The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2. (1)

2. (1)

46

30. ขอ ใดตอไปน้ี ไมใช หลักการสําคัญในการจัดการขยะมลู ฝอย
ก. การกําจัด
ข. การยอยสลาย
ค. การเกบ็ รวมรวมและขนสง
ง. กระบวนการใชประโยชนดว ยวิธกี ารตา ง ๆ

31. ขอใดตอ ไปนใ้ี หความหมายของ Reuse ไดถ กู ตอง
ก. ซอมหรอื แกไข
ข. ใชซ ํา้ ผลิตภัณฑ
ค. หลีกเลย่ี งขยะพิษ
ง. การใชนอ ยหรือลดการใช

32. ขอใดตอ ไปน้ีใหความหมายของ Recycle ไดถูกตอง
ก. ซอ มหรือแกไข
ข. หลกี เลีย่ งขยะพิษ
ค. แปรรปู นํากลับมาใชใหม
ง. การใชน อ ยหรือลดการใช

33. การใชถ ุงผา ไปจายตลาดตรงกบั หลกั การจัดการขยะขอใด
ก. Reduce
ข. Refill
ค. Return
ง. Recycle

34. ขอใด ไม จัดวา เปนการปฏบิ ตั ติ ามหลัก Reduce เพ่ือลดปรมิ าณขยะ
ก. บี เลือกซ้อื สนิ คาท่มี ีอายกุ ารใชงานสงู
ข. ดี เลอื กซื้อแชมพูสระผมทีบ่ รรจุเปน ซองแบง ขาย
ค. เอ ซอื้ นา้ํ ยาปรับผา นุม และน้ํายาลางจานชนิดเติม
ง. ซี เลือกซื้อผลิตภณั ฑทีส่ ามารถนาํ กลับมาใชใ หมได

47

35. ถงั รองรับขยะมลู ฝอยทเี่ ปน ขยะพิษหรือขยะอนั ตรายเปน ถงั สใี ด
ก. ถงั สฟี า
ข. ถังสีแดง
ค. ถังสเี ขยี ว
ง. ถังสเี หลอื ง

36. ขอ ใดเปน วิธีการกาํ จดั ขยะที่ถกู สขุ ลกั ษณะ
ก. ทงิ้ ขยะรวมกัน ทกุ ประเภท
ข. ทงิ้ เศษอาหารเพอื่ ใชท าํ ปุย หมกั
ค. ท้งิ ไวขาง ๆ ทางใกลกับตน ไมใ หญ
ง. ทง้ิ ขยะโดยขุดหลมุ ฝงใกลก บั แมน า้ํ

37. เทคโนโลยีการกาํ จดั วัสดุเหลือท้ิงดวยการเผา แบบใดที่เกดิ การเผาไหมไ ดอยา งสมบรู ณท ส่ี ดุ
ก. เตาเผาแบบถังเผา
ข. เตาเผาแบบเชิงตะกอน
ค. เตาเผาแบบตะกรับเคล่อื นท่ี
ง. ถกู ทุกขอ

38. ขอใดอธบิ ายเทคโนโลยีการกําจดั วัสดุเหลอื ท้งิ ดวยการเผาไดถ กู ตองท่สี ุด
ก. เปน กระบวนการกาํ จัดวัสดุเหลือท้งิ ท่ใี ชค วามริ้นสูง
ข. ส่ิงท่เี หลือจากการเผา คือ ความรอน ขเ้ี ถา และแกส ปลอ งไฟ
ค. แกส ปลอ งไฟตอ งถกู ทําใหส ะอาดกอ นปลอยสูช ้ันบรรยากาศ
ง. ถกู ทุกขอ

39. ขยะในขอใด นาํ มาทําการคัดแยก เพ่ือสงตอ ไปรไี ซเคลิ ได
ก. ขวดพลาสตกิ แกวน้ํา ขวดโคก
ข. เปลอื กลกู อม เศษเหล็ก ขวดแกว
ค. เศษกระดาษทิชชู เปลือกลูกอม กระดาษแข็ง
ง. ถงุ ขนมขบเค้ียว กระดาษลัง กระดาษหนงั สอื พิมพ

48

40. ขอ ใดกลาวถูกตอ ง ในการคัดแยกวสั ดุ
ก. เราควรคดั แยกวัสดุ เพ่ือใหง ายตอ การนาํ ไปรีไซเคิลและการกําจัดอยา งถกู วิธี
ข. เราควรแยกวสั ดุ เพราะกฎหมายบงั คับ
ค. เราไมควรแยกวัสดุ เพราะจะทําใหไดร บั เช้อื โรค
ง. ถูกทกุ ขอ

41. ทา นมีวธิ กี ารคัดแยกกระดาษอยางไร เพอ่ื นาํ ไปรีไซเคลิ หรอื นําไปขายใหไ ดราคาสูง
ก. แยกประเภทกระดาษ เชน กระดาษหนังสือพมิ พ กระดาษรวม กลองกระดาษ
ข. แยกกระดาษรวม โดยดึงริบบิ้น เทปกาว และสต๊กิ เกอรต า ง ๆ ออก
ค. แยกกระดาษถา ยเอกสาร โดยดึงสตกิ เกอร ลวดเสยี บออก
ง. ถกู ทกุ ขอ

42. ขอใดปฏบิ ัตไิ ดถูกตอ งกอนนาํ ขยะไปรีไซเคิล
ก. ขวดแกวท่ีมีสคี วรนาํ มาคละรวมกนั กอ น
ข. ฝาและจกุ ของขวดแกวควรปดไวใ นสภาพเดิม
ค. ไมควรทง้ิ กนบุหร่ีลงในขวดแกว ตอ งทาํ ความสะอาดกอนรวบรวม
ง. ไมทําใหก ลอ งกระดาษลกู ฟกู แบน กอนนาํ มารีไซเคิลควรใหอ ยใู นสภาพเดิม

43. ขอ ใดปฏบิ ัติ ไมถกู ตอ ง ในการคดั แยกวสั ดุ
ก. ควรแยกสีของแกว เพอ่ื งา ยตอ การสงตอ ไปรีไซเคิล
ข. นาํ วสั ดอุ ันตราย โยนลงในถังขยะทว่ั ไป เพ่ือนําไปทง้ิ
ค. แยกขวดและฝาพลาสติกออกจากกัน เทนาํ ออกใหห มด กอ นนําไปเกบ็
ง. หลงั บริโภคเครื่องดมื่ แลว ลา งกระปอ งดวยนา้ํ เล็กนอ ย เพอื่ ไมใ หเ กิดกลนิ่

49

44. ขอ ใดเปน สญั ลักษณที่ติดบนผลติ ภณั ฑ มคี วามหมายวา นาํ ไปรไี ซเคลิ ได
ก.
ข.
ค.
ง.

45. ขอใดคือสญั ลักษณท ต่ี ิดอยูบนผลติ ภัณฑทีท่ าํ จากวสั ดุรีไซเคิล
ก.
ข.
ค.
ง.

50

46. ขอใดเปนสญั ลักษณรีไซเคิลพลาสตกิ
ก.

ข.

ค.

ง.
47. ขอ ใดเปนสญั ลกั ษณร ีไซเคิลแกว ใสไมม สี ี

ก.

ข.

ค.

ง.

48. สัญลกั ษณตอ นี้ เปนสัญลกั ษณรีไซเคิล ในขอ ใด

ก. เปนพลาสตกิ ทส่ี ามารถนาํ มารีไซเคิลขวดน้าํ พลาสตกิ ชนิดออน ใชไดค ร้งั เดยี ว
ข. เปนพลาสติก ทสี่ ามารถนํากลบั มารีไซเคิลเปนถงุ พลาสตกิ ทอพลาสตกิ
ค. เปนพลาสตกิ ท่ีสามารถนาํ กลบั มารีไซเคิล เปน ถงุ รอ นใสอ าหาร
ง. ถูกทุกขอ

51

49. ขอใดอธิบายความหมาย คําวา วสั ดอุ ันตราย ไดถูกตอ ง
ก. คอื ผลิตภณั ฑท ีเ่ สื่อมสภาพหรือปนเปอ นสารเคมอี ันตรายตางๆ เชน หลอดไฟ
ข. คอื ผลิตภัณฑท ส่ี ามารถนําไปรีไซเคลิ ได เปน ประโยชนแกม นุษย
ค. คือผลิตภัณฑท่ีเส่ือมสภาพ ไมมสี ารเคมีปนเปอน ขายไดร าคาสูง
ง. ถกู ทกุ ขอ

50. ขยะอันตราย มกี ีป่ ระเภท อะไรบา ง
ก. มี 4 ประเภท ขยะทว่ั ไป ขยะเปย ก ขยะแหง ขยะอนั ตราย
ข. มี 4 ประเภท ขยะทั่วไป ขยะเปย ก ขยะแหง
ค. มี 3 ประเภท ขยะติดเชื้อ ขยะมพี ิษ ขยะอเิ ล็กทรอนิกส
ง. มี 3 ประเภท ขยะมีพษิ ขยะแหง ขยะเปย ก

51. ขอ ใด คือ ขยะอันตราย ทง้ั หมด
ก. ถา นไฟฉาย กระปอ งยาฆาแมลง หลอดฟลูออเรสเซนต
ข. กระปองยาฆา แมลง เปลอื กลูกอม กระดาษแข็ง
ค. ขวดพลาสตกิ แกวนา้ํ ขวดโคก
ง. หลอดไฟ เศษกระดาษ ตะปู

52. ขอใด คือ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ทั้งหมด
ก. ซากเคร่อื งใชไฟฟา แบตเตอรี่ อปุ กรณอ เิ ล็กทรอนกิ ส
ข. ถานไฟฉาย กระปองยาฆาแมลง หลอดฟลอู อเรสเซนต
ค. หลอดฟลูออเรสเซนต กระปองยาฆา แมลง เขม็ ฉีดยา
ง. ตะปู ถา นไฟฉาย กระปองสเปรยบรรจสุ ี

53. แหลง กําเนดิ ขยะตดิ เชือ้ ท่ีพบสวนใหญมาจากทีใ่ ด
ก. ครัวเรอื น
ข. ชุมชน ตลาดสด
ค. โรงงานอุตสาหกรรม
ง. โรงพยาบาล สถานพยาบาล

52

54. แหลง กาํ เนิด ขยะตดิ เชอื้ ท่พี บสว นใหญม าจากทีใ่ ด
ก. ครัวเรือน
ข. ชุมชน ตลาดสด
ค. โรงงานอุตสาหกรรม
ง. โรงพยาบาล สถานพยาบาล

55. ผทู ่ีไดร ับสารตะก่ัว เขา สูร างกาย จะมีอาการอยา งไร
ก. กลา มเนื้อกระตุก โมโหงา ย หงดุ หงดิ
ข. ปวดศรษี ะ ออ นเพลีย ชกั กระตุก หมดสติ
ค. ปวดศรษี ะ งวงนอน เกิดตะคริวที่ขา สมองสับสน
ง. เกิดการระคายเคืองตอ ผิวหนัง คัน บวม เปนลม

56. ขอ ใด ไมใ ช วิธกี ารจัดการขยะอิเล็กทรอนกิ ส ดว ยหลัก 3R
ก. ยืดอายกุ ารใชง านผลติ ภณั ฑ โดยการซอ ม ปรับปรุงใหท ันสมัย
ข. ลดการบรโิ ภคตั้งแตแ รก ไมซ อื้ ของฟุมเฟอ ย
ค. ขายเพือ่ นาํ ไปรีไซเคลิ
ง. ถกู ทุกขอ

57. ขอใดเปน สัญลักษณ ที่บงชี้วาผลติ ภัณฑหรอื ภาชนะเปน ขยะอันตราย

ก.

ข.

ค.

ง.

53

58. เราควรเลอื กใชส งิ่ ของใด มาประยกุ ตใชง าน เพ่ือไมท ําลายส่งิ แวดลอ ม
ก. กลอ งโฟม
ข. กระดาษ
ค. ใบตอง
ง. พลาสตกิ

59. ใคร ควรมหี นาทีใ่ นการจดั การขยะชุมชน
ก. เทศบาล
ข. ผูน ําชุมชน
ค. ทุกคนในชุมชน
ง. เจาหนา ทส่ี ถานประกอบ

60. วธิ ีใดท่จี ะชวยลดปญ หาวัสดทุ ี่เปน พษิ กบั สง่ิ แวดลอม
ก. หลกี เลี่ยงการใชผ ลติ ภณั ฑท่ีมีสารอนั ตราย
ข. เลอื กใชส ารสกดั จากธรรมชาตแิ ทนสารเคมีสังเคราะห
ค. เลือกใชสนิ คา ที่มมี าตรฐานในการรักษาสิ่งแวดลอม
ง. ถูกทกุ ขอ

54

เฉลย กจิ กรรมทา ยหนวยที่ 1
วสั ดุศาสตรรอบตัว

คําชแี้ จง : ใหผเู รียนศกึ ษาจากเอกสารชดุ วชิ าและแหลงเรียนรตู างๆ แลวทาํ กิจกรรมตอ ไปนี้

1. สรปุ ความหมายของวัสดุศาสตรและเขยี นชอ่ื วสั ดุท่ีอยูรอบตัวเราในรูปภาพวงกลมดานลางน้ี
คาํ ตอบ วัสดุศาสตร (Materials Science) หมายถงึ การศกึ ษาองคความรทู ี่เกีย่ วของ

กับวสั ดุ ทนี่ ํามาใชประกอบกนั เปน ชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผสั ได โดยวัสดุ
แตละชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว ไดแก สมบัติทางฟสิกส สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟา และ
สมบตั ิเชงิ กล

55

2. จงโยงเสน รปู ภาพวสั ดดุ านซา ยมือใหตรงกบั ประเภทวสั ดดุ า นขวามือ

1. ก.วสั ดุโลหะจาํ พวกเหลก็

2.

ข.วัสดุนอกจาํ พวกเหลก็

3. ค.อินทรียสาร

4. ง.อนนิ ทรยี ส าร

5.

จ.วสั ดอุ นิ ทรยี ส ารสังเคราะห
6. ฉ.วสั ดอุ นนิ ทรยี ส ารสังเคราะห

56

3. ใหผ ูเรยี นศึกษาคนควาเพ่มิ เตมิ จากวีดทิ ศั น เรอื่ ง วัสดุและสมบัติของวัสดบุ นเว็บไซต
โดยสืบคนไดที่ https://www.youtube.com/watch?v=TeWcjmks6sQ
แลวสรปุ ความหมายของสมบัติของวสั ดุ

คาํ ตอบ วสั ดุ (Materials) คือ ส่ิงของท่ีนํามาใชทาํ ส่ิงของเคร่ืองใชต าง ๆ ทไี่ ดจ าก
ธรรมชาติ หรือ มนษุ ยส รา งขึน้ นน่ั เอง ถาสงั เกตรอบๆตวั เราก็จะพบมากมายเลยทเี ดียว วสั ดุ
แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก

1.วัสดธุ รรมชาติ เปน วสั ดุที่เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ แบงเปน 2 ประเภท ไดแก วัสดุ
ทไ่ี ดจ ากสิง่ มชี ีวิต ไดแก ขนสัตว เปลอื กหอย และวัสดุจากสง่ิ ไมมีชีวิต ไดแกห ิน ทราย ฝาย
เปนตน

2. วัสดุสงั เคราะห เกดิ จากการนําแรธ าตุ และสารเคมี มาผานกระบวนทางวิทยาศาสตร
โดยการทาํ ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี เพือ่ ใหเ กิดเปนวสั ดุข้ึน ไดแ ก พลาสติก โฟม ยาง เปน ตน

ความแขง็ ของวสั ดุ หมายถึง ความทนทานตอการตดั ขีดขว นของวัสดุ วัสดุทีม่ ีความแข็ง
มากจะสามารถทนทานตอ การขีดขว นไดมาก และเม่ือถกู ขีดขว น จะไมเกดิ รอย บนวสั ดุชนิดน้ัน

ความเหนยี ว หมายถึง ลกั ษณะท่ีดงึ ขาดยาก ไมหัก ไมขาด เมือถกู ดงึ ยืด ทบุ ตี เพื่อให
มรี ปู รา งเปลย่ี นไปตามเดิม

ความยดื หยุนของวัสดุ หมายถงึ ลักษณะของวัสดทุ ่สี ามารถกลับรปู ทรงเดิมได หลงั จาก
แรงทีม่ ากระทาํ ตอ วตั ถุนนั้ หยุดกระทาํ

การนาํ ความรอน หมายถงึ การถา ยเทพลังงานความรอน จากอนุภาคหนงึ่ สูอ นุภาคหนึ่ง
และถา ยทอดกันไปเร่ือยๆภายในเน้อื ของวัตถุ วัสดุแตละชนิดสามารถนําความรอ นไดแตกตาง
กนั วสั ดทุ ี่นาํ ความรอนไดด ี จะถายเทพลงั งานความรอนไดเร็ว เมอื่ วัสดุชนดิ นน้ั ไดร ับความรอน
ที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง จะถายโอนพลงั งานความรอนสบู ริเวณอนื่ ดว ย

การนําไฟฟาของวัสดุ หมายถงึ สมบัติในการยอมใหป ระจุไฟฟา ไหลผา นได วัสดุบางชนิด
ยอมใหก ระแสไฟฟาไหลผา นไดด ี ไดแก ทองแดง เหล็ก เปนตน แตวัสดุบางชนิด ไมยอมให
กระแสไหลผานได ไดแก ไม พลาสติก เปน ตน

ความหนาแนนของวัสดุ หมายถึง ปริมาณสารทม่ี ีอยใู น 1 หนวยปรมิ าตร ความ
หนาแนน เปนสมบตั ิเกี่ยวกบั ของเน้ือในวัตถุ วัสดุที่มเี นอ้ื แนน จะมคี วามหนาแนน มากกวา วัสดุ
ที่เนอ้ื โปรง เชน ฟองนํา้ กับดนิ

57

4. ใหผูเ รียนศกึ ษาคน ควา เพม่ิ เตมิ จากวดี ิทัศน เร่ืองสมบัตขิ องวัสดดุ า นความแขง็
ความเหนยี วและสภาพยืดหยนุ โดยสืบคน ไดท่ี
https://www.youtube.com/watch?v=rd-GC0Zymng
แลว รวมกลุม จํานวน 3-5 คน ทาํ การทดลองเปรียบเทียบและสรปุ สมบตั ขิ องวัสดทุ างกายภาพ
พรอ มยกตวั อยา ง

1) สมบตั ิของวัสดดุ านความแข็ง
คําตอบ เม่ือนาํ วัสดชุ นดิ หนึ่ง ไปขูดบนวสั ดุอีกชนดิ หนง่ึ ถา ทําใหว ัสดุที่ถูกขูด

เกิดรอย แสดงวา วัสดทุ ่ีถกู ขดู นน้ั มคี วามแข็งนอ ยกวาวัสดุท่ใี ชขูด แตถาวัสดทุ ่ีถูกขูดไมเกดิ รอย
แสดงวา วัสดทุ ีถ่ ูกขูดนน้ั มีความแขง็ มากกวา วัสดทุ ีใ่ ชข ดู

2) สมบัติของวสั ดดุ านความเหนยี ว
คาํ ตอบ ระหวา งการทดลองเสนเอน็ กับเสนดา ยในการรบั นา้ํ หนักถงุ ทราย

พบวา เสน เอ็นและเสน ดา ย มีสมบัติความเหนียวที่แตกตา งกนั เสน เอ็นมีความเหนยี วมากกวา
เสน ดา ย เนือ่ งจากเสน เอ็นสามารถรับน้ําหนกั หรอื แรงดึงจากถุงทรายจนวัสดขุ าดพอดี ได
มากกวา เสนดาย

ความเหนียวของวสั ดุ คอื ความสามารถของวสั ดทุ ่ที นทานตอ แรงกระทาํ ที่ทําใหเนอ้ื วัสดุ
แยกขาดแยกขาดจากกนั พอดี

3) สมบตั ิของวัสดดุ า นความยืดหยนุ
คาํ ตอบ จากผลการทดลอง อธิบายไดวา เสนเอ็นสามารถยืดและหดกลับทีเ่ ดมิ

ไดด กี วาเสน เอ็นยดื เม่ือแขวนถุงทรายบนขอเก่ยี ว พบวา เสน เอน็ มีความยามมากกวา เดมิ แตเมื่อ
นาํ ถงุ ทรายออกพบวา ความยาวของเสนเอน็ หลังแขวนถงุ ทราย เทากับความยาวกอนแขวนถงุ
ทราย แตเม่ือทาํ การทดลอง เชนเดียวกันกับเสน เอ็นยืด พบวา ความยาวของเสน เอ็นยืด กอน
และหลงั แขวนถุงทรายไมเทากัน

จากการทดลอง เสนเอ็นหรือเสนเอ็นยืด มีสภาพยืดหยุนมากกวา
สภาพยดื หยนุ ของวัสดุ หมายถึง เม่ือออกแรงกระทาํ ตอ วัสดแุ ลว ทาํ ใหวสั ดนุ ั้น
เกดิ การเปลี่ยนเปลีย่ นรูปรางหรอื ความยาว แตเ มื่อหยดุ ออกแรงกระทํา วัสดสุ ามารถกลบั คืน
สภาพเดิมได

58

5. ใหผ ูเรยี นศกึ ษาคน ควา เพิ่มเติมจากวดี ีทัศน เร่ืองการนําความรอ นโดยสืบคนไดท่ี
https://www.youtube.com/watch?v=aZHRPPK4lI4แลวรวมกลมุ จาํ นวน 3-5 คน
สรุปผลการทดลองและเรยี งลาํ ดับวัสดุนําความรอน ท่ีไดจากผลการทดลองจากมากที่สุดไปหา
นอยท่ีสุด

สรปุ ผลการทดลอง

คาํ ตอบ จากการทดลองการนาํ ความรอนของวัสดุ ทั้ง 5 ชนดิ โดยสังเกต
การละลายของดินนาํ้ มนั ทต่ี ิดทปี่ ลายของวสั ดแุ ตล ะชนิด พบวา ทองแดง เหล็ก อะลมู ิเนียม
สามารถนําความรอนไดดี ซ่งึ ทองแดงจะนําความรอ นไดดที ส่ี ดุ สวนทนี่ ําความรอ นไดไมดี คอื ไม
และแกว

สรุปผลการทดลอง วัสดแุ ตล ะชนิดนาํ ความรอ นไดไมเทากัน ทองแดง เหลก็
อะลมู เิ นียม นําความรอนไดด ี โดยทองแดงนําความรอ นไดด ีกวา เหล็ก และอะลูมิเนียม สวน ไม
และแกว นําความรอนไดไมดี แสดงวา ทองแดง เหล็ก อะลมู เิ นยี ม เปนตัวนําความรอ น สวน
ไมและแกว เปนฉนวนไฟฟา

59

6. ใหผ ูเรียนศึกษาคน ควา เพมิ่ เติมจากวดี ิทัศน เรอื่ งสมบตั ทิ างไฟฟาโดยสบื คนไดท ่ี
https://www.youtube.com/watch?v=icSr3glb3CIแลวรวมกลมุ จํานวน 3-5 คน
สรปุ องคความรูท่ีไดร ับ

สรปุ
คําตอบ สมบัติทางไฟฟา คือ ความสามารถในการนําไฟฟา ของสาร สารตา ง ๆ

มีความสามารถในการนําไฟฟา มากนอยแตกตา งกัน และถานําสมบัตทิ างไฟฟา มาเปน เกณฑใ น
การแบง สาร เราจะสามารถจาํ แนกสาร ออกไดเปน 2 ประเภท คอื ตัวนําไฟฟา และฉนวนไฟฟา

สารทมี่ ีสมบตั เิ ปน ตวั นําไฟฟา คือ สารทยี่ อมใหก ระแสไฟฟา ไหลผาน ซึ่งสว น
ใหญจะเปน ของแขง็ เชน โลหะตา ง ๆ ไดแก เงนิ ทองแดงทองคํา อะลูมเิ นียม สวนสารทเี่ ปน
ของเหลว สามารถนําไฟฟาได เชน นา้ํ เกลอื นาํ้ อดั ลม น้าํ สมสายชู สารทีอ่ ยใู นสถานะแกส จะ
ไมนาํ ไฟฟา ยกเวน อยใู นสถานะความดันต่ํามาก ๆ แกสจะสามารถนําไฟฟา ได

ฉนวนไฟฟา คอื สารท่ไี มย อมใหกระแสไฟฟาไหลผา น เชน ของแข็งท่เี ปนอโลหะ
เชน แกว ไม พลาสตกิ ผา แตข องเหลวบางชนิด มีสมบตั ิ เปน ฉนวนไฟฟาดว ยเชนกัน เชน นํ้า
บรสิ ทุ ธ์ิ และเอทานอล

วัสดทุ นี่ าํ ไฟฟา วสั ดุท่ไี มนาํ ไฟฟา
แกว
เงิน ไม
ทองแดง พลาสติก
ทองคาํ ผา
อะลมู ิเนียม

60

เฉลย กจิ กรรมทา ยหนว ยท่ี 2
การใชป ระโยชนแ ละผลกระทบจากการใชว สั ดุ

คาํ ช้ีแจง : ใหผูเรยี นศกึ ษาจากเอกสารชุดวชิ า และแหลงเรยี นรตู าง ๆ แลวทาํ
กจิ กรรม ตอ ไปนี้

1. อธิบายประโยชนของวัสดปุ ระเภทโลหะจําพวกเหลก็ โดยบนั ทกึ ขอ มลู ลงใน
ชอ งของตารางทกี่ ําหนดให

ชนดิ ของเหลก็ นํามาใชป ระโยชน เนื่องจาก
ตัวอยาง
นําไปใชก ับชนิ้ สวนประเภท เปน เหลก็ กลาไรส นิม
เหล็กกลาไรสนิม
เหล็กเหนียว เสอ้ื ลกู ปน ตลบั ลูกปน สามารถชุบแข็งได ทนการ

เหลก็ ไรส นมิ ชน้ิ สวนปม น้ํา เปนตน เสยี ดสีและการกดั กรอ นไดด ี

เหล็กกลา ผสม อุตสาหกรรมการกอสรา งอาคาร มีความแขง็ แรง

ถนน สะพาน อตุ สาหกรรมบรรจุ ทนทานตอการกัดกรอ น

ภัณฑ อตุ สาหกรรมเครอื่ งจักรกล

อตุ สาหกรรมยานยนต

อตุ สาหกรรมไฟฟา และใชผ ลติ

เคร่ืองใชใ นครัวเรือนตาง ๆ

โรงงานอุตสาหกรรมการผลิต ทนทานตอการกดั กรอ น

อุตสาหกรรมการผลติ อาหารและ นําไฟฟา นําความรอน

เครือ่ งดื่ม อุปกรณเครอื่ งมือ ความเปน เหล็ก

เครือ่ งใชในครวั เรอื น ทเ่ี กี่ยวกับ ทนตอ ชวงอณุ หภมู ิที่กวา ง

อาหาร มีความแข็งแรง เหนยี ว

อุตสาหกรรมยานยนต มีความแข็งแรงทนทานตอ

อตุ สาหกรรมเครอื่ งจักรกล เชน การกดั กรอ นการสึกเหรอ ทน

เฟองเกียร เพลาสง กําลัง เพลาขอ ตอความรอน ทนตอการ

เหวยี่ ง เสียดสี

61

2. อธบิ ายประโยชนของวสั ดปุ ระเภทโลหะนอกจาํ พวกเหลก็ โดยบันทกึ ขอ มูล
ลงในชอ งของตารางทก่ี ําหนดให

ชนิดของโลหะ นํามาใชป ระโยชน เนอื่ งจาก
ตัวอยาง
ใชเ ปน อุปกรณไ ฟฟา เชน สานไฟฟา มคี ณุ สมบตั เิ หนยี วยืดตวั ไดด ี
ทองแดงบริสทุ ธ์ิ
หัวแรงบดั กรี ทอ สงนา้ํ ยาในเคร่ืองทํา สามารถรดี ไดเ ปนแผน บาง
อะลูมิเนียม
ความเยน็ ใชใ นงานเช่ือมประสานและ ถึง 0.01 มม. ถาเปนเสน
ทองเหลอื ง
ตะกว่ั ภาชนะใสข องตาง ๆ และยงั ใชเ ปน ลวดรีดได 0.02มม. และ

ดีบกุ ทองแดงประสมเพอ่ื เพ่ิมคณุ สมบตั ิเดน สามารถนําไปหลอ ใหเปน

ของทองแดงในโลหะประสมตาง ๆ รปู รา งตา ง ๆ ตามตองการ

อตุ สาหกรรมเคมี การผลติ ไฟฉาย อุปกรณ ทนทานตอการกัดกรอนของ

ไฟฟา สายเคเบลิ เครอื่ งใชใ นครัวเรือน กรดและดาง การนาํ ไฟฟา

การทาํ ใหโลหะอน่ื งายตอ

การขึน้ รูป

ชิ้นสวนเคร่อื งมอื กล ชิ้นสว นนาฬิกา ทนตอการกัดกรอนไดดตี อ

อปุ กรณไ ฟฟา งานการแปรรปู ตา ง ๆ

อุตสาหกรรมแบตเตอร่ี อุตสาหกรรม ทนทานตอการกดั กรอนของ

ไฟฟา และอเิ ล็กทรอนิกส เปน ฉนวน กรดและดาง การนําไฟฟา

ปอ งกนั รงั สี การทาํ ใหโ ลหะอืน่ งายตอ

การข้ึนรปู

อุตสาหกรรมไฟฟาและอเิ ล็กทรอนิกส ทนทานตอการกัดกรอนของ

อุตสาหกรรมเหลก็ แผนเคลอื บ ใชผ ลิต กรดและดาง การนําไฟฟา

เคร่อื งใชในครวั เรอื น บรรจุภัณฑ การทําใหโลหะอื่นงายตอ

เครอื่ งประดับ เชน แจกัน เหรียญตรา การขนึ้ รปู

ตา ง ๆ

62

3. อธิบายประโยชนของวสั ดปุ ระเภทพลาสตกิ ที่สามารถนาํ มารไี ซเคลิ ได
โดยบนั ทกึ ขอมลู ลงในชองของตารางทก่ี าํ หนดให

สญั ลักษณ ชนิดพลาสตกิ ประโยชนก ารใชง าน

ตวั อยาง

โพลเิ อทธิลีนเทเรฟทาเลต ภาชนะบรรจุนา้ํ อดั ลม
(Polyethylene เสน ใยสําหรับทําเสอื้ กันหนาว พรม
terephthalate)

โพลเิ อทธิลีนความหนาแนนสงู บรรจภุ ัณฑส าํ หรับนํา้ ยาทําความสะอาด
(High density polyethylene) แชมพูสระผม แปงเด็ก และถงุ หหู ิว้

ขวดใสนํ้ายาซกั ผา

โพลิไวนลิ คลอไรด ทอ นํา้ ประปา สายยางใส
(Poly (vinyl chloride ) แผนฟล ม สําหรบั หออาหาร
มานในหองอาบนาํ้
แผน กระเบื้องยาง แผนพลาสตกิ ปูโตะ
แผน พลาสติกปูโตะ ขวดใสแชมพสู ระผม

โพลเิ อทธลิ นี ความหนาแนนต่าํ ฟล ม สาํ หรับหออาหารและหอ ของ
(Low density polyethylene ) ถุงใสข นมปง และถุงเย็นสําหรับบรรจุ

อาหาร ถงุ ดาํ สําหรบั ใสขยะ ถงุ หหู ิว้
ถังขยะ
โพลโิ พรพลิ ีน (Polypropylene ) กลอ ง ชาม จาน ถงั ตะกรา กระบอก
สําหรบั ใสน า้ํ แชเ ย็น กลอ งแบตเตอร่ีรถยนต
ชน้ิ สวนรถยนต เชน กันชน และกรวย
สําหรบั นํ้ามนั

63

สัญลักษณ ชนดิ พลาสตกิ ประโยชนก ารใชง าน

โพลสิ ไตรีน (Polystyrene ) ภาชนะบรรจุของใช เชน เทปเพลง
สาํ ลี หรือของแหง
พลาสติกอนื่ ๆ นอกเหนือจาก ถาดโฟมสําหรับบรรจอุ าหาร ไมแขวนเส้ือ
พลาสตกิ ทั้ง 6 ชนิด กลองวดี ีโอ ไมบรรทดั หรือของใชอื่นๆ
ทอ่ี าจจะนําพลาสติกหลายชนดิ มักจะนํากลับมารีไซเคิลเปนขวดนํ้า กลอง
มาผสมกนั อาจจะเปนพลาสตกิ และถุงบรรจุอาหาร กระสอบปยุ และ
ประเภทที่มสี วนผสมของสาร ถุงขยะ
BPA โพลีคารบ อเนต หรือ
พลาสติกชวี ฐาน
(bio-based plastics)

64

4. ใหเ ติมขอมูลขยะมลู ฝอยทม่ี าจากแหลง กาํ เนดิ ตา ง ๆ ตามแผนภาพทกี่ าํ หนดให

แหลง กาํ เนดิ ขยะมูลฝอย

ครวั เรือน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม สถานพยาบาล

หลอดไฟ ยาฆา แมลง สารตะก่ัว ขยะตดิ เช้อื

ไดแ ก ถา นไฟฉาย ไดแก มลู ลัตว ไดแก สารปรอท ไดแ ก ผา พนั แผล
แกว ปุย สารหนู เข็มฉดี ยา
กากตะกอนนํ้ามันดบิ สารกมั มันตรงั สี
พลาสตกิ สารเคมี เศษอวยั วะผปู วย
กระเบอ้ื ง น้ําท้ิงจากการทําปศสุ ตั ว น้าํ ท้งิ โรงงานทอผา สี

5. บอกผลกระทบของขยะมลู ฝอยดงั นี้

ผลกระทบตอ สุขภาพ
คาํ ตอบ ความเสี่ยงตอการเกิดโรคการไดรบั สารอนั ตรายบางชนดิ เขา ไปใน
รางกาย อาจทําใหเ จบ็ ปว ยเปน โรคตา งๆ จนอาจถึงตายไดพ ษิ ของขยะอนั ตรายสามารถเขาสู
รางกายของเราได ทางการหายใจ ทางผวิ หนัง
การเกบ็ รวบรวมและการกาํ จดั ขยะมลู ฝอยไมดี หรือปลอ ยปละละเลยทาํ ใหมขี ยะ
มลู ฝอยเหลอื ท้ิงคางไวใ นชมุ ชน จะเปนบอเกิดของเช้ือโรคตา ง ๆ เชน ตบั อักเสบ เชื้อไทฟอยด

ผลกระทบตอ ระบบนิเวศ
คาํ ตอบ ทําใหเ กิดมลพิษของนํา้ มลพษิ ของดนิ มลพษิ ของอากาศ
ระบบนิเวศถกู ทําลายเนอ่ื งจากขยะสวนทีข่ าดการเกบ็ รวบรวม หรือ ไมนาํ มากําจัดใหถูกวธิ ี
ปลอ ยท้งิ คา งไวในพน้ื ที่ของชุมชน เม่อื มีฝนตกลงมาจะไหลชะนาํ ความสกปรก เช้อื โรค สารพิษ

65

จากขยะไหลลงสูแหลงน้ํา ทําใหแหลงน้าํ เกิดเนา เสียไดห ากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสพู ้นื ดนิ
หรอื แหลง นํา้ จะไปสะสมในหว งโซอาหาร เปนอันตรายตอสตั วน้ําและพืชผัก เม่ือเรานาํ ไป
บรโิ ภคจะไดร บั สารนัน้ เขาสูร างกายเหมือนเรากินยาพิษเขาไปอยา งชา ๆ

ถา มกี ารเผาขยะมูลฝอยกลางแจง เชน การเผาพลาสตกิ ถาการลกุ ไหมไ ม
สมบูรณ จะกอใหเกิดกา ซคารบอนมอนอกไซด (CO) ที่จดั เปน กาซพิษออกมาดว ย
ทาํ ใหเ กิดควันมสี ารพิษทาํ ใหค ณุ ภาพของอากาศเสีย เปน ตน

6. จงกาเครือ่ งหมายหนาขอความที่เห็นวา ถกู ตอ ง และกาเครอ่ื งหมาย  หนาขอความ
ท่เี หน็ วาผดิ เก่ียวกบั การเลอื กซ้อื สนิ คา ทเ่ี ปนมติ รตอ สง่ิ แวดลอ ม

………….. 1. ใชว ัสดทุ มี่ ผี ลกระทบตอสงิ แวดลอ มนอ ย เชน วัสดุทไี่ มม พี ษิ
วัสดหุ มุนเวียนทดแทนได วัสดุรีไซเคิล และวสั ดทุ ใ่ี ช
พลงั งานตาํ่ ในการจัดหามา

………….. 2. ใชว สั ดทุ ี่มนี า้ํ หนกั เบา ขนาดเลก็ มีจาํ นวนประเภท
ของวัสดุนอ ย

………….. 3. เปน วัสดทุ ใี่ ชท รพั ยากรและพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ
ในการผลิต ใชพ ลงั งานทส่ี ะอาด ลดการเกดิ ของเสียจาก
กระบวนการผลิต และลดขน้ั ตอนของกระบวนการผลติ

………….. 4. ใชเสน ทางการขนสง ท่ปี ระหยดั พลงั งานทีส่ ุด

…………. 5. ใชพ ลงั งานสงู

………….. 6. ทนทาน ซอ มแซม รักษา ปรับปรงุ ตอ เติมได ไมตอ ง
เปลี่ยนบอย

………….. 7. มีการออกแบบใหน ําสนิ คา หรือชิ้นสว นกลับมาใชซ้าํ หรอื
หมนุ เวยี นใชใหมไดงาย

…………. 8. สง ผลกระทบตอสงิ่ แวดลอมมากในชวงใดของวฏั จกั รชวี ิต

66

เฉลย กจิ กรรมทายหนวยท่ี 3
การจดั การเศษซากวสั ดุ

คําชี้แจง : ใหผูเ รียนศกึ ษาจากเอกสารชุดวิชา และคนควา เพม่ิ เติมจากสือ่ และแหลง
เรียนรูตาง ๆ แลว ทาํ กจิ กรรมตอ ไปนี้

1. เขียนรายงานหอขอ เรอื่ ง “หลกั 3 R ในการจดั การวัสดทุ ใ่ี ชแลว ในชวี ติ ประจําวนั ”
2. อธิบายหลกั สาํ คญั ในจดั การวัสดทุ ใี่ ชแลวในรปู ภาพวงกลมดานลางนี้

การเกบ็ รวบรวมวัสดุและการขนสง เพื่อทจ่ี ะ
นําเอาวัสดุท่ใี ชแลว ออกจากแหลง กําเนิด เพือ่ ลด
ผลกระทบตอ สุขภาพอนามยั และสิง่ แวดลอม

กระบวนการใชประโยชนดว ยวิธีการ หลักการสําคญั
ตา ง ๆ เพื่อการใชประโยชนจากขยะ 3 ประการ
มูลฝอยในรปู แบบการนาํ กลบั มาใช
ใหม เชน การทําปุย หรอื การนํามา ในการจัดการวัสดุ
ผลติ พลังงาน หรือ จะนํารูปแบบการ
ลด คัดแยก และใชป ระโยชนจ าก การกําจดั มีวตั ถุประสงค เพ่อื กาํ จัดสว นท่ี
ขยะมูลฝอยใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุด เหลือจากการใชป ระโยชน ในปจจุบนั
โดยการใชหลกั 3R ตามความ วธิ ีการจํากดั ขยะอยางงาย ๆ มี 2 วธิ ี โดย
เหมาะสม การเผาไหม และการฝงกลบ ซ่งึ ทงั้ 2 วธิ ี
ตอ งทําใหถ กู ตอ งตามหลักสุขาภบิ าล เพอ่ื
ปองกันปญ หาทีจ่ ะเกิดขน้ึ กบั สิ่งแวดลอ ม

67

3. ใหน ักศกึ ษานาํ ตวั อกั ษรทอ่ี ยดู า นหนาคาํ ตอบดานขวามือมาเติมลงในชองวา ง
ดา นซายมือ ใหถ ูกตอง

………ง………1. เปลอื กสม ก. 5 วัน – 1 เดือน
.........ฉ........2. กนกรองบุหรี่ ข. 3 เดือน
.........ฌ........3. ถงุ พลาสติก ค. 2 - 5 เดือน
.........ก.........4. เศษพืชผกั ง. 6 เดือน
.........ณ.........5. โฟม จ. 5 ป
.........ฐ.........6. ผาออมเด็กชนดิ สาํ เรจ็ รปู ฉ. 12 – 15 ป
.........ช.........7. รองเทา หนัง ช. 25 – 40 ป
.........ญ.........8. ขวดพลาสติก ซ. 80 – 100 ป
..........ค........9. เศษกระดาษ ฌ. 450 ป
..........ซ.......10. กระปองอลมู เิ นียม ญ. 450 ป
..........ข.......11. ใบไม ฐ. 500 ป
..........จ.......12. กลองนมเคลอื บพลาสตกิ ณ. ไมยอ ยสลาย

68

4. อธบิ ายวธิ กี ารมสี ว นรวมในการลดปริมาณขยะทเ่ี กดิ ขึ้นในครอบครวั และชุมชน
ดวยหลัก 3R

คาํ ตอบ เราควรมสี วนรวมในการลดปริมาณขยะท่ีจะเกิดขึน้ โดยเรม่ิ ตนจาก
ครอบครวั โดยตวั เราตองตระหนัก เหน็ ความสําคัญ และมสี วนรว มลงมอื ปฏิบัติในการลด
ปรมิ าณขยะในครัวเรือน โดยนําหลกั การลดปรมิ าณขยะดว ยหลัก 3R ดังน้ี

Reduce การใชน อ ยหรือลดการใช ดังนี้
1) หลีกเลีย่ งการใชส ่ิงของฟมุ เฟอ ย ใชถ งุ ผาแทนถงุ พลาสติก
2) เลือกใชสินคาท่มี ีคุณภาพ มีอายุการใชง านไดย าวนาน
3) เลือกใชผลติ ภณั ฑทส่ี ามารถนํากลับมาใชใ หมได
4) หลีกเลย่ี งการใชส ารเคมีภายในบาน

Reuse ใชซ้ํา ดงั นี้
1) เลอื กใชผลติ ภัณฑทใี่ ชไ ดนาน เชน แกว ใส หรือแกวเซรามิค เมอ่ื ใชแ ลว
ลา งทาํ ความสะอาด พึ่งแดดใหแ หง นํากลบั มาใชซํา้ ไดอ กี
2) ใชก ระดาษใหครบ 2 หนา เพอื่ ความประหยดั และลดปรมิ าณขยะ

Recycle การแปรรูปนาํ กลับมาใชใหม ดังน้ี
1) จัดใหม ีภาชนะรองรับขยะในครวั เรือน กอ นทิง้ ขยะคิดกอ นทกุ ครั้ง ทง้ิ ขยะ
ใหถ กู ที่ และมีการคัดแยกขยะ เพอ่ื รวบรวม คดั แยกขยะในแตล ะชนิด ซึง่ สามารถนาํ ไปขาย
เปนการสรา งรายไดเสริม และเปนการสง ตอ ไปยงั โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป เพอื่ ผลติ
นาํ กลับมาใชใ หมไ ด นับวา เปน การชว ยลดปริมาณขยะไดอกี วิธี
2) นาํ ขยะที่คัดแยกไว บางชนิดมาใชประโยชน เชน นําขวดโคกมาประดษิ ฐเปน
แจกนั ปลกู ตนไม สรา งความรม รื่นในครอบครัว

69

5. จงกาเครื่องหมาย หนาขอความทเี่ หน็ วา ถกู ตอง และกาเครอื่ งหมาย
หนา ขอความทเี่ หน็ วา ผดิ เกีย่ วกบั การจดั การวัสดุ

………….. 1. การกาํ จัดวสั ดุ มีวธิ กี ารกําจดั อยา งงา ย 2 วธิ ี คือ การเผาไหม
และการฝง กลบ

………….. 2. โฟมเปนวสั ดทุ ่ีไมย อ ยสลาย จงึ ควรหลกี เลีย่ งการใชโฟม

………….. 3. การนํายางรถยนตม าประดิษฐเปนมานง่ั กระถางยางรถยนต
เปนการชวยลดปรมิ าณขยะ

………….. 4. ภาชนะรองรบั ขยะ สเี ขยี ว รองรบั ขยะอันตราย

………….. 5. ภาชนะรองรับขยะ สแี ดง รองรับขยะท่วั ไป

………….. 6. เราควรทงิ้ หลอดฟลูออเรสเซนต ลงในถงั ขยะสีเขยี ว เพือ่ นาํ ไป
ทาํ การรีไซเคิล

………….. 7. เตาเผาแบบเชิงตะกอน เปน เตาเผาแบบงายที่สดุ สาํ หรับ
เผาเศษวัสดุในครัวเรือนขนาดเลก็ ไมค วรทาํ ในชุมชน

………….. 8 เตาเผาแบบตะกรับเคล่อื นที่ ทําใหเศษวัสดทุ ี่ถกู เผาไหม
ถูกเผาไดส มบูรณ มากกวา เตาเผาแบบเชิงตะกอน

70

เฉลย กจิ กรรมทา ยหนว ยที่ 4
การคดั แยกและรไี ซเคิลวสั ดุ

คาํ ชแี้ จง : ใหผ เู รยี นศกึ ษาคนควาเพิม่ เตมิ จากสอื่ และแหลง เรยี นรตู างๆ ตามท่ี
แนะนําไวทา ยหนว ยการเรียนรูในชดุ วชิ า แลว ทาํ กจิ กรรมตอ ไปน้ี

1. จงอธบิ ายวธิ กี ารคดั แยกขยะวัสดแุ ตละประเภท และการนําไปใชป ระโยชน

ประเภทของวสั ดุ วธิ กี ารคดั แยก การนาํ ไปใชป ระโยชน
กระดาษ - แยกประเภทกระดาษ เชน - การแยกประเภทกระดาษ
กระดาษสํานักงาน กระดาษ ทาํ ใหงายตอ การนาํ ไปรีไซเคิล
หนังสอื พิมพ กลองกระดาษ โดย และขายไดร าคาสงู
อาจมัดรวมกนั ในแตละประเภท
- ดงึ รบิ บ้ิน สตก๊ิ เกอร ลวดเสยี บ
ออกจากกระดาษ

- แยกประเภทพลาสติก โดยสงเกต - เพ่ืองา ยตอการสง ตอไป

จากสญั ลักษณบ รรจุภณั ฑป ระเภท รไี ซเคิล ขวดพลาสติก

ขวดพลาสตกิ บางชนดิ สามารถนาํ กลบั มา

- นาํ ฝาออก เมน้าํ ออกใหห มด หลอมข้ึนรปู กลบั มาใชใ หมได

- ถาขวดสกปรก ควรลางส่งิ สกปรก โดยดจู ากเครื่องหมายรไี ซเคิล

ออกใหหมด และมตี วั เลขอยขู างใน

พลาสตกิ - แยกขวดสแี ละขวดใสออกจากกัน

- นําฝาขวดออก เพราะไมส ามารถ - ควรแยกสีของขวดแกว
นําไปรไี ซเคิลรวมกับแกวได เพราะราคาขายจะไดร าคาสงู
- หลงั การบรโิ ภค ควรลางดว ยน้ํา - ขวดแกว จะถูกคัดแยกสี
เล็กนอ ย นํามาผานกระบวนการ
- ควรแยกสขี องขวดแกว รไี ซเคลิ โดยผา นกระบวนการ

71

ประเภทของวัสดุ วิธีการคดั แยก การนําไปใชประโยชน
ขวดแกว เก็บใสใ นกลอ งกระดาษ เพื่อ หลอมใหม
ปอ งกนั การแตกหัก
อะลูมิเนียม
- ฝาปดและกระปอ ง ดึงแยกเก็บ - นํากระปองไปรีไซเคิล
ตา งหาก เปน การชว ยลดปริมาณขยะ
- หลงั จากท่ีบริโภคเครอ่ื งด่ืมแลว ลดมลพษิ ใหกับส่งิ แวดลอ ม
ใหเทของเหลวออกใหห มด เพอื่
ไมใ หเ กดิ กลน่ิ และปอ งกนั แมลง
- ไมควรทิง้ เศษวสั ดุลงในขวด
- ควรเหยียบกระปอ งใหแบน เพอ่ื
ประหยดั พ้ืนที่ในการจัดเกบ็

2. เติมคาํ ลงในชอ งวางใหตรงกบั สญั ลกั ษณข องภาพ

สญั ลักษณทต่ี ิดอยบู นผลิตภณั ฑค วามหมายวา
นาํ ไปรไี ซเคิลได

สญั ลักษณท ีต่ ิดอยูบ นผลติ ภัณฑค วามหมายวา
ทําจากวสั ดุรีไซเคิล

สญั ลักษณท่ีตดิ อยูบนผลติ ภณั ฑค วามหมายวา
กระดาษผสม สวนมากจะนํามารีไซเคลิ เปน กระดาษ
สาํ หรับแมกกาซีน หนังสือพมิ พ หรอื ซองจดหมาย
เปนตน

72

สัญลกั ษณท ตี่ ิดอยบู นผลติ ภัณฑความหมายวา
สญั ลกั ษณก ารรไี ซเคลิ เหล็ก

สัญลักษณทีต่ ิดอยูบ นผลิตภณั ฑค วามหมายวา
สัญลกั ษณการรีไซเคิล แกว ผสม ทีเ่ กิดจากวสั ดุตา ง ๆ

73

3. โยงเสน จบั คสู ญั ลกั ษณก ับรูปภาพพลาสตกิ รไี ซเคลิ ตอ ไปนใี้ หต รงกนั

1. ก.
2. ข.

3. ค.
4. ง.
5. จ.
6. ฉ.
7. ช.

74

4. จงกาเครอ่ื งหมาย หนาขอ ความท่เี หน็ วา ถกู ตอ ง และกาเครอ่ื งหมาย 
หนา ขอ ความทเี่ ห็นวาผดิ เกยี่ วกบั การคดั แยกและรวบรวมวัสดุ

………….. 1. การคดั แยกวัสดุ เพอื่ ใหส ามารถนํากลบั มาใชประโยชนได

………….. 2. การคัดแยกวัสดุเปนหนาท่ีขององคการปกครองสวนทองถิ่น

………….. 3. ควรแยกวัสดทุ ี่คัดแยกในถงั รองรับวสั ดแุ ยกประเภท
ทีห่ นวยงานราชการกาํ หนด

………….. 4. จดั เก็บวัสดุทท่ี าํ การคัดแยก ไวโรงครัว เพอื่ ความสะดวก

………….. 5. การจัดเกบ็ วัสดอุ ันตราย เปนสัดสว นแยกตางหากจากวัสดุ
อืน่ ๆ

………….. 6. ภาชนะหรอื ถงั ทเี่ ก็บวัสดุอันตราย ตอ งปดฝามดิ ชิด ไมร ัว่ ไหล

………….. 7. พลาสตกิ ควรแยกขวดใสและขวดสี งายตอการนาํ ไปรีไซเคลิ
หรอื ประดษิ ฐเ ปน ดอกไม แจกนั และขาย

………….. 8. กอ นทิง้ แกว นา้ํ กาแฟลงในถังขยะ ควรเทน้าํ ออกจากแกว ให
หมดกอนทง้ิ แกวกาแฟ เพื่อปองกนั การเนาของเคร่ืองดื่ม

………….. 9. การคดั แยกขวดแกวควรแยกสขี องแกว จะขายไดร าคาดี

………….. 10. ไมค วรทิ้งเศษวสั ดุลงในขวดแกว กอนทง้ิ ลงในถังขยะ

………….. 11. ควรเหยยี บกระปอ งใหแบน เพอื่ ประหยดั พ้นื ทใ่ี นการจดั เก็บ

………….. 12. การคดั แยกกระดาษ ตอ งนาํ ลวดเสยี บ เทปกาวออกใหหมด

75

5. ใหผ ูเรยี นทํารายงานการคดั แยกขยะในครวั เรอื น ที่ผเู รียนไดทาํ ใน 1 เดือน
ตามหวั ขอตอ ไปน้ี

5.1 ประเภทของขยะ
5.2 วธิ ีการคดั แยก
5.3 ประโยชนท ี่ไดร บั จากการคดั แยกขยะ

แนวตอบ ผูเรยี นศึกษา หนว ยการเรียนรูที่ 4 การคดั แยกและการรไี ซเคิลวสั ดแุ ละ
สื่อการเรียนรอู ืน่ ๆ เชน อนิ เตอรเน็ต หองสมุดประชาชน เปนตน

76

เฉลย หนว ยการเรียนรทู ี่ 5
การจดั การวสั ดอุ นั ตราย

คาํ ชี้แจง : ใหผ ูเรียนศกึ ษาจากเอกสารชดุ วชิ า และคนควาเพ่มิ เติมจากสอ่ื
แหลงเรียนรตู า งๆ แลว ทํากจิ กรรมตอ ไปนี้

1. จงบอกความหมายของวสั ดอุ นั ตราย พอสังเขป
คําตอบ วสั ดอุ นั ตราย หรือ วัสดุที่ไมใชแ ลว คอื ผลิตภณั ฑทเี่ สอ่ื มสภาพ หรือปนเปอ น

วัตถสุ ารเคมอี ันตรายชนดิ ตา ง ๆ ท่มี ีลักษณะเปนสารพษิ ไวไฟ สารเคมที ก่ี ดั กรอนได สาร
กัมมันตรงั สีหรือเช้อื โรคตาง ๆ ที่ทาํ ใหเกิดอันตราย แก บุคคล สตั ว พืช ส่ิงแวดลอม เชน
ถานไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต แบตเตอรร โ่ี ทรศัพทเคลื่อนที่ กระปองบรรจสุ ี สารเคมี
ภาชนะบรรจุสารกาํ จัดศัตรูพืช

2. ใหเ ตมิ ขอ มลู ตัวอยา งขยะอนั ตราย แตล ะประเภท ลงในชองสเ่ี หลย่ี ม ตามแผนภาพ
ทีก่ ําหนดให

ขยะอนั ตราย

ขยะติดเชอื้ ขยะมีพษิ ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส

ผาพนั แผล ถา นไฟฉาย ซากเคร่อื งใชไฟฟา
เขม็ ฉดี ยา หลอดฟลอู อเรสเซนต ซากอเิ ล็กทรอนิกส

เศษอวัยวะ แบตเตอรี่ อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
ทหี่ มดอายุ

77

3. บอกแนวทางในการจดั การขยะมพี ษิ พอสงั เขป
คาํ ตอบ 1) จดั หาภาชนะรองรับของเสยี อันตรายท่มี ีฝาปด ไมร่วั ซึมและเหมาะสมกับ

ประเภทของของเสียอันตราย
2) ไมท ง้ิ ของเสยี อนั ตรายประเภทนา้ํ มนั เครื่อง ทนิ เนอร นํ้ามนั สน น้ํายาฟอก

ขาวนา้ํ ยาทําความสะอาด นาํ้ ยาลางรปู หมึกพมิ พ ของเสียติดเช้ือ สารเคมีจากหอ งปฏิบัติการ
หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉาย ฯลฯ รวมไปกบั ขยะมูลฝอยท่วั ไป

3) ไมทงิ้ ขยะมพี ิษ ลงพื้น ไมฝ ง ดนิ ไมทิง้ ลงทอ ระบายนํ้าหรือแหลง นาํ้
4) แยกเกบ็ ของเสยี อันตรายไวใ นภาชนะเดิมท่ีรว่ั ซมึ เพือ่ รอหนว ยงานทอ งถิ่น
มาเกบ็ ไปกาํ จดั หรอื
5) นําไปทง้ิ ในภาชนะทีท่ อ งถ่ินจัดทําให หรือนาํ ไปทิง้ ในสถานท่ีท่ีกาํ หนด

4. เติมคําลงในชอ งวางใหต รงกบั สญั ลกั ษณข องภาพ

สญั ลกั ษณทีต่ ดิ อยบู นผลติ ภณั ฑค วามหมายวา
สารไวไฟ จะพบเหน็ บนภาชนะท่บี รรจุกา ซหุงตม
นํา้ มันเชอ้ื เพลงิ ทนิ เนอร ผลกาํ มะถัน

สญั ลกั ษณท ี่ติดอยูบนผลติ ภัณฑความหมายวา
สารมพี ษิ จะพบเห็นบนภาชนะบรรจุภณั ฑป ระเภท
นาํ้ ยาลางหอ งนา้ํ สารฆา แมลง สารปรอทในหลอดฟลอู อ
เรสเซนต

สัญลกั ษณท ีต่ ิดอยูบนผลิตภัณฑความหมายวา
สารกดั กรอน จะพบเหน็ บนภาชนะบรรจุนํา้ กรด
ในแบตเตอร่รี ถยนต หรือ น้ํายาทาํ ความสะอาด

78

5. จงบอกผลกระทบตอ สุขภาพ เมื่อสารพษิ จากวัสดเุ ขา สูร า งกาย โดยบนั ทึกขอ มูล

ลงในชอ งของตารางทก่ี าํ หนดให

ผลติ ภณั ฑ สารพษิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ

เมอ่ื สารพษิ เขาสรู า งกาย

- ปวดศรษี ะ งว งนอน ออ นเพลีย

สารแมงกานีส ซึมเศรา

- อารมณแปรปรวน จิตใจไมสงบ

ประสาทหลอน

ถา นไฟฉาย - เกดิ ตะคริวท่ีแขน ขา
- สมองสับสน สมองอกั เสบ

หลอดฟลอู อเรสเซนต สารปรอท - เกดิ การระคายเคืองตอ ผิวหนงั
สารตะกว่ั - เหงอื กบวม อกั เสบ เลอื ดออกงา ย
ปวดทอง ทอ งรวงอยางรนุ แรง
- กลา มเนอ้ื กระตกุ หงุดหงิด โมโหงาย

- ปวดศรษี ะ ออนเพลีย ตวั ซีด
- ปวดทอง ปวดกลามเนอ้ื
- ความจําเส่อื ม ชกั กระตกุ หมดสติ

แบตเตอรร่ี ถยนต

สารพิษอื่นๆ - เกดิ การระคายเคืองตอผิวหนัง
คัน หรือ บวม
- ปวดศรีษะ หายใจขดั เปนลม

สเปรย

79

6. จงกาเครอ่ื งหมาย หนาขอความท่เี ห็นวา ถูกตอง และกาเครอื่ งหมาย 
หนาขอ ความที่เหน็ วา ผดิ เกีย่ วกบั วธิ กี ารทจ่ี ะชว ยลดปญ หาวัสดุทเ่ี ปน พิษตอสงิ่ แวดลอ ม

………….. 1. เลิกหรอื หลีกเลยี่ งการใชผ ลิตภัณฑท ีม่ ีสารอันตราย
………….. 2. เลือกใชส นิ คาท่มี มี าตรฐานในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ ม เชน

สังเกตฉลากเขยี ว
………….. 3. เลือกซ้ือสนิ คาตามคําโฆษณาวาดีจริง ไมท ําลายสงิ่ แวดลอ ม

………….. 4. เลือกใชส ารสกดั จากธรรมชาตแิ ทน สารเคมสี ังเคราะห

………….. 5. เลอื กใชผลิตภัณฑท ่ีมคี ุณภาพ อายกุ ารใชงานยาวนาน

………….. 6. การจัดเก็บวสั ดุอนั ตราย เปน สดั สว น ใหพ น กบั มือเด็ก

………….. 7. การจัดเก็บวสั ดอุ ันตราย เปนสดั สว นแยกตางหากจากวสั ดุอน่ื

………….. 8. กาํ จัดวสั ดุอนั ตรายเอง ดว ยการเผา บริเวณหลงั บาน

………….. 9. จัดเกบ็ วสั ดุอันตรายในภาชนะ ปด ฝาใหส นทิ ปองกันการ
แตกหกั รั่วซึม

………….. 10. ตอ งทงิ้ วสั ดุอันตรายในภาชนะรองรับขยะสีนาํ้ เงิน รวมกับ
ขยะทว่ั ไป เพือ่ ลดตนทุนการขนสง

80

7. ใหผ ูเ รียนเขยี นแนวปฏบิ ัติในการลดปญ หาวสั ดทุ ี่เปนพษิ ตอ สิง่ แวดลอ ม ที่ผเู รยี นไดป ฏบิ ัตใิ น
ภาคเรยี นน้ี มาพอสังเขป

แนวตอบ ผเู รยี นศกึ ษาคนควา หนวยที่ 5 การจดั การวัสดอุ ันตราย เรอื่ งท่ี 3 วิธกี าร
ที่จะชว ยลดปญ หาวัสดทุ เี่ ปนพษิ ตอสิ่งแวดลอม และสอ่ื การเรยี นรูอื่น ๆ เชน อินเตอรเน็ต
หอ งสมุดประชาชน เปนตน

81

เฉลย แบบทดสอบกอ นเรียน

1. ข. เปนการศกึ ษาองคค วามรูที่เกย่ี วขอ งกับวสั ดุทีน่ ํามาประกอบกนั เปน ชิ้นงาน
2. ก. เหลก็ ทองแดง
3. ง. ไม เสนใย
4. ก. ความทนทานตอการขีดขว น
5. ก. วัสดุ ก แข็งกวา วสั ดุ ข
6. ค. เหลก็ ทองแดง แกรไฟต
7. ค. ทนความรอ น
8. ข. ยางรัดของ
9. ข. เหล็ก
10. ค. ความยืดหยุน
11. ก. นําไฟฟา ไดด ี
12. ก. พลาสตกิ ไม ผา
13. ก. สมบตั ิของวสั ดุ
14. ค. แขง็ แรง และทนความรอนไดด ี
15. ง. ขอ ก และ ขอ ข ถูก
16. ค. กระทะ
17. ข. ทองแดง
18. ง. ทุกขอ เปนแหลง กําเนิดขยะมูลฝอย
19. ข. หวงโซอ าหารถกู ทาํ ลาย
20. ง. นาํ ขยะไปปลอ ยลงน้ํา เพือ่ ใหชุมชนไมมีขยะ
21. ก. การเพมิ่ ข้ึนของอุณหภูมบิ นโลก
22. ก. เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ
23. ง. ตอ งใชอ ยา งประหยดั และจําเปน เพราะทาํ ลายยาก
24. ค. การนาํ ขยะพลาสตกิ มาเผาไฟ
25. ง. สรางจติ สํานึกใหค นรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
26. ง. ความรอนจะสลายสารออกมาปนออกมาปนกับอาหารได
27. ง. ถกู ทุกขอ

82

เฉลย แบบทดสอบกอ นเรียน (ตอ )

28. ง. ขยะเปยกนาํ ไปหมกั ทาํ ปยุ
29. ง. ถูกทุกขอ
30. ข. การยอยสลาย
31. ข. ใชซ ้ําผลติ ภัณฑ
32. ค. แปรรูปนาํ กลบั มาใชใ หม
33. ก. Reduce
34. ข. ดี เลอื กซอ้ื แชมพูสระผมทบ่ี รรจุเปน ซองแบงขาย
35. ข. ถังสแี ดง
36. ข. ท้ิงเศษอาหารเพื่อใชท ําปยุ หมกั
37. ค. เตาเผาแบบตะกรับเคลอื่ นท่ี
38. ง. ถกู ทุกขอ
39. ก. เราควรคัดแยกวัสดุ เพอ่ื ใหงายตอการนาํ ไปรไี ซเคิลและการกําจัดอยางถูกวิธี
40. ก. ขวดพลาสติก แกวนํ้า ขวดโคก
41. ง. ถูกทุกขอ
42. ข. นาํ วสั ดอุ นั ตราย โยนลงในถงั ขยะทั่วไป เพ่อื นําไปท้ิง
43. ค. ไมควรท้งิ กนบุหรล่ี งในขวดแกว ตอ งทาํ ความสะอาดกอนรวบรวม

44. ง.

45. ง.

46. ก.

47. ง.

83

เฉลย แบบทดสอบกอนเรยี น (ตอ)

48. ก. เปนพลาสติก ท่ีสามารถนํามารีไซเคิลขวดนํ้าพลาสติกชนิดออ น ใชไดค รั้งเดยี ว
49. ก. คือผลิตภณั ฑทีเ่ สือ่ มสภาพหรอื ปนเปอ นสารเคมอี ันตรายตา งๆ เชน หลอดไฟ
50. ค. มี 3 ประเภท ขยะติดเชื้อ ขยะมีพษิ ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส
51. ก. ถานไฟฉาย กระปองยาฆา แมลง หลอดฟลอู อเรสเซนต
52. ก. ซากเครอื่ งใชไฟฟา แบตเตอรี่ อุปกรณอิเลก็ ทรอนิกส
53. ง. โรงพยาบาล สถานพยาบาล
54. ค. จัดหาภาชนะรองรบั ของเสยี อันตราย มีฝาปดมิดชิด ไมร ว่ั ซึม
55. ข. ปวดศรษี ะ ออ นเพลีย ชกั กระตุก หมดสติ
56. ค. ขายเพื่อนําไปรีไซเคิล

57. ข.

58. ค. ใบตอง
59. ง. ถูกทุกขอ
60. ค. ทุกคนในชุมชน

84

เฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน

1. ข. เปนการศกึ ษาองคความรูท ่ีเก่ียวขอ งกบั วัสดุทน่ี ํามาประกอบกนั เปน ชิน้ งาน
2. ก. ความทนทานตอ การขีดขวน
3. ง. ไม เสนใย
4. ก. เหลก็ ทองแดง
5. ก. วสั ดุ ก แขง็ กวาวัสดุ ข
6. ค. เหลก็
7. ข. ยางรดั ของ
8. ค. เหลก็ ทองแดง แกรไฟต
9. ค. ทนความรอน
10. ข. ความยืดหยุน
11. ข. นาํ ไฟฟา ไดดี
12. ก. พลาสตกิ ไม ผา
13. ก. สมบัติของวสั ดุ
14. ค. แข็งแรง และทนความรอ นไดด ี
15. ง. ขอ ก และ ขอ ข ถูก
16. ค. กระทะ
17. ข. ทองแดง
18. ง. ทกุ ขอเปนแหลง กาํ เนิดขยะมลู ฝอย
19. ข. หว งโซอาหารถกู ทาํ ลาย
20. ก. การเพิม่ ข้ึนของอุณหภมู บิ นโลก
21. ง. นําขยะไปปลอยลงนํ้า เพื่อใหช มุ ชนไมมขี ยะ
22. ก. เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ
23. ง. ตอ งใชอยา งประหยัดและจําเปนเพราะทําลายยาก
24. ค. การนาํ ขยะพลาสตกิ มาเผาไฟ
25. ง. ความรอนจะสลายสารออกมาปนออกมาปนกับอาหารได

85

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (ตอ)

26. ง. ถกู ทุกขอ
27. ง. ขยะเปย กนาํ ไปหมกั ทาํ ปุย
28. ง. สรางจติ สํานึกใหค นรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
29. ง. ถูกทุกขอ
30. ข. การยอ ยสลาย
31. ข. ใชซ้ําผลิตภัณฑ
32. ค. แปรรูปนํากลับมาใชใ หม
33. ก. Reduce
34. ข. ดี เลอื กซอื้ แชมพูสระผมท่บี รรจเุ ปน ซองแบง ขาย
35. ข. ถังสีแดง
36. ข. ท้ิงเศษอาหารเพ่อื ใชท าํ ปยุ หมัก
37. ค. เตาเผาแบบตะกรับเคลอื่ นที่
38. ง. ถูกทกุ ขอ
39. ก. ขวดพลาสติก แกว นา้ํ ขวดโคก
40. ก. เราควรคดั แยกวัสดุ เพื่อใหง ายตอการนําไปรีไซเคิลและการกาํ จัดอยา งถกู วิธี
41. ง. ถกู ทกุ ขอ
42. ค. ไมควรทิ้งกนบุหรลี่ งในขวดแกว ตอ งทําความสะอาดกอ นรวบรวม
43. ก. นําวัสดอุ ันตราย โยนลงในถังขยะทว่ั ไป เพื่อนาํ ไปทิ้ง

44. ง.

45. ง.

46. ก.

86

เฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น (ตอ)

47. ง.
48. ก. เปน พลาสติก ทส่ี ามารถนาํ มารไี ซเคลิ ขวดน้ําพลาสติกชนิดออ น ใชไดคร้งั เดียว
49. ก. คือผลติ ภณั ฑทเี่ สอ่ื มสภาพหรอื ปนเปอ นสารเคมีอันตรายตา งๆ เชน หลอดไฟ
50. ค. มี 3 ประเภท ขยะติดเช้ือ ขยะมีพษิ ขยะอิเล็กทรอนกิ ส
51. ข. ถา นไฟฉาย กระปองยาฆาแมลง หลอดฟลอู อเรสเซนต
52. ก. ซากเครอื่ งใชไฟฟา แบตเตอรี่ อปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนิกส
53. ก. จดั หาภาชนะรองรับของเสียอนั ตราย มีฝาปดมดิ ชิด ไมร่ัวซมึ
54. ง. โรงพยาบาล สถานพยาบาล
55. ข. ปวดศรษี ะ ออนเพลีย ชกั กระตุก หมดสติ
56. ค. ขายเพอ่ื นาํ ไปรีไซเคลิ

57. ข.

58. ค. ใบตอง
59. ค. ทกุ คนในชมุ ชน
60. ง. ถูกทุกขอ

87

คณะผูจัดทําตนฉบับ

ที่ปรกึ ษา ผอู าํ นวยการสถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
นายวเิ ชยี รโชติ โสอุบล รองผูอํานวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
นายทรงเดช โคตรสิน

ผเู ชี่ยวชาญเนอื้ หา
ผชู วยศาสตราจารย ดร.ฐิติพงษ อุนใจ อาจารยประจาํ วชิ าฟส ิกส คณะวทิ ยาศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี

ผเู ชยี่ วชาญดา นเทคโนโลยี ครู วิทยฐานะครูชํานาญการพเิ ศษ
นายสทิ ธพิ ร ประสารแซ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ครู วิทยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษ
นายไพจติ ร ผดุ เพชรแกว สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ครู วทิ ยฐานะครูชํานาญการพิเศษ
นายสชุ าติ สวุ รรณประทปี สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ครู วิทยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษ
นายสมชาย คําเพราะ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

ผูเช่ยี วชาญดานวัดและประเมินผล ครู วิทยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษ
นางสาวนาลีวรรณ บุญประสงค สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
ครู วทิ ยาฐานะครูชํานาญการพเิ ศษ
นางสาวฉันทลักษณ ศรีผา สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการพิเศษ
นางแสงจนั ทร เขจรศาสตร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

88

คณะบรรณาธกิ าร ตรวจสอบความถกู ตอ งและพสิ จู นอ กั ษร

ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ฐิตพิ งษ อนุ ใจ อาจารยประจาํ วชิ าฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี

นางลัดดา คมั ภรี ะ ครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการพเิ ศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

นางสาววภิ านิตย สขุ เกษม ครู วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

นางนิทรา วสุเพญ็ ครู วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ

สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

นางสวุ ิมล ทรงประโคน ครู วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

นางทวีภรณ บญุ ลา ครู วิทยฐานะครชู าํ นาญการพิเศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

นางแสงจนั ทร เขจรศาสตร ครู วิทยฐานะครูชาํ นาญการพเิ ศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

นางสาวธนาภรณ แสงใส ครู

กศน.อําเภอวาปปทุม

นางศรญั ญา โนนคูเขตโขง ครู

สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

นางอรญั ญา บวั งาม ขา ราชการบาํ นาญ

สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผเู ขียน/รวบรวม/เรียบเรยี ง ครู
นางสาวธนาภรณ แสงใส กศน.อําเภอวาปปทุม จงั หวดั มหาสารคาม

ผอู อกแบบปก กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและ
นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป การศึกษาตามอธั ยาศัย


Click to View FlipBook Version