน
หลกั สตู ร การใชง านโปรแกรมสำนักงานเพอ่ื สราง
โอกาสการมงี านทำระหวางวนั ที่ 27 –28 มกราคม
พ.ศ. 2564 โรงแรมสโุ ขทยั เทรเชอร รสี อรท แอนด
สปา อำเภอเมืองสโุ ขทัย จงั หวดั สโุ ขทยั
19 จัดกจิ กรรม "เรยี นรูก บั หองสมุด"จัดทำคลปิ การทำเจล 1 วนั
แอลกอฮอร ในกิจกรรมของหองสมุดชาวตลาดอำเภอ
บานดา นลานหอย
20 วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียรูกับครูๆ พัฒนาบทเรียน 2 วัน
ออนไลนดวยชุดเครือ่ งมือ g suite for education
21 รวมประชุม ทกจ.สุโขทยั นายกเทศมนตรตี ำบลตลงิ่ ชนั 1 วัน
ประธานชมรมการทอ งเที่ยวโดยชุมชนวงั หาด เพอื่ หา
แนวทางการขยายพิพิธภัณฑชุมชนบานวังหาด ณ
เทศบาลตำบลตลง่ิ ชัน เม่อื วันท่ี 12 ม.ค.64

18

ที่ จำนวนงาน คาเปา หมาย ผลการดำเนนิ งาน
22 รวมตอนรับและนำผลผลติ ของกลุมเศรษฐกิจพอเพยี ง 1 วนั 1 วัน
บานวังหาด กลมุ ทอผา ฝายบา นวังหาดจำหนายในงาน 1 วัน
เปดอางแมลำพันโดยมีพณ วราวุธ ศิลปอาชา รมต.
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และ ส่ิงแวดลอ ม 1 วัน
23 รับการตรวจมาตรฐานผกั ปลอดสาร จากเจาหนา ที่ 1 วนั 1 วัน
ศนู ยวิจยั และพฒั นาการเกษตรสโุ ขทัย สำนกั วจิ ัยและ 1 วัน
พัฒนาการเกษตรเขตท2่ี กรมวชิ าการเกษตร ตาม 1 วัน
โครงการหมบู า นเกษตรอินทรียของกรมวชิ าการเกษตร 1 วัน
เราสัญญาวาจะชวยกันปรบั เปล่ยี นมาเปน เกษตร 1 วัน
อนิ ทรียตามมาตรฐานกระทรวงเกษตรและสหกรณ
9000 เลม1-2552 (Organic Thailand).เม่ือวนั ท่ี 7
ม.ค.64
24 รว มสบื สานประเพณี " เดอื นสี่ ขา วจขี่ า วหลาม" ตรง 1 วัน
กบั 15 ค่ำ เดอื นส่ี เหนอื เปน ประเพณที ่ชี าวบานวงั
หาดทำสบื ทอดตอกนั มา โดยเชอ่ื วาเปน การนำขาว
ใหมท ไ่ี ดในปน ั้น ทำถวายพระเพอ่ื ใหเ กดิ สริ มิ งคล...29
ธ.ค.63
25 กิจกรรมปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 1 วนั
2563 ณ กศน.อำเภอบา นดานลานหอย วตั ถุประสงค
เพือ่ ชแี้ จงแนะนำเก่ียวกบั การจดั การเรยี นการสอนของ
กศน.และคัดเลอื กองคก รนกั ศกึ ษาระดบั อำเภอ
26 นำเสนอขอ มูลแหลง ศกึ ษาเรยี นรยู คุ กอนประวตั ศิ าสตร 1 วัน
ใหกับคณะครโู รงเรยี นอุดมดรุณี
27 รบั การนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งาน ตามโครงการ 1 วนั
นิเทศตดิ ตามการดำเนินงาน กศน. ดา นแผนงาน
การเงนิ การบญั ชี พัสดุ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และการ
ดำเนนิ งาน กศน.ตำบล สงั กัดสำนกั งาน กศน.จังหวัด
สโุ ขทยั
28 โครงการ ศธ.จิตอาสาบำเพ็ญประโยชน เพอ่ื นอม 1 วนั
รำลกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระ
บรมชนกาธเิ บศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรม
นาถบพิตร
29 รวมโครงการ ปราชญรว มใจ สรรคส รา งไทยเปน หนง่ึ 1 วัน
ประจำปง บประมาณ 2564 กบั กอ.รมน.สท เพือ่
ขับเคลอ่ื นงานตามนโยบายของสำนักงาน กศน. ดาน
การนอมนำพระบรมราโชบายสูกานปฏบิ ตั ิ

19

ที่ จำนวนงาน คา เปา หมาย ผลการดำเนินงาน
30 รวมสำรวจเตาถลุงเหล็กกับ นายธีระศักดิ์ ธนูศิลป 1 วนั 1 วนั
นักโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ 6 นายสรวิศ ขับลำ
หัวหนาหนวยศึกษาการพฒั นาการอนุรักษต นนำ้ น้ำสิน 1 วัน 1 วนั
และเจา หนา ที่
31 รวมประชมุ กบั คณะกรรมการบรหิ ารชมรมการ
ทองเท่ียวโดยชุมชนวังหาด - บา นดา นลานหอย
รว มกับ อพท.4 เพอื่ วางแผนพฒั นาการทอ งเท่ียวโดย
ชมุ ชน
32 รว มโครงการสัมมนา เรอ่ื ง การบรหิ ารกจิ การ 1 วนั 1 วัน

สาธารณะเมอื งพเิ ศษดานประวัติศาสตรว ัฒนธรรม
จงั หวัดสโุ ขทยั
33 รวมออกหนว ยบรกิ ารจงั หวัดเคลอื่ นที่ เพื่อบริการ 1 วนั 1 วัน
ประชาชน ไดแ กก ารฝก อาชพี ระยะสนั้ การจำหนาย
สินคาของชมุ ชน นทิ รรศการการเรียนรูตามอัธยาศยั
ณ โรงเรยี นบา นลานกระบอื ต.ตลง่ิ ชัน เมื่อวันที่ 18
พ.ย.63
34 รวมตอนรบั คณะจากสำนักงานทรัยากรนำ้ ภาค 9 ใน 1 วัน 1 วัน
การเยีย่ มชมแปลงเศรษฐกจิ พอเพียง ของกลมุ
เศรษฐกจิ พอเพยี งบา นวงั หาด
35 รวมประชุมเตรยี มการจดั กจิ กรรมจงั หวัดเคลอ่ื นที่ ณ 1 วนั 1 วัน

โรงเรยี นบา นลานกระบอื เมื่อวันที่ 13 พ.ย.63
36 ทำหนาทส่ี ื่อความหมายเก่ียวกบั พิพธิ ภณั ฑโ บราณคดี 1 วนั 1 วัน
บา นวงั หาดใหก บั คณะสมาชิกวฒุ สิ ภา ตามโครงการ
สมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้นื ทีภ่ าคเหนอื 1 วัน
(ตอนลาง)
37 รว มประชมุ เตรยี มความพรอมตอนรบั คณะ สว. 1 วัน
โครงการสมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชน ณ.หองประชุม
อำเภอชนั้ 2. เม่อื วันท่ี 5 พ.ย.63
38 รว มกจิ กรรมวนั สำคัญตา ง ๆ เชนวนั ปยหมาราช 13 2 ครัง้ 2 ครั้ง

ตลุ าคม เปนตน

หมายเหตุ สามารถดูภาพกิจกรรมไดโ ดยการกด Ctre+ คลกิ ทร่ี ายการกจิ กรรม

ผลการดำเนินงาน กศน.ตำบลตลิ่งชัน ไดปฏิบัติตามนโยบายเรงดวน โครงการสำคัญ
ประจำปตาง ๆ และงานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย จำนวน 38 กิจกรรม ซึ่งไดปฏิบัติงานไดตามท่ีรับ
มอบหมายงาน 10 งานขึ้นไป และมผี ลสำเร็จตามคาเปา หมายที่ตั้งไว ไดร ะดับคะแนน 5 คะแนน

20

ตัวชี้วัดท่ี 9 : ระดบั ความสำเร็จในการจดั ทาผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี (Best Practice)
ระดบั ความสำเร็จของการดำเนินงานดานใดดา นหน่ึงทีม่ ผี ลการปฏิบัติงานที่ดสี ูงกวาเกณฑ

มาตรฐานสามารถเปนแบบอยาง
1. ชอ่ื ผลงาน งานการศกึ ษาตอ เน่อื ง จดั การศกึ ษาอาชีพเพอ่ื การมงี านทาํ อยา งยัง่ ยนื เร่ืองการพฒั นากลมุ การ
ทอผาฝา ยยอ มดิน
2. หนว ยงาน/สถานศกึ ษา กศน.ตำบลตล่ิงชนั อำเภอบา นดานลานหอย จงั หวัดสุโขทยั
3. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏิบตั ิท่ีดี นายสมชาย นาโตนด
4. ความสอดคลอง

สอดคลอ งกับนโยบายและจุดเนน การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ปง บประมาณ 2564 นโยบาย
1.3 การศึกษาตอเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อมงี านทำอยางยั่งยนื 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน
ทําอยางยง่ั ยืน
5. ทม่ี าและความสำคัญของผลงาน

สภาพสงั คมปจ จุบัน มนุษยเ ราไดรบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงในดา นตา ง ๆ เชน ดา นเศรษฐกจิ
การเมอื ง สงั คมและสิ่งแวดลอมเปน อยา งมาก ประชากรมนุษยเ พ่ิมขึน้ เร่ือย ๆ แตท รัพยากรธรรมชาติถูกใชไป
อยางรวดเร็ว และไมเพียงพอกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกมุมโลก มนุษยจึงประสบปญหาตาง ๆตามมา
มากมาย โดยเฉพาะดานการดำรงชีวิต และชีวิตความเปนอยูของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพ
เพื่อเปนการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแลว ยังมีสิ่งที่ถือวาเปนภาระหนัก คืออาหารเพื่อบริโภคประจำวันจงึ
จำเปนอยา งยง่ิ ทม่ี นษุ ยเ ราจะตองสรางขึน้ หรือมาทดแทนโดยวธิ กี ารตาง ๆ เพื่อการอยรู อดการพัฒนาหลักสูตร
อาชีพ จัดทำขึ้นโดยทำการศึกษา สำรวจ และวางแนวทางการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน การพัฒนา
เกษตรกร และการพัฒนาดา นการจดั การแบบบรู ณาการโดยใชห ลกั กระบวนการ “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง”
มาจัดกระบวนการเรยี นรู ใหเกิดความเขมแข็ง และยั่งยืนในการประกอบอาชีพ จึงไดจัดการศกึ ษาอาชีพเพอ่ื
การมีงานทําอยางยั่งยนื หลักสูตรการพฒั นาผลติ ภัณฑผา ฝา ยยอ มดิน โดยมีจดุ มงุ หมายหลกั เพื่อใหทอ งถน่ิ และ
หนวยงานในทองถ่ินมีสวนรว มในการพัฒนาอาชีพ เปนการสรางรายได ลดรายจา ยในครัวเรือนและการขยาย
โอกาสในการเขาถงึ แหลง ทุนตาง ๆ ควบคกู ับการฟน ฟู และอนรุ กั ษธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ไปพรอมกับการ
พฒั นาดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และมงุ เนน ใหเกิดการรวมกลมุ และสรา งเครอื ขา ยระหวางกลมุ องคกรตาง ๆ ใน
ชมุ ชน
6. วตั ถปุ ระสงค

1. กลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ การพัฒนาผลติ ภัณฑผาฝายยอมดนิ และทักษะเกี่ยวกบั การ
ประกอบอาชพี การบริหารจดั การในอาชีพ

2. กลุมเปาหมายตัดสินใจประกอบอาชพี ใหส อดคลอ งกบั ศักยภาพตนเอง ชุมชน และสังคม
3. กลุมเปา หมายสามารถประกอบอาชีพและสรา งรายไดท ี่ม่ันคงใหกับตนเอง
4. กลมุ เปาหมายมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ สำนกึ ความรบั ผิดชอบตอตนเอง ผูอืน่ และสังคม
7. วิธีดำเนนิ การ
การจดั ตามความสนใจของผเู รียนท่ีรวมกลุมตั้งแต 6 คนขนึ้ ไป
1. ประชาสมั พนั ธใ หแกประชาชนผทู ่สี นใจ
2. รวมกลมุ ผูท สี่ นใจจะเรยี น (ตัง้ แต 6 คนข้ึนไป)

21
3. จัดทำรายชอ่ื ผเู รียนในการลงทะเบียน ตามแบบ กศ.ตน. 1
4. จดั ทำหลกั สูตร
5. สถานศึกษาจัดหาเนอ้ื หาทสี่ อดคลอ งกับความตองการของผเู รียน
6. สถานศึกษาจัดหาวิทยากร ตามแบบ กศ.ตน. 2
7. จัดทำเอกสารขออนุญาตจัดการศกึ ษาตอเนอ่ื ง
8. ลงทะเบียนผูสมคั รเรยี นหลกั สตู รการศึกษาตอเน่อื ง แบบ กศ.ตน. 1
9. วิทยากรลงนามในใบสมคั รวิทยากร แบบ กศ.ตน. 2
10.จัดทำคำส่ังแตง ตั้งวทิ ยากรและแตง ตงั้ วทิ ยากร แบบ กศ.ตน. 3
11.จัดทำเอกสารเพือ่ ขออนญุ าตจัดการศกึ ษาตอ เน่ืองและแจง การจดั กจิ กรรมเสนอตอ สำนกั งาน กศน.
จงั หวัด กอนการจดั กจิ กรรมอยางนอ ย 1 สปั ดาห แบบ กศ.ตน. 4
12.จดั หาวัสดุอปุ กรณท ีข่ ออนุมัตหิ ลักการจดั ซอ้ื จัดจางวสั ดุอปุ กรณ แบบ กศ.ตน. 8
13.จัดทำหลกั สตู รการศึกษาตอเน่ือง แบบ กศ.ตน. 15
14.จัดทำแผนทีส่ ถานทจ่ี ัดการศกึ ษาตอเน่อื ง แบบ กศ.ตน. 29
15.จัดทำบนั ทึกขออนญุ าตจัดการศึกษาตอเนือ่ ง
16.จัดทำบันทึกขออนุญาตจัดการศึกษาตอเนื่อง แบบ กศ.ตน.16 พรอมแนบเอกสาร ตามขอ 4
(ยกเวน แบบ กศ.ตน. 8 และ แบบ กศ.ตน. 15)
17.จดั การเรียนรู วดั และประเมินผลการเรียนรขู องผเู รยี น
18.สถานศกึ ษาจดั เตรยี มสถานท่ี และดำเนินการเรื่องวัสดุอปุ กรณ
19.วิทยากรจัดเตรยี มสอ่ื และจัดกระบวนการเรยี นรตู ามหลักสตู ร

- ใบลงเวลาวทิ ยากร แบบ กศ.ตน. 5
- ใบลงเวลาผูเรยี น แบบ กศ.ตน. 6
- แบบประเมนิ การจดั การศึกษาตอเนอ่ื ง แบบ กศ.ตน. 7 (1) และ แบบ กศ.ตน. 7(2)
- แผนการจัดการเรียนรู แบบ กศ.ตน. 12
20.จดั ทำหลักฐานการจบหลกั สตู ร
21.จดั ทำทะเบยี นผจู บหลกั สูตรการจดั การศึกษาตอ เน่ือง แบบ กศ.ตน. 9
22.แบบประมนิ ความพึงพอใจ แบบ กศ.ตน. 10
23.ใบสำคัญผผู านการศึกษาตอ เน่อื ง แบบ กศ.ตน. 11
24.สถานศึกษาจะตองจัดทำโครงการฝกอบรมประชาชนพรอมหลักสูตรบรรจุในแผนปฏิบัติการ
ประจำปของสถานศึกษา เสนอขอความเห็นชอบตอ สำนักงาน กศน.จังหวดั /กทม. (กรณีมีการเปลย่ี นแปลง
ไปจากที่ไดร ับความเห็นชอบไวเดิม ใหขออนุมตั ิและขอความเห็นชอบเปนกรณไี ป) ยกเวนสถานศึกษาขึน้ ตรง
ใหดำเนินการตามท่ีไดรับมอบอำนาจ
25.การอนมุ ัติโครงการและหลักสูตรการฝกอบรม ใหผูอำนวยการสถานศึกษาอนุมตั ิภายในวงเงินตาม
ทไี่ ดรบั มอบอำนาจ ถาเกินวงเงินของสถานศึกษาตอ งไดร บั ความเห็นขอบและอนมุ ัติจากผมู อี ำนาจ
26.ดำเนนิ การฝกอบรมประชาชนตามโครงการ/หลักสูตร ที่ไดรบั ความเหน็ ชอบแลว
27.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน เสนอสำนกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. สำหรบั สถานศึกษาขึ้นตรง
ใหรายงานผลการดำเนินงานตอ สำนกั งาน กศน.เปน รายไตรมาส หรือตามท่ีสำนักงาน กศน.กำหนด

22

8. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
กลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ การพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน และทักษะเกี่ยวกับการ

ประกอบอาชีพ การบริหารจดั การในอาชีพ ตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกบั ศักยภาพตนเอง ชุมชน
และสังคม สามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับตนเอง และมีคุณธรรม จริยธรรม และมี
จิตสำนึก ความรับผิดชอบตอตนเอง ผอู ่นื และสงั คม
9. การประเมนิ ผลและเคร่ืองมือการประเมินผล

1. ประเมนิ ผลกอนการฝก อบรม
1.1 วัดความรู ความเขา ใจ เกีย่ วกบั การพัฒนาผลิตภัณฑผา ฝา ยยอ มดิน และทักษะการ
ประกอบอาชีพ

2. ประเมินระหวา งการฝกอบรม
2.1 ประเมนิ ผลจากชน้ิ งาน และทกั ษะการปฏิบตั ิ
2.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผูเขารับอบรมในการแสดงความคดิ เหน็ การ
ถามคำถาม การตอบคำถาม

3. ประเมินผลหลังการฝก อบรม
3.1 วดั ความรคู วามเขา ใจ เก่ียวกับการพฒั นาผลติ ภณั ฑผา ฝา ยยอมดิน และทักษะการ
ประกอบอาชีพ
3.2 ประเมินผลจากชนิ้ งาน และทกั ษะการปฏิบตั ิ

10. ผลการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนนิ งานตามวัตถุประสงค สามารถสรปุ ผลไดดังน้ี
1. กลุมเปา หมายมีความรู ความเขาใจ การพฒั นาผลติ ภณั ฑผ าฝา ยยอ มดนิ และทกั ษะเกย่ี วกบั

การประกอบอาชีพ การบรหิ ารจดั การในอาชพี ผลการดำเนนิ งานพบวา กลมุ เปาหมายมีความรู ความ
เขาใจ การพฒั นาผลิตภัณฑผา ฝายยอ มดิน เก่ียวกับ ความสำคัญในการประกอบอาชีพการพฒั นาผลิตภัณฑผ า
ฝา ยยอ มดิน การวิเคราะหค วามเปนไปไดใ นการประกอบอาชพี การพฒั นาผลติ ภัณฑผา ฝา ยยอมดนิ การลงทนุ
และแหลงทุน ความตองการของตลาด หลักการตลาด กรรมวิธี การขนสงแหลงเรียนรู ทิศทางการประกอบ
อาชีพการพฒั นาผลติ ภัณฑผ าฝายยอมดนิ ความเสี่ยง ความคมุ คา ในการลงทุน ความตองการดานการตลาด
ขั้นการเตรียมการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน ขั้นฝกทักษะการประกอบอาชีพการ
พฒั นาผลิตภณั ฑผ าฝา ยยอมดิน การบรรจภุ ัณฑ และการจำหนาย ผลิตภณั ฑผาฝายยอ มดนิ ยงั ไดรบั รางวัลที่ 1
ในการประกวดผลิตภัณฑ 5 ดี พรเี มีย่ ม ไดร ับมาตรฐานผลติ ภัณฑชมุ ชน ไดแ ก ยา ม และผา คลมุ ไหล

2. กลุมเปาหมายตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศักยภาพตนเอง ชุมชน และสังคม ผลการ
ดำเนินงานพบวา กลุมเปาหมายการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑผา ฝายยอมดนิ
การดแู ลรักษา การควบคมุ คุณภาพ การลดตน ทนุ ในการผลิต การจดั การการตลาด การทำฐานขอมลู ลูกคาท่ี
ใชบริการ/คูแขง การโฆษณาประชาสมั พันธ การสงเสริมการขายและการบริการ การจัดการความเสี่ยง การ
วิเคราะหศักยภาพใน คาใชจาย ผลกำไรคูแขง วิธีการลดตนทุน การแกปญหาความเสี่ยงในการประกอบ
อาชีพการพฒั นาผลติ ภณั ฑผาฝา ยยอ มดิน ซึง่ ทำใหกลุมเปาหมายสามารถตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลอ ง
กบั ศกั ยภาพตนเอง ชุมชนและสังคม ไดอยา งมคี วามสุข

23

3. กลุมเปาหมายสามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับตนเอง ผลการดำเนินงาน
พบวา กลมุ เปา หมายสามารถสรางรายไดจ ากการพฒั นาผลติ ภัณฑผ า ฝายยอ มดินโดยการนำผลิตภัณฑไปขาย
ในชุมชน นอกชุมชน และการขายทางเฟสบุคจงึ ทำใหกลุมเปา หมายมีรายไดเพิ่มมากขึ้น

4. กลุมเปา หมายมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง ผอู ืน่ และสงั คม
ผลการดำเนินงานพบวา กลุมเปา หมายคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอ่ืน
และสังคม โดยการเคารพกฎ กตกิ า ตามที่สมาชกิ กลมุ ไดต ้ังกันไว มกี ารรวมกลมุ กันซ่ึงเรยี กกลมุ น้วี า กลุม
ทอผา ฝายบานวงั หาด มสี มาชกิ จำนวน 20 คน มคี ณะกรรมการบริหารกลุมอยา งชัดเจน
11. บทสรุป

กลุมทอผาฝายบานวังหาด เปนกลุมที่ผานกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืน
หยดั อยูไ ดอยางมั่นคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู วาม
สมดุลและยั่งยืน และมุง เนน ใหทุกกลุมเปาหมายมที กั ษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึง่ พา
ตนเองได มีความรคู วามสามารถในการบริหารจดั การชีวิตของตนเองใหอยใู นสังคมไดอ ยางมีความสขุ สามารถ
เผชญิ สถานการณต า ง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึนในชีวิตประจำวันไดอยา งมีประสิทธิภาพ และเตรยี มพรอ มสำหรบั การปรับตวั
ใหทันตอการเปลีย่ นแปลงของขา วสารขอมูลและเทคโนโลยสี มยั ใหมในอนาคต บริบทของกลุมทอผา ฝายบาน
วงั หาด ท่ีตองการใหชุมชนมีสว นรวมและไดป ระโยชนจ ากการทอผา ฝา ยจึงควรตองมกี ารแตง ตง้ั คณะกรรมการ
บริหารกลุมทอผา ฝายบา นวงั หาด เพ่อื ใหมกี ารทำงานรวมกันแบบบูรณาการทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน และให
สอดคลองกบั ความรู ความสามารถของคณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด ซึ่งกลุมทอผาฝาย
บานวังหาดมีการดำเนินงานไดอยางตอเนื่อง มีความรัก สามัคคีกัน สิ่งเหลานี้จะนำไปสูชุมชนเขมแข็ง
สามารถพึ่งตนเองไดอยา งยง่ั ยนื
12. กลยทุ ธหรือปจ จัยท่ีทำใหประสบผลสำเร็จ

การดำเนินงานของกลุมทอผาฝายบานวังหาด มีการดำเนินงานที่เปนขั้นตอน เริ่มจากการสำรวจ
สอบถาม การประชมุ ปรึกษาหาแนวทางการดำเนนิ งานจดั ต้ังกลมุ การสรรหาคณะกรรมการกลมุ การแตงต้ัง
คณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด การลงมือปฏิบัติจริง การประสานของบประมาณจาก
หนวยงานภาครัฐ เอกชน การรวมคดิ รวมทำ รวมแกปญหา ลวนแลว เปนความรวมมือรวมใจของสมาชิก
กลมุ มีความศรัทธาซ่ึงกันและกัน ซึ่งสิง่ เหลา นเี้ ปนกลยุทธห รอื ปจจัยท่ที ำใหกจิ กรรมดงั กลา วสำเร็จลลุ ว งตาม
จดุ หมายท่ีวางไว
13. ขอเสนอแนะ

จากผลการดำเนนิ งานมีขอเสนอแนะสำหรับผูท ่ีจะนำไปจัดกิจกรรมตา ง ๆ และขอเสนอแนะสำหรับ
การจดั กจิ กรรมครง้ั ตอไป ดงั นี้

1. เนื่องดวยหลกั สูตรการพัฒนาผลติ ภัณฑผ าฝายยอมดิน ฉบับนี้สรา งขึ้นบนพื้นฐานของปญหาและ
ความตอ งการการบรหิ ารจัดการกลมุ ทอผา ฝา ยบา นวังหาด ดงั น้นั จงึ มกี ารวางโครงสรา งหลักสูตรเพ่อื ตอบสนอง
ความตองการเฉพาะดา นของคนบา นวังหาด มีการบรรจุเนือ้ หาองคค วามรูเฉพาะของบานวังหาดในมิติตาง ๆ
รวมถึงการเรียนรูการพฒั นาผลิตภณั ฑผ า ฝายยอ มดิน ในภาคปฏิบตั ิ ทสี่ ามารถปฏบิ ัตไิ ดอ ยางมีประสิทธิภาพ
จริง

24

2. เนื่องจากการจดั การเรยี นรูหลักสูตรการพัฒนาผลติ ภณั ฑผาฝายยอ มดนิ ตองมีการบริหารจัดการ
ดานงบประมาณ ทรัพยากรมนุษย จึงมีความจำเปนที่หนวยงานภาครัฐ เอกชน หรือผูที่เกี่ยวของ
ผูเชี่ยวชาญ สงเสริม สนับสนุน กลุมทอผาฝายบานวังหาด ใหมีงบประมาณบริหารจัดการกลุม การวาง
ระบบการจดั การ การตลาด การพัฒนาผลติ ภณั ฑ รวมท้งั เคร่อื งมือ วสั ดุ อุปกรณ ทเี่ ปนความตองการของ
กลุมทอผาฝายบานวังหาด เพื่อพัฒนาเปนแหลงทอ งเที่ยว แหลงเรยี นรูเกี่ยวกบั การทอผา ฝาย การยอมเสน
ฝา ยดว ยดนิ การพฒั นาผลิตภัณฑต าง ๆ

3. ควรคัดเลือกวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานมาเปนผูถายทอดความรู เพื่อประสิทธิภาพ
สูงสุดในการจัดกิจกรรม

4. หลังจากจัดฝกอบรมแลวควรมีการตดิ ตามพฤติกรรมผูเขารวมกิจกรรมเปน ระยะ เชน 1 เดือน 3
เดอื น 6 เดอื น เพ่ือดูความคงทนของความรู และความกา วหนาในการปฏบิ ตั งิ าน
14. การอางองิ

หลักสตู รการจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำ (ชุดท่ี 1) สำนักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั

คำสั่งศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบานดานลานหอย เรื่อง แตงต้ัง
คณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด

25

การพัฒนาผลิตภณั ฑผา ฝา ยยอมดิน

26

บทที่ 3
สรปุ ผล ขอเสนอแนะ

สรปุ ผล

ผลการดำเนนิ งานตัวช้ีวัดที่ 1 พบวา รายการฐานขอมลู ทีบ่ นั ทกึ ในระบบฐานขอ มลู เพอื่ การ

บรหิ ารจดั การ (DMIS) กศน.ตำบลตลิง่ ชนั มีขอ มลู 12 รายการ ระดบั คะแนนอยูร ะดบั 5 คะแนน
ผลการดำเนินงานตวั ชว้ี ดั ที่ 2 พบวา การดำเนินงานในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตำบล

สอดคลอ งกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการของหนวยงาน พจิ ารณาจากความถกู ตองครบถว นของขอมูลท่บี รรลผุ ลตามคา
เปาหมายท่ีกำหนดไว และจัดทำแผนในระบบ DMIS มีการประเมิน สรุป และรายงานผล และจัดทำแผนใน
ระบบ DMIS และแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลตลิ่งชัน งบประมาณป 2563 โดยการทำคำรับรองปฏิบัติ
ราชการกับ ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบา นดานลานหอย และมีการรายงานผลในระบบ DMIS ครบถวนทกุ
กจิ กรรม ระดบั คะแนนอยูร ะดับ 5 คะแนน
ผลการดำเนนิ งานตัวช้ีวดั ท่ี 3 พบวา จำนวนผูเขารว มกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี

การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีผลการดำเนินงานบรรลตุ ามเปาหมาย/ มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปา หมายตาม
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปข องหนวยงาน/สถานศกึ ษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รบั ผิดชอบ
ผลการดำเนินงาน
ลำดับท่ี กิจกรรม คา เปา หมาย ผลการดำเนนิ งาน
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ 36 44
2 การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต 20 21
3 การศึกษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน 14 20
4 การจดั กระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรัชญา 8 10
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รวม 78 95
จำนวนผูเ ขารวมกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชพี การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคา
เปาหมายที่กำหนดไวรวมทั้งหมด จำนวน 78 คน กศน.ตำบล มีผลการดำเนินงานเกนิ กวาเปาหมายตาม
แผนปฏิบตั ิการประจำปของหนว ยงาน/สถานศกึ ษาท่ี ครู กศน. ตำบล/ รบั ผิดชอบ จำนวนเปาหมาที่เขารวม
กิจกรรมทง้ั สน้ิ 95 คน ระดับคะแนนอยูระดับ 5 คะแนน
ผลการดำเนนิ งานตวั ชีว้ ดั ท่ี 4 พบวา จำนวนผจู บหลักสตู ร/กิจกรรมในการจดั การศึกษาเพือ่

พฒั นาอาชพี การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน การจัดกระบวนการเรียนรู
ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งที่นาความรูไปใช มีผลการดำเนนิ งานเกินกวาเปา หมายตามแผนปฏิบัติการ
ประจำป ครู กศน. ตำบล ทร่ี ับผิดชอบ มผี จู บหลกั สูตร จำนวน 95 คน และสามารถนำความรูไปใชในการ
ดำเนนิ ชวี ิตรอ ยละ 90 ขึ้นไป ระดับคะแนนอยรู ะดับ 5 คะแนน

27

ผลการดำเนนิ งานตวั ช้ีวัดที่ 5 พบวา จำนวนผรู ับบริการการศึกษาตามอธั ยาศัย เมอื่ เทยี บ
กับเปาหมายการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจำปของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู
กศน. ตำบล กำหนดไว 150 คน ซึ่งมีผลการดำเนินงานเกินกวา เปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป ครู
กศน. ตำบล ทร่ี บั ผิดชอบ มเี ปาหมาย จำนวน 600 คน และเกนิ กวาเปาหมายมากกวา 2 กิจกรรม ระดบั
คะแนนอยูร ะดับ 5 คะแนน

ผลการดำเนินงานตัวชว้ี ดั ท่ี 6 พบวา จำนวนกิจกรรมในแหลงเรยี นรู บา นหนงั สือชุมชนที
ดำเนินการเพือ่ สง เสริมการเรียนรทู ่สี มั พนั ธก บั แหลง เรียนรูแกป ระชาชน เมือ่ เทียบกับเปา หมายการดำเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน ที่ครู กศน. ตำบล/รับผิดชอบ โดยใหสำนักงาน กศน. จังหวัด
รวมกับ กศน.อำเภอ เปน ผูกำหนดคาเปา หมายตามแผน ใหครู กศน. ตำบลแตละคน กศน.ตำบลตล่ิงชัน มี
ผลการดำเนินงานมากกวา 4 กจิ กรรม ระดับคะแนนอยรู ะดับ 5 คะแนน

ผลการดำเนนิ งานตัวช้วี ัดที่ 7 พบวา ผลการดำเนนิ งานจากการรวมประชุม การรว มคิด
รวมวางแผน รวมดำเนนิ การ รวมนิเทศตดิ ตามผลสงเสริม/สนับสนนุ การจัดการศึกษาของภาคีเครอื ขาย และ
สนับสนุนทรัพยากรใหกับภาคีเครือขาย ไดศึกษาเรียนรูประวัติศาสตรชุมชน วิถีชีวิตชุมชน การอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งทำใหคนในชุมชนสามารถรวมกลุมกันจัดกิจกรรมตาง ๆ ไดอยางมี
ประสิทธิภาพ สามารถพึ่งตนเองให สงผลใหคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนดีขึ้น ซึ่งมี 3 กิจกรรม ระดับ
คะแนนอยรู ะดบั 7 คะแนน

ผลการดำเนินงานตวั ช้ีวดั ที่ 8 พบวา ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลตลิง่ ชัน ไดป ฏบิ ัติ
ตามนโยบายเรงดวน โครงการสำคญั ประจำปต า ง ๆ และงานอนื่ ๆ ทีไ่ ดร บั มอบหมาย จำนวน 38
กิจกรรม ซงึ่ ไดปฏิบตั ิงานไดตามรับรับมอบหมายงาน 10 งานขนึ้ ไป และมผี ลสำเรจ็ ตามคาเปา หมายท่ีตงั้ ไว
ระดบั คะแนนอยรู ะดบั 22 คะแนน

ผลการดำเนินงานตวั ช้ีวดั ที่ 9 พบวา ระดบั ความสำเรจ็ ของการดำเนินงานดา นใดดานหนึ่ง
ที่มีผลการปฏิบตั ิงานท่ีดีสูงกวา เกณฑมาตรฐานสามารถเปนแบบอยาง ไดแก ผลงานการศกึ ษาตอเน่ือง จัด
การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางยั่งยืน เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน ซึ่งสอดคลองกับ
นโยบายและจดุ เนนการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ปง บประมาณ 2563 นโยบาย 1.3 การศกึ ษาตอเน่ือง 1)
จัดการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทำอยางย่ังยืน การจัดกิจกรรมการเรียนรหู ลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝา ย
ยอ มดนิ ผานกระบวนการเรยี นรตู ลอดชีวติ

กลุมทอผาฝายบานวังหาด เปนกลุมที่ผานกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน
สามารถยืนหยดั อยูไ ดอยางมั่นคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนา
ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถ
ประกอบอาชพี พงึ่ พาตนเองได มคี วามรูค วามสามารถในการบริหารจดั การชวี ิตของตนเองใหอยใู นสงั คมไดอยา ง
มคี วามสขุ สามารถเผชิญสถานการณต าง ๆ ทเี่ กิดขนึ้ ในชีวิตประจำวนั ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ และเตรียมพรอม
สำหรับการปรับตัวใหทนั ตอการเปล่ยี นแปลงของขา วสารขอมลู และเทคโนโลยสี มัยใหมใ นอนาคต บริบทของ
กลุมเศรษฐกจิ พอเพียงบา นวังหาด ทีต่ องการใหช ุมชนมีสวนรว มและไดประโยชนจากการทำเกษตรจึงควรตอง
มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด เพื่อใหมีการทำงานรวมกันแบบบูรณาการทงั้
ภาครัฐ ภาคเอกชน และใหส อดคลองกบั ความรู ความสามารถของคณะกรรมการบรหิ ารกลุมทอผาฝา ยบาน

28

วงั หาด ซงึ่ กลมุ ทอผาฝายบานวังหาด มกี ารดำเนินงานไดอ ยางตอเนื่อง มคี วามรัก สามัคคกี นั ส่ิงเหลานี้จะ
นำไปสูชมุ ชนเขม แข็ง สามารถพึ่งตนเองไดอ ยา งยงั่ ยนื

การดำเนินงานของกลุมทอผาฝายบานวังหาด มีการดำเนินงานที่เปนขัน้ ตอน เริ่มจากการ
สำรวจสอบถาม การประชมุ ปรกึ ษาหาแนวทางการดำเนินงานจดั ตง้ั กลุม การสรรหาคณะกรรมการกลมุ การ
แตง ตงั้ คณะกรรมการบริหารกลุมทอผา ฝายบา นวงั หาด การลงมือปฏบิ ัติจริง การประสานของบประมาณจาก
หนวยงานภาครัฐ เอกชน การรวมคดิ รวมทำ รวมแกปญหา ลวนแลว เปน ความรวมมือรวมใจของสมาชิก
กลมุ มคี วามศรทั ธาซง่ึ กนั และกัน ซงึ่ ส่งิ เหลา นีเ้ ปน กลยทุ ธหรอื ปจ จยั ทีท่ ำใหก จิ กรรมดังกลา วสำเร็จลลุ ว งตาม
จุดหมายที่วางไว
ขอเสนอแนะ

“คน กศน. อยูใ นทุกชมุ ชน ชมุ ชน มี องคค วามรู ความรู เปน ส่ิงล้ำคา เสริมความลำ้ คา โดย
การเผยแพรและแบง ปน เผยแพรแ ละแบง ปนคอื งานสรางสรรของ กศน.”

จากการปฏิบัติงานของผูรับการประเมินรอบที่ 1 ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันท่ี
31 มีนาคม 2564 ผูรับการประเมินจึงยกบทความของอาจารยสุวัฒน ธรรมสุนทร มาเปนขอเสนอแนะ
เกี่ยวกับจัดกิจกรรมของ กศน. คอื การนำเทคโนโลยีทีเ่ รียกวา TKP : Thailand Knowledge Portal คือศูนย
รวมชอ งทางขอ มลู หลกั สูตร และแหลง เรียนรูออนไลน โครงสรา งของ TKP ออกแบบมาเพอ่ื รองรบั /สนับสนุน
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และ การศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการเรียนการสอน
หองเรียนออนไลนดวย G Suite for Education เปนชุดเครื่องมือในการบริหารจัดการชั้นเรียนออนไลนที่มี
ประสิทธิภาพสูงแลว G Suite for Education ยังสามารถนำมาสรางสรรเครือขายการเรียนรูเครือขายแหลง
เรยี นรจู ากท่วั ทกุ พน้ื ทขี่ องประเทศไทย (นำเรื่องราว นำสาระเนอื้ หาท่หี ลากหลาย มคี ณุ คา ตอการเรยี นรู) โดย
คนของ กศน. ท่อี ยใู นทุกพน้ื ที่ ทกุ ตำบลใหม ีความรู สงเสรมิ ศกั ยภาพใหเปน นกั ถา ยทอดผสู รา งสรรเสน เร่อื งราว
จากพื้นท่นี ำไปสูการสรางสรรแหลง เรียนรู และแหลง ขอ มลู คุณภาพ บนโลกออนไลนของประเทศไทยไดอยาง
รวดเรว็ จงึ ดำเนนิ การออกแบบกระบวนการและระบบดว ย Application ตาง ๆ ของ G Suite for Education
โดยกำหนดกระบวนการไว 2 ขั้นตอน

(1) นำความรู ขอ มูลหรือหลักสูตรจากพืน้ ทหี่ รอื ชมุ ชนมาสรางเปนเวบ็ กระจายยอ ยไปทกุ
หนว ยงาน สถานศึกษา (กศน.ตำบล) พฒั นาเปน เครอื ขายการเรียนรูชุมชน ( Knowledge Network Sites)

(2) นำลงิ คความรูจ าก Sites ไปรวม (จดั )กลุม ในระบบชองทางแหลง ขอ มลู เรียนรู TKP
(Thailand Knowledge Portal) หรือศูนยความรูป ระชาชนประจำจังหวัด เพื่อใชเปน ชองทางในการเผยแพร
และเขา ถงึ ภายใตเ งอ่ื นไข ดงั น้ี

1. พัฒนาคน ใหส ามารถสรา ง Content บนมาตรฐานเดยี วกนั
2. สง เสรมิ สนบั สนุนใหพ ฒั นาองคค วามรอู ยา งตอ เน่อื ง
3. แบง ปน (Share) องคค วามรู
4. เผยแพร องคค วามรู / จดั การเรียนรู
5. รวบรวม และบรหิ ารจัดการองคความรู
หลังจาก TKP มคี วามเขมแข็ง นำไปสูการพัฒนาคลังสอ่ื คลังขอ มูลการเรยี นรทู ่ีมีความถกู ตอง
อนาคตในอกี ไมนานโลกของส่ือขอมลู ที่มีความนาเชอ่ื ถือจะเกิดข้ึน และส่งิ นจ้ี ะเปนอกี มิติใหมของแหลงขอมูล
เพ่ือการเรียนรู ทมี่ ีคณุ คาตอสงั คมการเรยี นรตู ลอดชวี ิตท่สี รางสรรค

29

30

31

ภาคผนวก

32

https://sites.google.com/a/dei.ac.th/epbdh/

https://sites.google.com/a/dei.ac.th/cebl/

33

https://sites.google.com/a/dei.ac.th/iebl/

https://sites.google.com/a/dei.ac.th/inbl/

34

https://sites.google.com/dei.ac.th/nfetch/home?authuser=1

35


Click to View FlipBook Version