The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กศน. 5 ดี พรีเมี่ยม (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กศน. 5 ดี พรีเมี่ยม (2)

กศน. 5 ดี พรีเมี่ยม (2)




คำนำ

การพฒั นาศักยภาพกำลังคนของประเทศ ถือไดว าเปนภารกจิ หนา ทที่ ส่ี ำคญั มากทส่ี ุดประการหน่ึง
ที่รัฐบาลจะตองดำเนินการใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อใหเปนพื้นฐานของการพัฒนาประเทศในมิติตางๆ
อยางเปนระบบ รัฐบาลไทยภายใตการนำของ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดกำหนด
นโยบายที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายที่ 4 การศึกษาและการเรียนรู
การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ขอ 4.4 การพัฒนาคนทุกชวงวัย โดยสงเสริมการเรียนรู
ตลอดชวี ติ

กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหนวยงานหลักของประเทศที่รับผิดชอบดแู ลในเรื่องของการบริหาร
จัดการศึกษาและพัฒนาศักยภาพกำลังคนของประเทศ ไดมีแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรขยายโอกาสการเขาถึง
บริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชวี ิต ซ่ึงไดกำหนดผลลัพธว าใหผูเรียนทุกคนเขาถึง
การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพอยา งเทา เทียมกนั ในทกุ ระดบั และประเภทการศกึ ษาสามารถเรยี นรูจากแหลงเรียนรูได
อยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต สถานศึกษาในภมู ภิ าค/ชนบท ไดร บั การยกระดับคุณภาพในการใหบริการ
เด็กพกิ ารและดอ ยโอกาสไดรบั โอกาสทางการศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบ

สำนักงาน กศน. จงึ ไดขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ข้นึ
โดยในยุทธศาสตรที่ 3 เปนยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ซึ่งมุง
สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งความตองการ
ของประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ใหประชาชนคิดเปน วิเคราะหได และตัดสินใจภายใต
ขอมูลที่ถูกตอง โดยมี กศน. ตำบล เปนกลไกในระดับพื้นที่ที่มีการดำเนินงานกับประชาชนกลุมเปาหมาย
โดยตรงไดมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีรูปแบบการพัฒนา กศน. ตำบล อยางมีประสิทธิภาพ ดวยการ
พัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู การจัดบรรยากาศและ
สภาพแวดลอมที่เอือ้ ตอการเรียนรูอยางตอเนื่อง การสงเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรูภายใน กศน. ตำบล
การเสริมสรางและใหความรวมมือกับภาคีเครือขาย และทส่ี ำคัญในโลกศตวรรษที่ 21 จำเปนอยางย่ิงท่ีตอง
มีองคประกอบของการนำเทคโนโลยีดิจิทัล เขามาบูรณาการประยุกตใชใหเปนประโยชนในการพัฒนาและ
ขยายบทบาทการดำเนนิ งานของ กศน. ตำบล ใหส ามารถทำหนา ที่เปนกลไกในการพัฒนาศกั ยภาพและเพ่ิม
ขีดความสามารถของประชาชนกลุมเปาหมาย ในระดับพื้นที่ไดอยางทั่วถึง ครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
มากขึ้นในอนาคต โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตองการสราง กศน. ตำบลตนแบบ “ กศน. 5 ดีพรีเมี่ยม” ใหเปน
ตนแบบ กศน. ตำบลโดยนำรูปแบบการบริหารจัดการดังกลาวขางตน มาประยุกตใชในการบริหารจัดการ
กศน. ตำบลใหเ กดิ ผล เปนเชงิ ประจกั ษ ประชาชนในชุมชนเกดิ การเรยี นรู และการศึกษาตลอดชีวติ ได

กศน.ตำบลตลง่ิ ชัน
19 เมษายน 2564



สารบญั

หนา

คำนำ

สารบญั

ตอนที่ 1 ขอมูลทว่ั ไป 1
ตอนที่ 2 ขอมูลการประเมิน 2
2
ดานท่ี 1 ครมู ีสมรรถนะในการจดั การเรยี นการสอนท่มี ีคุณภาพในระดับตา งๆ 2
1.1 ดานวชิ าการ 15
1.2 ดานคุณธรรมจรยิ ธรรม 15
1.3 ความคดิ สรา งสรรคและความรคู วามสามารถ 16
17
ดา นที่ 2 สภาพแวดลอมทางกายภาพของ กศน.ตำบลดึงดูดความสนใจ 30
และเอื้อตอการเรยี นรู 33

ดานที่ 3 กิจกรรมการเรยี นรูการศึกษาขัน้ พื้นฐาน หรือการศกึ ษาตอเน่ือง
หรือการศึกษาตามอธั ยาศยั มีความทันสมยั มีประสทิ ธภิ าพในการใหบ รกิ าร

ดานที่ 4 ภาคีเครือขายรวมจัดสงเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรตู ลอดชวี ิต
ไดอยา งมีคุณภาพ

ดานที่ 5 มนี วัตกรรมทเ่ี ปน ประโยชนและสามารถนำไปใชไดจรงิ

1

ตอนที่ 1 ขอ มูลทว่ั ไป
1. ชอ่ื กศน.ตำบลตล่ิงชัน
ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบา นดา นลานหอย
สำนักงานกศนจงั หวัดสโุ ขทยั
2. สถานท่ตี ั้ง หมูที่ 1 บานตล่ิงชัน ตำบลตล่ิงชนั อำเภอบานดา นลานหอย จังหวัดสุโขทยั
โทรศัพท 091 027 4071
E mail [email protected]
เวบ็ ไซด http://sukho.nfe.go.th/bdh07/
3. ชอื่ สกลุ ครกู ศน. ตำบล นายสมชาย นาโตนด
โทรศพั ท 091 027 4071 E mail [email protected]

ประวตั คิ วามเปน มา
การจัดตั้ง กศน. ตำบล ตามหนังสือ สำนักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.02/3267 ลงวันที่ 4

กันยายน 2552 เรื่อง การดำเนินงาน กศน. ตำบล สำนักงาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. (นาย
อภิชาติ จีระวุฒิ) ไดสั่งการ ใหผูอำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด ทุกจังหวัด และผูอำนวยการ
สำนกั งาน กศน. กทม. ดำเนนิ การปรบั ศนู ยการเรียนชมุ ชนในทกุ ตำบลใหเปน กศน. ตำบล

ศูนยการเรียนชุมชนตำบลตลิ่งชัน ประกาศจัดตั้งใหเปน กศน.ตำบลตลิ่งชัน โดยผูวา
ราชการจังหวัด นายจักริน เปลี่ยนวงษ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใหการ
ดำเนนิ งานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตำบลตลง่ิ ชัน เปนผูประสาน
กับผูเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งภาครัฐ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูนำชุมชน จัด
การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชพี การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต การศึกษาเพื่อ
พัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมีประสิทธิภาพ ประชาชนไดรับ
ผลประโยชนโ ดยมีเปา หมายสงู สุด คอื คนไทยไดเรยี นรูต ลอดชีวิตอยา งมคี ุณภาพ

พธิ ีเปด กศน.ตำบลตลิง่ ชนั เมื่อวันศกุ รท ี่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยมี นายสมชาย ไข
สวุ รรณ นายอำเภอบา นดา นลานหอย เปน ประธานในพิธเี ปด

ท่ีต้งั
กศน.ตำบลตลงิ่ ชัน สถานทีต่ ั้ง หมูที่ 1 ตำบลตลงิ่ ชนั อำเภอบา นดา นลานหอย จังหวัด

สุโขทยั รหสั ไปรษณยี  64140 E-mail [email protected]
เว็บไซด http://sukho.nfe.go.th/bdh07/index.php
เฟสบุค https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141
เวบ็ เพจ https://goo.gl/LNSvFV ยทู ูป https://goo.gl/6v7PDL

2
ตอนที่ 2 ขอมูลการประเมิน
ดา นที่ 1 ครูมสี มรรถนะในการจดั การเรียนการสอนทม่ี ีคณุ ภาพในระดับตางๆ (Good Teacher)

1.1 ดา นวชิ าการ
1.1.1 จำนวนขอมลู ในระบบฐานขอ มลู เพื่อบรหิ ารจัดการ dmis

ขอมูลสถานที่ตั้งและลักษณะพื้นที่ พิกัดตำแหนง ขอมูลบุคลากร ชื่อและเบอรติดตอของหัวหนา กศน.
ตำบล ลิงคเว็บไซตหรือแฟนเพจกศน.ตำบล ขอมูลสาธารณูปโภคไฟฟาประปาโทรศัพทและอินเทอรเน็ต
มีสื่ออุปกรณและส่ิงอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู จำนวนผูใชสื่ออุปกรณ และสิ่งอำนวยความ
สะดวกในการจัดการเรียนรู เฉลี่ยตอวัน จำนวนผูเขารับบริการ กศน.ตำบล เฉลี่ยตอเดือน
ขอมูลบุคลากรกศน.ตำบล ขอมูลคณะกรรมการ กศน.ตำบล มีรายงานผลขอมูลพื้นฐานใหครบถวน
และเปน ปจจุบนั

1.1.2 ระดบั ความสำเรจ็ ของการทำแผนปฏิบัตกิ ารกศนตำบล
มีการรวบรวมศึกษาขอมูลพื้นฐานของพื้นที่พรอมทั้งวิเคราะหขอมูลบริบทสภาพปญหาและความตองการ
จำเปนที่เกี่ยวของเพื่อประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการใหเปนปจจุบัน มีโครงการที่สามารถแกปญหา
ตามบริบทและความจำเปนจัดทำแผนปฏิบัติการท่สี อดคลองกบั นโยบายและจดุ เนนเสร็จตามกำหนดเวลา
มีการนำแผนไปสกู ารปฏบิ ตั ิ และดำเนนิ การตามทีก่ ำหนดโดยใชก ระบวนการมีสวนรว ม

3

รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการและจัดทำแผนในระดบั DMIS

1.1.3 จำนวนผูเรียนของหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
มีจำนวนผูเรียนเปน ไปตามเกณฑท่ีสำนกั งานกศนกำหนด จำนวน 40 คน
ระดบั ม.ตน จำนวน 12 คน
ระดบั ม.ปลาย จำนวน 28 คน

4
1.1.4 จำนวนความสำเร็จของการดำเนนิ งานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
มีการวิเคราะหศักยภาพของกลุมเปาหมาย และสำรวจความตองการของผูเรียน เพื่อรวมจัด
วิธีการเรียนใหเหมาะสมกับนักศึกษา โดยการวิเคราะหขอมูลประวัตินักศึกษาจากการกรอกใบรับสมัคร
นักศึกษา โปรแกรม itw2 และในวันปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา

มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูรายสัปดาห แผนการจัดการเรียนรูออนไลน บันทึกการเรียนรู
และจัดทำขอมูลการลงทะเบียนของผูเรยี น และแจงใหผูเรียนทราบโดยทั่วกัน โดยการนำแผนการจัดการ
เรียนรูรายสัปดาห แผนการจัดการเรียนรูออนไลน บันทึกการเรียนรู และจัดทำขอมูลการลงทะเบียนของ
ผเู รียน นำขน้ึ ไวบนเวบ็ ไซด https://sites.google.com/a/dei.ac.th/epbdh/home

มีการจัดทำปฏิทินการพบกลุมทั้งภาคเรียน และแจงใหผูเรยี นทราบโดยท่ัวกัน โดยการจดั ทำขน้ึ
เว็บไซด การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ของ กศน.ตำบลตล่ิงชัน
https://sites.google.com/a/dei.ac.th/epbdh/ptithin-kar-reiyn-ru

5
ผูเรียนไมน อ ยกวารอยละ 70 ของผูเรียนท้ังหมด ท่ีรับผดิ ชอบ และภาคเรยี นนนั้ เขารวมกิจกรรม
พัฒนาผูเรียน 20 ชั่วโมงขึ้นไปใหนับรวมกิจกรรม ที่สถานศึกษาดำเนินการ และ ครูกศนตำบลดำเนินการ
ไดแก กิจกรรม เยาวชนรักษธรรมชาติสิ่งแวดลอม ศิลปะและโบราณคดีและวัฒนธรรมพื้นบาน ณ บานวัง
หาด หมู 2 ตำบลตลิ่งขัน อำเภอบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย กิจกรรมสงเสริมการเรียนรูทาง
วิทยาศาสตร ณ ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาพิษณุโลก (ศว.พิษณุโลก) กิจกรรมสวนพฤกษศาสตร
โรงเรียน ณ หอ งสมดุ ประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ ารี"อำเภอบา นดา นลานหอย กจิ กรรม ปองกันโรคติดตอไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) และการปองกันและดูแลสุขภาพจากภัยฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน
(PM 2.5) ณ หอประชุมอำเภอบานดา นลานหอย จงั หวดั สโุ ขทยั

ผูเรียนรอยละ 75 ของผเู รียนท่คี าดวาจะจบท่ีรบั ผิดชอบในภาคเรียนน้นั เขาทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ n-net และ E-Exam สามารถนับรวมกันได ผูเรียนที่คาดวาจะจบ ระดับ ม.ตน จำนวน 4
คน ระดับ ม.ปลาย จำนวน 10 คน เขาสอบ n-net จำนวน 9 คน เขาสอบ E-Exam จำนวน 2 คน
คิดเปน รอยละ 78.57

6
ผเู รียนรอยละ 80 ของผเู รยี นทงั้ หมดที่รับผดิ ชอบในภาคเรียนน้ันมีการใชสื่อออนไลนอื่น ๆ ไดแ ก
facebook จำนวน 40 คน คิดเปนรอยละ 100 และมีการชวยเหลือผูเรียนโดยการตั้งกลุม messages
กศน.ตำบลตล่ิงชัน เพอ่ื ใชเ ปน ชองทางในการติดตอกับผูเ รยี นเกี่ยวกบั การเรยี นรูข อง กศน.ตำบล

มีบัญชีลงเวลาใหผูเรียนและบัญชลี งเวลาของครูผูสอน กศน.ตำบลตลิ่งชันจะใหนักศึกษาลงเวลา
พบกลุมโดยการสแกนคิวอารโคดในการลงเวลาเรียนทัง้ ระดับ ม.ตน และ ม.ปลาย ปจจุบันติดสถานการณ
การแพรระบาดของโรคติดตอไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จึงใหน กั ศกึ ษาเรยี นรแู บบออนไลน

มีรายงานการประเมินคุณธรรมจริยธรรมของผูเรียน และมีบันทึกการตรวจรายงานกิจกรรม
กพช.ของผูเรียน โดยการใชโปรแกรม itw51 2.0 โปรแกรมทะเบียนนักศึกษาสายสามัญ ในการบันทึก
ขอมูล รายงานขอมูล ของนักศึกษา กศน.

7
จัดผูเรียนรวมกิจกรรมกับหนวยงานอื่นที่ประสานขอความรวมมืออยางนอย 2 กิจกรรม
ตอภาคเรียน ไดแก การอบรมการจัดโฮมสเตยตนแบบใหชุมชนเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการในการเตรียม
ขอขนึ้ ทะเบยี นโฮมสเตย บา นวงั หาด โดยมหาวทิ ยาลัยราชภฎั พบิ ลู สงคราม พิษณโุ ลก เมอื่ วันท่ี 3 มี.ค.64
การอบรมนักสื่อความหมาย เลาเรื่องวังหาด โดย ม.ราชภัฏพิบูลสงครามพิษณุโลก เมื่อวันที่ 17
กุมภาพันธ 2564 ณ อาคารเอนกประสงคหมูบานวังหาด และการหาขอเสนอโครงการวิจัยฉบับสมบูรณ
(Full Proposal) เพื่อของบประมาณ ดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ตามกรอบ 4 กรอบ CBR ป
2564 ในการดำเนนิ งานการวิจัยเพอื่ ทองถิน่ (CBR) กับความเหลื่อมลำ้ ในสังคม

มีการวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนอยางนอย 1 เรื่องตอภาคเรียน ไดมีการทำ
วจิ ัยในชัน้ เรยี นอยางงา ย เรอ่ื งความพงึ พอใจของนักศึกษาท่ีมีการจดั การเรียนรูแบบออนไลน ของนกั ศึกษา
กศน.ตำบลตลงิ่ ชนั ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

ผูเรยี นรอ ยละ 80 ของผเู รียนทัง้ หมดทร่ี ับผิดชอบในภาคเรียนมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ
ผเู รยี นมีการตรวจสุขภาพทุกภาคเรียนโดยมีการบันทกึ ในสมดุ บนั ทกึ รายบุคคล

8
ผูเรียนรอยละ 90 ของผูเรียนทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น มีคุณธรรมจริยธรรม คานิยม
และคุณลักษณะที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ผูเรียนผานการประเมินคุณธรรมในระดับดีขึ้นไป จำนวน
40 คน คิดเปนรอยละ 100 จึงถือไดวาผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะที่ดี ตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด

ผูเรียนรอยละ 80 ของผูเรียนทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น มีความสามารถ ในการ
คิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกับผูอื่น เรียนรูอยางตอเนื่อง
และคดิ เปน จากการทำโครงงาน และเขา อบรมนกั ส่ือความหมายกบั ม.ราชภัฏพบิ ลู สงครามพษิ ณุโลก

1.1.5 รอ ยละของผูจบหลักสตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
รอยละของผูจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวนผูเรียนคาดวาจะจบที่ลงทะเบียนเรียน
ตอ เน่อื ง 4 ภาคเรยี นยอ นหลงั และเทียบโอน ระดบั ม.ตน มจี ำนวน 2 คน ม.ปลาย จำนวน 6 คน รวมเปน
8 คน จบหลักสตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จำนวน 6 คน คดิ เปน รอ ยละ 75

9

1.1.6 รอยละของผเู ขาสอบปลายภาค
รอยละของผูเขาสอบปลายภาคทุกระดับคิดเปนรอยละ 77.5 นักศึกษาลงทะเบียนเรียน ระดบั
ม.ตน จำนวน 12 คน ขาดสอบ 2 คน ม.ปลาย จำนวน 28 คน ขาดสอบ 7 คน

1.1.7 รอยละของจำนวนผเู รยี นที่มผี ลสมั ฤทธใิ์ นวิชาบงั คบั
ผูเ รียนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานรายวิชาบังคับทุกระดับเฉพาะภาพเทียนในรอบการประเมินมีผลสัมฤ
ทธ์ิทางการเรียนเฉลยี่ 2.00 ข้นึ ไปจำนวนผเู รยี นทลี่ งทะเบียนเรียน

ระดับ นักศกึ ษาลงทะเบียนเรยี น เขาสอบ คะแนนเฉลย่ี รอยละ
2.00 ข้ึนไป
ม.ตน 12 10 - -
ม.ปลาย 28 21 15 71.4
หมายเหตุ ม.ตน ยังไมไ ดตรวจกระดาษคำตอบ จงึ ไมส ามารถหาคะแนนเฉล่ยี ได (18/04/64)

1.1.8 จำนวนผเู ขารวมกจิ กรรมการศึกษาตอเน่ืองเมื่อเทียบกับเปา หมาย
จำนวนผูเขารวมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีผลการดำเนินงานบรรลุตามเปาหมายมีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป
ของหนวยงานสถานศึกษาที่ครู กศน.ตำบล รับผิดชอบ มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตาม
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำป ดงั ตารางรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจำป

10
1.1.9 รอ ยละของผูจบหลักสูตรการศกึ ษาตอเนือ่ งทีน่ ำความรูไปใชเมื่อเทียบกับเปาหมาย
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพรอยละของผูจบหลักสูตรที่นำความรูไปใช ลดรายจาย เพิ่มรายได
ตอยอด อาชพี เดมิ เพ่มิ มลู คา ผลการดำเนินงาน รอ ยละของผูจบหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องนำความรูไป
ใชใ นการสรา งรายไดเ สรมิ จำนวน 38 คน และเพม่ิ โอกาสในการเรยี นรู จำนวน 6 คน มากกวารอ ยละ
100 เมอื่ เทียบกบั เปา หมาย จำนวน 27 คน ผลการดำเนินงาน จำนวน 44 คน เกินเปาหมายท่วี างไว

การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ รอยละของผจู บหลกั สตู รท่ีนำความรูไปใชใ นการพัฒนาตนเอง
มเี ปาหมาย จำนวน 20 คน ผลการดำเนนิ งาน ทำได จำนวน 21 คน ผูจ บหลกั สตู รทีน่ ำความรไู ปใชใน
การพัฒนาตนเอง มากกวารอ ยละ 100

การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนรอยละของผูจบหลักสูตรที่นำความรูไปใชในการพัฒนา
ชุมชนและสังคม มีเปาหมาย จำนวน 14 คน ผลการดำเนินงาน ทำได จำนวน 20 คน ผูจบหลักสูตร
ท่นี ำความรูไปใชในการพฒั นาตนเอง ชมุ ชนและสังคม และสรางรายไดเ สริม มากกวารอ ยละ 100

11
การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรอยละของผูจบหลักสูตรที่นำ
ความรูไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางเหมาะสม มีเปาหมาย จำนวน 8 คน ผลการดำเนินงาน ทำได
จำนวน 10 คน ผูจบหลักสูตรที่นำความรูไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางเหมาะสม และสรางรายไดเสริม
มากกวารอ ยละ 100

1.1.10 จำนวนผูรับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั จำนวนผูรับบรกิ าร
กจิ กรรม 30
100
กจิ กรรมสงเสริมการอา น กศน.ตำบล 35
บานหนังสือชุมชน 2
หนว ยบรกิ ารสงเสริมการอานเคลื่อนที่
อาสาสมัครสงเสริมการอา น

1.1.11 ความสำเร็จของการจัดโครงการกิจกรรมที่จัดในแหลงเรียนรู บานหนังสือชุมชน
กิจกรรมหอ งสมุดชาวตลาด

มีโครงการกิจกรรมที่จัดในแหลงเรียนรู บานหนังสือชุมชน กิจกรรมหองสมุดชาวตลาด
ที่ดำเนนิ การ เพื่อสงเสรมิ การเรียนรทู ีส่ มั พนั ธกบั แหลงเรยี นรูแกป ระชาชน

12
มกี ารจดั ทำรายงานผลการจดั กจิ กรรมผา นชอ งทางเวบ็ ไซด http://sukho.nfe.go.th/bdh07/
Facebook:https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141
http://oniepr.com/regional_news_all.php#
ยูทูป https://www.youtube.com/channel/UCKNeWCQZHrJC-ifNyssnvgw
ความพงึ พอใจในการจัดโครงการกิจกรรมท่จี ัดในแหลงเรียนรูบานหนังสือชุมชนกิจกรรมหองสมุดชาวตลาด
มกี ารตดิ ตามผลผูเขา รวมกิจกรรมในแหลงเรยี นรบู า นหนงั สอื ชมุ ชนกิจกรรมหองสมุดชาวตลาด
มีแบบอยางท่ีดขี องผเู ขา รว มกิจกรรม

1.1.12 ความสำเรจ็ ของครูในการมสี ว นรว มกบั ภาคเี ครอื ขายในชมุ ชน
ครูเขารวมประชุมวางแผนรวมกับภาคีเครือขาย จัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขาย
ไดรบั การสนับสนนุ ทรัพยากรจากภาคีเครือขา ย นเิ ทศติดตามผลรว มกับภาคีเครือขา ย ประเมนิ ผล ในการ
จัดกิจกรรม รวมกับภาคีเครือขาย โดยการรวมประชุมกับสำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 9 เพื่อพัฒนากลุม
เศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด รวมประชุมกรรมการ ศส.ปชต. และ จัดอบรม ศส.ปชต. ใหความรูเกี่ยวกับ
การเลอื กตั้งสมาชิกสภาทองถนิ่ และผูบรหิ ารทองถ่นิ สำรวจพนื้ ทใี่ นการเตรยี มความพรอมรองรับการตรวจ
ราชการ กรณีปกติ รอบที่ 1 ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
(นายสุรินทร แกวมณี) รวมประชุมกับคณะจากกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช โครงการหมบู าน
พิทักษปารักษาสิ่งแวดลอม รวมโครงการเสริมสรางและพัฒนาผูนำเปลี่ยนแปลง ของสำนักงานพัฒนา
ชุมชนอำเภอบานดานลานหอย สนับสนุนขอมูลในการตรวจประเมินผูใหญบาน ม.1 ม.9 ม.10 ต.ตลิ่งชนั
ประสานงานการอบรมการจัดโฮมสเตยตนแบบใหชุมชนเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการในการเตรียมขอขึ้น
ทะเบียนโฮมสเตย บา นวงั หาด โดยมหาวทิ ยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม พิษณุโลก เปน ตน

13
1.1.13 จำนวนงานตามนโยบายเรงดวนหรืองานอน่ื ๆทไ่ี ดร บั มอบหมาย
งานตามนโยบายเรง ดวนหรืองานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายในปงบประมาณ
1. การประชมุ ปฏบิ ัติการพัฒนาหลักสูตรทองถิ่นตามแนวกรอบหลักสตู รสุโขทยั เมืองสรางสรรคฯ
ระหวา งวนั ที่ 12 - 14 กุมภาพันธ 2564 ณ โรงแรมเทรเซอรแอนสปา ภาพกิจกรรม
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1925378060951568&id=1000043817
74141
2. วทิ ยากรโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพยี ง บา นวงั ไทรยอย ม.10 ต.ตลิง่ ชัน
3. นำเสนอขอมูลใหกับคณะอาจารยจาก ม.พิบูลสงคราม พิษณุโลก เพื่อจัดกิจกรรมนักส่ือ
ความหมายและโฮมเสตยใ หก ับคนในชมุ ชนบานวังหาด
4. โครงการสรางเครอื ขายดจิ ทิ ลั ระดับชุมชน
5. ประชุมสญั จร กำนนั ผูใหญบาน และผูนำชุมชน เพอ่ื แจงขอราชการของ กศน.
6. นำเสนอขอมูลเสนทางทองเที่ยวของชมรมการทองเที่ยวโดยชุมชนวังหาด ใหกับคณะครู
อาจารย และนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎพิบลู สงคราม
7. ปฏบิ ตั ิหนาที่ กกต.ทองถ่นิ ในการเลอื กตั้งสมาชิกสภาทองถน่ิ หรือผูบรหิ ารทอ งถ่นิ
8. กิจกรรม เยาวชนรักษธรรมชาติสิ่งแวดลอม ศิลปะและโบราณคดีและวัฒนธรรมพื้นบาน ณ
บานวังหาด หมู 2 ตำบลตลงิ่ ขนั อำเภอบานดา นลานหอย จงั หวัดสุโขทัย
9. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการศูนยดิจิทัลชุมชน หลักสูตรการใชงานโปรแกรมสำนักงานเพ่ือ
สรา งโอกาสการมงี านทำระหวางวนั ที่ 27 –28 มกราคม พ.ศ. 2564 โรงแรมสโุ ขทัย เทรเชอร รสี อรท แอนด
สปา อำเภอเมืองสุโขทยั จังหวดั สโุ ขทัย
10. วิทยากรการพัฒนาบทเรียนออนไลนดวยชุดเคร่ืองมือ g suite for education ใหกับ
บคุ ลากร กศน.อำเภอบานดานลานหอย
11. รวมประชุม ทกจ.สุโขทัย นายกเทศมนตรีตำบลตลิ่งชัน ประธานชมรมการทองเที่ยวโดย
ชุมชนวังหาด เพือ่ หาแนวทางการขยายพิพิธภัณฑชุมชนบานวังหาด ณ เทศบาลตำบลตล่งิ ชัน เมื่อวันที่ 12
ม.ค.64
12.รวมตอนรับและนำผลผลิตของกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด กลุมทอผาฝายบานวังหาด
จำหนายในงานเปดอางแมลำพันโดยมี พณ วราวุธ ศิลปะอาชา รมต.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิง่ แวดลอ ม ณ อางเกบ็ น้ำแมลำพนั อ.บา นดานลานหอย จ.สโุ ขทยั เม่อื วันที่ 8 ม.ค.64
13. นำเสนอขอมูลแหลงศึกษาเรียนรูยุคกอนประวัติศาสตรใหกับคณะครูโรงเรียนอุดมดรุณี เม่ือ
วันท่ี 17/12/63
14. รวมโครงการ ปราชญรวมใจ สรรคสรางไทยเปนหนึ่ง ประจำปงบประมาณ 2564 กับ กอ.
รมน.สท เพื่อขับเคลื่อนงานตามนโยบายของสำนักงาน กศน. ดานการนอมนำพระบรมราโชบายสูกาน
ปฏิบัติ โดยมีกลุมเปาหมายไดแกปราชญเพื่อความมั่นคงของจังหวัดสุโขทัย นำปราชญเขารวมจำนวน 4
คน ณ หองประชุม To Be Number One กศน.อำเภอเมืองสุโขทัย เมื่อวันที่ 14 ธ.ค.63 ภาพกิจกรรม
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1872211122934929&id=1000043817
74141

14
15. รวมสำรวจเตาถลุงเหล็กกับ นายธีระศักดิ์ ธนูศิลป นักโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ 6 นาย
สรวศิ ขบั ลำ หวั หนา หนว ยศกึ ษาการพฒั นาการอนรุ ักษต นน้ำนำ้ สนิ และเจาหนาที่ โดยมี นอ งสม นอง
เตย และพี่ตะวัน เปนผูนำทาง การสำรวจครั้งน้ี จึงเปนการสำรวจเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ เพื่อนำเปน
ฐานในการพัฒนา คนหาคำตอบ ถอดองคค วามรู ถอดรหสั จากโบราณวตั ถุ อาทพิ ้นื ทท่ี พ่ี บ สง่ิ แวดลอม
ที่อยูรอบ ๆ เปนตน เพ่ือนำขอ มูลเหลานไี้ ปวิเคราะห เมือ่ วนั ที่ 4 ธ.ค.63 ภาพกิจกรรม
https://youtu.be/8-YJzH6Kd6s
16. วันที่ 11 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 น. นายสำราญ ใจดา ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบาน
ดานลานหอย และบคุ ลากร กศน.อำเภอบา นดานลานหอย และภาคีเครอื ขา ย ไดต อนรบั นายสุรินทร แกว
มณี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะฯ ในการลงพน้ื ท่ี ตรวจเย่ยี มการจดั การศึกษา กศน. ตาม
นโยบาย การตรวจราชการ ฯ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีปกติ
และกรณพี ิเศษ รอบท่ี 1 ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กรณปี กติ 4 ดาน ภาพกจิ กรรมเพิ่มเติม
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1950193165136724&id=1000043817
74141

15
1.2 ดานคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
การมีวินัย การปฏบิ ตั ิตนเปนแบบอยา งทด่ี ี การดำรงชีวติ อยา งเหมาะสม ความรัก และศรทั ธา
ในวิชาชีพ ความรับผดิ ชอบในวิชาชพี

1.3 ความคดิ สรา งสรรคและความรูความสามารถ
มีทกั ษะเทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุมและเขา ถึงความตองการของผูเ รียนอยางเปน
ระบบและชัดเจน มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู มีการออกแบบการจัดการเรียนรู หรือ สื่อการเรียน
การสอนที่มีความหลากหลายทันสมัยและนาสนใจ มีทักษะในการกระตุนการเรียนรู และพัฒนาตนเอง
อยา งตอ เน่ือง มีเทคนิคการประชาสัมพันธ ความพงึ พอใจของผเู รยี นผูรบั บรกิ าร

16

ดา นท่ี 2 สภาพแวดลอมทางกายภาพของกศนตำบลดงึ ดูดความสนใจและเอ้ือตอ การเรียนรู
สภาพอาการอยูในสถานที่มั่นคงมีความเปนสัดสวนและปลอดภัย มีการจัดสภาพแวดลอม

โดยยึดหลัก 5 ส.สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สรางนิสัยและสะดุดตา ผูใชบริการเกิดความรูสึก
เปนมิตรสะอาดตา ปลอดภัยมีชีวิตชีวา และมีความสุขในการเขารับบริการ มีการแสดงขอมูลสารสนเทศ
ตามบริบท ของกศนตำบลที่เปนปจจุบันมีเอกลักษณอัตลักษณของตำบลตามบริบทของพื้นที่มีสิ่งอำนวย
ความสะดวกที่หลากหลายที่เอื้อตอการเรียนรู เชน โตะ เกาอ้ี คอมพิวเตอร เปนสถานที่ที่ใชประโยชน
จากเทคโนโลยีในการเรียนรูของผูใหบริการไดแกอินเตอรเน็ต WiFi สื่อการเรียนรูออนไลนเปนจุดเช็คอิน
ท่สี ง ผลตอการเรยี นรขู องผเู ขาใชบริการ มีการจดั ทำรหสั QR Code เพื่อใชในการศึกษาเรยี นรขู อมูลตา ง ๆ

17

ดานท่ี 3 กจิ กรรมการเรยี นรูการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน หรือการศึกษาตอเน่ือง หรือการศึกษาตามอธั ยาศยั
มคี วามทนั สมัยมีประสทิ ธภิ าพในการใหบริการ

1. มกี ารจดั กิจกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานหรือการศกึ ษาตอเน่ือง หรอื การศึกษาตามอธั ยาศัย
มผี ลเชิงประจกั ษโ ดดเดน และมีการปฏบิ ัตทิ ่ดี รี วมทัง้ มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรูท่ีใชร ะบบออนไลน

1.1 มกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรูมีผลเชงิ ประจกั ษโ ดดเดน ไดแกการจัดการศกึ ษาตอเนอ่ื ง
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ไดสงเสริมสนับสนุนกลุมทอผาฝายยอมดินบานวังหาด สามารถสรางรายได
ใหกับสมาชิกลุมได และเปนที่ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการยอมผาฝายดวยดิน การทอผาฝาย สามารถพัฒน
ผลิตภัณฑตาง ๆ หลากหลาย ไดรับมาตรฐานชุมชน (มผช.) จำนวน 2 ชนิด ไดแก ถุงยาม และผาคลมุ
ไหล ไดรับรางวัลการประกวดผลิตภัณฑ 5 ดี พรีเมี่ยม 2 ชนิด ถุงยาม ไดรับรางวัลที่ 1 ผาคลุมไหล
ไดร ับรางวัลท่ี 2

18
1.2 มีการปฏิบตั ทิ ี่ดี Best Practice
1. ช่อื ผลงาน งานการศึกษาตอเนื่อง จดั การศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทําอยา งยั่งยืน เรื่องการ
พัฒนาผลติ ภัณฑผ า ฝายยอ มดิน
2. หนว ยงาน/สถานศึกษา กศน.ตำบลตลงิ่ ชัน อำเภอบา นดา นลานหอย จังหวัดสุโขทัย
3. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี นายสมชาย นาโตนด
4. ความสอดคลอง
สอดคลอ งกบั นโยบายและจุดเนน การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ปงบประมาณ 2563 นโยบาย

1.3 การศึกษาตอเนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชพี เพ่อื มงี านทำอยางยั่งยืน 1) จัดการศึกษา
อาชีพเพ่ือการมงี านทําอยางยั่งยืน

5. ทีม่ าและความสำคัญของผลงาน
สภาพสังคมปจจุบัน มนุษยเราไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ เชน

ดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและสิ่งแวดลอมเปนอยางมาก ประชากรมนุษยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต
ทรพั ยากรธรรมชาติถูกใชไปอยา งรวดเร็ว และไมเ พียงพอกับจำนวนประชากรท่ีเพิ่มข้ึนทุกมุมโลก มนุษยจึง
ประสบปญหาตาง ๆตามมามากมาย โดยเฉพาะดานการดำรงชีวิต และชีวิตความเปนอยูของประชาชน
นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อเปนการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแลว ยังมีสิ่งที่ถือวาเปนภาระหนัก
คอื อาหารเพ่ือบริโภคประจำวนั จึงจำเปนอยา งยิ่งทีม่ นุษยเ ราจะตองสรา งขึ้นหรือมาทดแทนโดยวิธีการตาง ๆ
เพื่อการอยูรอดการพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จัดทำขึ้นโดยทำการศึกษา สำรวจ และวางแนวทางการพัฒนา
ดานโครงสรางพื้นฐาน การพัฒนาเกษตรกร และการพัฒนาดานการจัดการแบบบูรณาการโดยใชหลัก
กระบวนการ “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” มาจดั กระบวนการเรียนรู ใหเกิดความเขมแข็ง และยั่งยืนในการ
ประกอบอาชีพ จึงไดจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทําอยางยั่งยนื หลักสตู รการพฒั นาผลติ ภัณฑผ า ฝาย
ยอ มดนิ โดยมีจดุ มงุ หมายหลักเพ่ือใหท องถน่ิ และหนว ยงานในทองถน่ิ มสี วนรวมในการพฒั นาอาชีพ เปนการ
สรางรายได ลดรายจายในครัวเรือนและการขยายโอกาสในการเขาถึงแหลงทุนตาง ๆ ควบคูกับการฟนฟู
และอนุรักษธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ไปพรอมกบั การพฒั นาดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และมงุ เนนใหเ กิดการ
รวมกลุม และสรางเครือขายระหวางกลุมองคก รตาง ๆ ในชมุ ชน

6. วตั ถปุ ระสงค
1. กลุม เปาหมายมีความรู ความเขาใจ การพฒั นาผลิตภัณฑผ า ฝายยอมดนิ และทักษะ

เกยี่ วกบั การประกอบอาชีพ การบริหารจดั การในอาชพี
2. กลมุ เปาหมายตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกบั ศกั ยภาพตนเอง ชุมชน และ

สังคม
3. กลมุ เปา หมายสามารถประกอบอาชพี และสรา งรายไดท ่ีมั่นคงใหกบั ตนเอง
4. กลมุ เปาหมายมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ สำนึก ความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง ผูอื่น

และสงั คม
7. วิธีดำเนนิ การ
การจัดตามความสนใจของผูเ รียนที่รวมกลมุ ต้งั แต 6 คนข้ึนไป
1. ประชาสมั พนั ธใหแกประชาชนผูท สี่ นใจ
2. รวมกลมุ ผูท สี่ นใจจะเรยี น (ต้ังแต 6 คนขนึ้ ไป)
3. จัดทำรายชือ่ ผเู รยี นในการลงทะเบียน ตามแบบ กศ.ตน. 1

19
4. จัดทำหลกั สูตร
5. สถานศึกษาจัดหาเนื้อหาที่สอดคลอ งกบั ความตองการของผูเ รยี น
6. สถานศกึ ษาจัดหาวิทยากร ตามแบบ กศ.ตน. 2
7. จัดทำเอกสารขออนุญาตจัดการศึกษาตอเน่ือง
8. ลงทะเบียนผูสมคั รเรียนหลักสตู รการศึกษาตอเน่ือง แบบ กศ.ตน. 1
9. วทิ ยากรลงนามในใบสมัครวิทยากร แบบ กศ.ตน. 2
10.จัดทำคำสงั่ แตงตั้งวิทยากรและแตง ตั้งวิทยากร แบบ กศ.ตน. 3
11.จดั ทำเอกสารเพ่ือขออนญุ าตจัดการศึกษาตอเนื่องและแจงการจดั กจิ กรรมเสนอตอ
สำนกั งาน กศน.จงั หวัด กอนการจดั กิจกรรมอยา งนอ ย 1 สัปดาห แบบ กศ.ตน. 4
12.จดั หาวัสดอุ ปุ กรณท่ีขออนุมัติหลกั การจดั ซ้ือจดั จางวัสดุอุปกรณ แบบ กศ.ตน. 8
13.จัดทำหลักสูตรการศึกษาตอเนอ่ื ง แบบ กศ.ตน. 15
14.จดั ทำแผนทส่ี ถานทจี่ ัดการศกึ ษาตอเน่ือง แบบ กศ.ตน. 29
15.จดั ทำบันทึกขออนุญาตจดั การศึกษาตอเน่อื ง
16.จดั ทำบันทึกขออนุญาตจดั การศึกษาตอเนอ่ื ง แบบ กศ.ตน.16 พรอมแนบเอกสาร ตาม
ขอ 4 (ยกเวน แบบ กศ.ตน. 8 และ แบบ กศ.ตน. 15)
17.จดั การเรยี นรู วดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู องผูเ รยี น
18.สถานศึกษาจดั เตรียมสถานท่ี และดำเนนิ การเรอ่ื งวสั ดอุ ุปกรณ
19.วทิ ยากรจดั เตรียมสื่อและจดั กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตร

- ใบลงเวลาวิทยากร แบบ กศ.ตน. 5
- ใบลงเวลาผูเ รยี น แบบ กศ.ตน. 6
- แบบประเมินการจดั การศกึ ษาตอเน่ืองแบบ กศ.ตน.7(1) และแบบ กศ.ตน. 7(2)
- แผนการจดั การเรียนรู แบบ กศ.ตน. 12
20.จัดทำหลักฐานการจบหลักสตู ร
21.จัดทำทะเบยี นผูจบหลกั สูตรการจดั การศกึ ษาตอ เนื่อง แบบ กศ.ตน. 9
22.แบบประมินความพงึ พอใจ แบบ กศ.ตน. 10
23.ใบสำคญั ผูผ า นการศึกษาตอเนอื่ ง แบบ กศ.ตน. 11
24.สถานศึกษาจะตองจดั ทำโครงการฝก อบรมประชาชนพรอมหลกั สตู รบรรจุใน
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปของสถานศกึ ษา เสนอขอความเห็นชอบตอสำนกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. (กรณีมี
การเปลยี่ นแปลงไปจากท่ีไดร ับความเหน็ ชอบไวเดิม ใหข ออนมุ ัตแิ ละขอความเห็นชอบเปน กรณีไป) ยกเวน
สถานศกึ ษาขึน้ ตรง ใหดำเนนิ การตามท่ีไดร ับมอบอำนาจ
25.การอนุมตั ิโครงการและหลักสตู รการฝก อบรม ใหผูอำนวยการสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิ
ภายในวงเงินตาม ที่ไดรับมอบอำนาจ ถา เกินวงเงินของสถานศกึ ษาตองไดรบั ความเห็นขอบและอนมุ ตั ิจากผู
มอี ำนาจ
26.ดำเนินการฝก อบรมประชาชนตามโครงการ/หลกั สตู ร ทไ่ี ดรบั ความเห็นชอบแลว
27.สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน เสนอสำนักงาน กศน.จังหวดั /กทม. สำหรับ
สถานศกึ ษาขนึ้ ตรง ใหรายงานผลการดำเนินงานตอสำนักงาน กศน.เปน รายไตรมาส หรอื ตามทีส่ ำนักงาน
กศน.กำหนด

20
8. ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ

กลมุ เปาหมายมคี วามรู ความเขา ใจ การพฒั นาผลติ ภัณฑผาฝา ยยอมดนิ และทักษะ
เกยี่ วกับการประกอบอาชพี การบรหิ ารจดั การในอาชพี ตดั สนิ ใจประกอบอาชีพใหส อดคลอ งกบั ศกั ยภาพ
ตนเอง ชมุ ชน และสงั คม สามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดท ี่มนั่ คงใหกับตนเอง และมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผดิ ชอบตอตนเอง ผูอ่ืน และสังคม

9. การประเมินผลและเคร่ืองมอื การประเมนิ ผล
1. ประเมินผลกอนการฝกอบรม

1.1 วดั ความรู ความเขาใจ เก่ยี วกบั การพัฒนาผลิตภัณฑผ าฝายยอมดนิ และทกั ษะการ
ประกอบอาชีพ

2. ประเมินระหวา งการฝกอบรม
2.1 ประเมินผลจากช้นิ งาน และทกั ษะการปฏบิ ตั ิ
2.2 ประเมินจากการสงั เกตพฤตกิ รรมของผูเ ขา รบั อบรมในการแสดงความคดิ เห็น การ
ถามคำถาม การตอบคำถาม

3. ประเมนิ ผลหลังการฝก อบรม
3.1 วัดความรคู วามเขา ใจ เกี่ยวกับการพฒั นาผลติ ภัณฑผ า ฝายยอ มดิน และทักษะการ
ประกอบอาชีพ
3.2 ประเมนิ ผลจากช้ินงาน และทักษะการปฏบิ ตั ิ

10. ผลการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนนิ งานตามวัตถุประสงค สามารถสรปุ ผลไดดงั น้ี
1. กลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ การพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน และทักษะ

เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การบริหารจัดการในอาชีพ ผลการดำเนินงานพบวา กลุมเปาหมายมีความรู
ความเขาใจ การพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน เกี่ยวกับ ความสำคัญในการประกอบอาชีพการพัฒนา
ผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน การวิเคราะหความเปนไปไดในการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝาย
ยอมดิน การลงทุนและแหลงทุน ความตองการของตลาด หลักการตลาด กรรมวิธี การขนสงแหลงเรียนรู
ทศิ ทางการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดนิ ความเสย่ี ง ความคุมคา ในการลงทุน ความ
ตอ งการดานการตลาด ข้นั การเตรยี มการประกอบอาชีพการพฒั นาผลิตภัณฑผาฝายยอมดนิ ขั้นฝกทักษะ
การประกอบอาชีพการพฒั นาผลิตภัณฑผ า ฝายยอมดนิ การบรรจุภัณฑ และการจำหนาย ผลิตภัณฑผา ฝาย
ยอมดนิ ยงั ไดรับรางวัลท่ี 1 ในการประกวดผลิตภณั ฑ 5 ดี พรเี ม่ยี ม ไดร บั มาตรฐานผลติ ภัณฑช ุมชน ไดแก
ยาม และผา คลมุ ไหล

2. กลุมเปาหมายตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศักยภาพตนเอง ชุมชน และ
สังคม ผลการดำเนนิ งานพบวา กลุม เปาหมายการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑ
ผาฝายยอมดิน การดูแลรักษา การควบคุมคุณภาพ การลดตนทุนในการผลิต การจัดการการตลาด การ
ทำฐานขอมูลลูกคาท่ีใชบรกิ าร/คูแขง การโฆษณาประชาสัมพันธ การสงเสริมการขายและการบริการ การ
จัดการความเสี่ยง การวิเคราะหศักยภาพใน คาใชจาย ผลกำไรคูแขง วิธีการลดตนทุน การแกปญหา
ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดิน ซึ่งทำใหกลุมเปาหมายสามารถ
ตัดสินใจประกอบอาชพี ใหสอดคลองกบั ศกั ยภาพตนเอง ชมุ ชนและสังคม ไดอยา งมคี วามสขุ

21
3. กลุมเปาหมายสามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับตนเอง ผลการ
ดำเนินงาน พบวา กลุมเปาหมายสามารถสรางรายไดจากการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝายยอมดินโดยการนำ
ผลิตภัณฑไปขายในชมุ ชน นอกชมุ ชน และการขายทางเฟสบคุ จงึ ทำใหกลุม เปาหมายมรี ายไดเ พม่ิ มากขน้ึ
4. กลุมเปาหมายมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น
และสังคมผลการดำเนินงานพบวา กลุมเปาหมายคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบตอ
ตนเอง ผอู ืน่ และสังคม โดยการเคารพกฎ กตกิ า ตามทีส่ มาชกิ กลมุ ไดตั้งกันไว มีการรวมกลุมกันซึ่งเรียก
กลมุ นวี้ า กลมุ ทอผา ฝายบานวงั หาด มีสมาชิก จำนวน 20 คน มีคณะกรรมการบริหารกลมุ อยางชัดเจน
11. บทสรปุ
กลุมทอผาฝายบานวังหาด เปนกลุมที่ผานกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน
สามารถยืนหยดั อยูไดอยางมัน่ คง และมกี ารบริหารจดั การความเสี่ยงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนา
ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถ
ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมได
อยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และ
เตรียมพรอมสำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมใน
อนาคต บริบทของกลุมทอผาฝา ยบานวงั หาด ท่ตี องการใหช มุ ชนมีสวนรว มและไดป ระโยชนจ ากการทอผา
ฝายจึงควรตองมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด เพื่อใหมีการทำงานรวมกัน
แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และใหสอดคลองกับความรู ความสามารถของคณะ
กรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด ซึ่งกลุมทอผาฝา ยบานวังหาดมกี ารดำเนินงานไดอยา งตอ เน่ือง
มีความรกั สามัคคกี นั สง่ิ เหลานจ้ี ะนำไปสชู มุ ชนเขม แข็ง สามารถพึ่งตนเองไดอยา งย่งั ยืน
12. กลยทุ ธห รือปจ จัยที่ทำใหประสบผลสำเรจ็
การดำเนินงานของกลุมทอผาฝายบานวังหาด มีการดำเนินงานที่เปนขั้นตอน เริ่มจาก
การสำรวจสอบถาม การประชุมปรึกษาหาแนวทางการดำเนินงานจัดตั้งกลุม การสรรหาคณะกรรมการ
กลุม การแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมทอผาฝายบานวังหาด การลงมือปฏิบัติจริง การประสานขอ
งบประมาณจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน การรวมคิด รวมทำ รวมแกปญหา ลวนแลว เปนความรวมมือ
รวมใจของสมาชิกกลุม มีความศรัทธาซึ่งกันและกัน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนกลยุทธหรือปจจัยที่ทำใหกิจกรรม
ดังกลา วสำเรจ็ ลลุ ว งตามจดุ หมายที่วางไว
13. ขอ เสนอแนะ
จากผลการดำเนนิ งานมขี อเสนอแนะสำหรบั ผูทจ่ี ะนำไปจดั กจิ กรรมตา ง ๆ และ
ขอ เสนอแนะสำหรบั การจัดกิจกรรมคร้ังตอไป ดังน้ี
1. เนอ่ื งดว ยหลักสตู รการพฒั นาผลติ ภัณฑผาฝายยอมดิน ฉบบั นสี้ รา งข้ึนบนพืน้ ฐานของ
ปญ หาและความตองการการบรหิ ารจดั การกลมุ ทอผา ฝา ยบานวงั หาด ดังนัน้ จงึ มกี ารวางโครงสรางหลักสูตร
เพอื่ ตอบสนองความตองการเฉพาะดานของคนบา นวังหาด มีการบรรจเุ น้อื หาองคความรูเฉพาะของบานวงั
หาดในมติ ิตา ง ๆ รวมถึงการเรียนรูการพัฒนาผลติ ภัณฑผาฝายยอมดนิ ในภาคปฏิบัติ ทีส่ ามารถปฏิบัติได
อยางมปี ระสทิ ธภิ าพจริง

22
2. เน่ืองจากการจดั การเรยี นรูหลกั สตู รการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝา ยยอมดิน ตอ งมกี าร
บริหารจัดการดานงบประมาณ ทรพั ยากรมนุษย จึงมีความจำเปน ที่หนว ยงานภาครฐั เอกชน หรอื ผทู ่ี
เกี่ยวของ ผเู ชย่ี วชาญ สงเสริม สนับสนนุ กลมุ ทอผาฝายบา นวงั หาด ใหม งี บประมาณบรหิ ารจัดการกลุม
การวางระบบการจดั การ การตลาด การพฒั นาผลติ ภณั ฑ รวมท้งั เคร่ืองมอื วสั ดุ อุปกรณ ทเ่ี ปน ความ
ตอ งการของกลมุ ทอผาฝายบา นวังหาด เพอ่ื พัฒนาเปนแหลงทองเทยี่ ว แหลงเรียนรูเกีย่ วกับการทอผาฝาย
การยอมเสน ฝายดว ยดนิ การพัฒนาผลิตภัณฑต าง ๆ
3. ควรคดั เลอื กวิทยากรที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะดานมาเปนผูถา ยทอดความรู เพื่อ
ประสทิ ธิภาพ สงู สุดในการจัดกิจกรรม
4. หลงั จากจัดฝก อบรมแลวควรมกี ารตดิ ตามพฤติกรรมผเู ขารว มกิจกรรมเปนระยะ เชน 1
เดอื น 3 เดือน 6 เดือน เพ่ือดูความคงทนของความรู และความกา วหนา ในการปฏบิ ัติงาน
14. การอางองิ
หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ (ชุดที่ 1) สำนักงานสงเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
คำสั่งศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบา นดานลานหอย เรื่อง
แตง ตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารกลมุ ทอผาฝายบา นวงั หาด

23

24

ออกจดั บธู จดั นทิ รรศการ และการจำหนา ยผลติ ภณั ฑผาฝายยอ มดนิ ถนิ่ กอนประวัตศิ าสตร

25

มกี ารศึกษาดูงานจากหนวยงานอ่ืน ณ กลมุ ทอผา ฝา ยยอ มดนิ ถนิ่ กอ นประวัติศาสตร

26

มกี ารเผยแพร ประชาสัมพนั ธผา นส่อื มัลติมีเดยี

27

1.3 มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู ใ่ี ชระบบ ออนไลน

28
2. มกี ารบูรณาการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู
การจัดกจิ กรรมการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผานกระบวนการเรียนรูตลอดชวี ติ
ในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการ
บริหารจัดการความเส่ียงอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสูความสมดลุ และยั่งยนื และมุงเนน
ใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรู
ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถเผชิญ
สถานการณตาง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในชีวติ ประจำวันไดอยา งมีประสิทธภิ าพ และเตรยี มพรอ มสำหรับการปรับตัวให
ทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต บริบทของกลุมเศรษฐกิจ
พอเพียงบานวังหาด ที่ตองการใหชุมชนมีสวนรวมและไดประโยชนจากการทำเกษตรจึงควรตองมีการ
แตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด เพื่อใหมีการทำงานรวมกันแบบบูรณาการ
ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน และใหส อดคลองกบั ความรู ความสามารถของคณะกรรมการบรหิ ารกลุม เศรษฐกิจ
พอเพียงบานวังหาด ปจจุบันกลุมไดรับการตรวจมาตรฐานเกษตรอินทรีย และขึ้นทะเบียนเปนวิสาหกิจ
ชุมชน SME

3. มีการออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับ สภาพปญหาของชุมชน
และความตองการของ กลุมเปาหมาย อยา งครอบคลุมและเปนระบบโดยคำนงึ ถงึ ตนน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
ในการจดั กิจกรรมแตละครั้ง จะมีการประชุมปรึกษาหารือวามีความตองการจะพัฒนากลุมทางดา นไหนบาง
ซึ่งบานวังหาดจะมีการรวมกลุมกันหลายกลุม เชนกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด ชมรมการทองเที่ยว
โดยชุมชนวังหาด - บา นดานลานหอย กลุมเลย้ี งโคเนือ้ กลุมทอผาฝา ยยอมดนิ กลุมขาวเกรยี บปลานลิ

29
4. มีการใชเ ทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมกับบรบิ ทของผเู รยี น ผรู บั บรกิ าร ในแตละกจิ กรรม แตละพ้ืนท่ี
จดั กระบวนการเรยี นรทู ี่หลากหลาย โดยการนำเทคโนโลยี มาพัฒนาบทเรยี นออนไลนดว ยชุดเครือ่ งมือ
g suite for education เชน google site google from เปน ตน

ชุดเครอื่ งมอื g suite for education

30
ดา นท่ี 4 ภาคีเครอื ขา ยรว มจัดสง เสริมสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูตลอดชวี ิตไดอ ยา งมีคณุ ภาพ

1. มีทำเนยี บภมู ปิ ญญาทองถ่ินแหลง เรียนรูแ ละภาคเี ครือขายในระดบั พ้นื ท่ที ี่เปน ปจ จุบัน

2. มภี าคเี ครอื ขา ยในระดับพน้ื ทร่ี วมวางแผนการจัดการเรยี นรตู ลอดชีวิต การประชมุ ปฏิบตั ิการ
พัฒนาหลักสูตรทองถน่ิ ตามแนวกรอบหลกั สตู รสโุ ขทัยเมืองสรางสรรคฯ นำเสนอขอมูลใหกบั คณะอาจารย
จาก ม.พบิ ูลสงคราม พษิ ณุโลก เพื่อจัดกิจกรรมนักส่ือความหมายและโฮมเสตยใหกับคนในชุมชนบา น
วังหาด ทำหนาที่สือ่ ความหมายเกี่ยวกับพิพธิ ภัณฑโ บราณคดบี า นวังหาดใหกบั คณะสมาชิกวฒุ สิ ภา ตาม
โครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชนในพ้ืนที่ภาคเหนือ (ตอนลาง) นําโดย โดย พลเอก สงิ หศกึ สิงหไ พร
รองประธานวฒุ สิ ภา คนท่หี น่ึง และพลอากาศเอก อดิศักด์ิกลน่ั เสนาะ สมาชิกวุฒิสภา รองประธาน
กรรมการคนทห่ี น่ึง พรอ มดว ยคณะกรรมการฯ เขา เยี่ยมชมและใหกําลงั ใจประชาชนในชมุ ชน

31

3. มภี าคเี ครือขายในระดบั พื้นท่รี วมนเิ ทศประเมินผลการจัดการเรยี นรูตลอดชีวติ
4. มีภาคีเครอื ขายในระดบั พืน้ ทีร่ ว มรับประโยชนการจดั การเรียนรตู ลอดชีวิต
5. มอี าสาสมคั ร กศน.ตำบล อาสาสมคั รสงเสรมิ การอาน หรืออาสาสมัครรูปแบบอนื่ ๆ
6. ที่สงเสริมสนับสนนุ การจัดการเรียนรูตลอดชวี ติ ไดอยางท่ัวถงึ และมีคณุ ภาพ

7. มีการจดั ทำบันทึกขอตกลงความรวมมอื รวม (MOU) กับหนว ยงานภาครฐั และเอกชน
ในการจัดกิจกรรม การเรียนรูตลอดชีวิต

8. มกี ารดำเนนิ การจัดกิจกรรมตามบันทึกขอตกลงความรว มมอื (MOU)
รวมกบั หนว ยงานภาครัฐและเอกชน ในระดับพ้ืนทีข่ อง กศน.ตำบล ในการจดั การเรยี นรูตลอดชีวิต

โดยการทำบันทึกขอตกลงกบั พระสงิ ห วัดวังหาด เพ่ือจัดกจิ กรรมการเรยี นรูในแหลงเรยี นรู
แหลงโบราณคดบี า นวังหาด

32
9. มีภาคีเครือขายไดรับรางวัลจากการรวมจัดสงเสริมสนับสนุนจัดการเรียนรูตลอดชีวิตของ
กศน.ตำบล โดยการสนับขอมูลตาง ๆ ในการดำเนินงานการจัดการศึกษาตอเนื่องในหมูบานวังหาด ทำให
บานวังหาดไดรับรางวัลกลุมทอผาฝายยอมดินวังหาด กับทานผูใหญณรงค บุญมา หมูบานเศรษฐกิจ
พอเพียง รางวัลท่ี 2 ในการประกวดหมบู า นแผน ดินธรรม แผน ดนิ ทอง

33

ดานท่ี 5 มีนวัตกรรมทีเ่ ปน ประโยชนแ ละสามารถนำไปใชไดจ ริง
มีการนำเทคโนโลยหี รือนวตั กรรมมาประยุกตใชใ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพ่ือใหชุมชน

เกิดการเรียนรูตลอดชวี ติ การทดลองพฒั นาโดยใชกระบวนการปฏิบัติทีด่ ีเพ่ือการสรางนวตั กรรมการเรียนรู
นวตั กรรมอาชพี หรอื นวตั กรรมอน่ื ทส่ี อดคลองกบั บริบทของชมุ ชนนน้ั อีกท้งั ประชาชนสามารถพฒั นาตนเอง
ไดพัฒนาชุมชนไดอยางยั่งยืน มีการนำนวัตกรรมที่เกิดจากการทดลองการพัฒนามาใช หรือเผยแพรผาน
ชองทางตาง ๆ มีการประเมินผลการนำนวัตกรรมไปใชมีแนวทางการพัฒนา หรือตอยอดเทคโนโลยี
หรือนวัตกรรมที่ใชใ นการเรียนรูท่ีสอดคลองกับบริบทของชุมชน โดยการนำเทคโนโลยี มาพัฒนาบทเรียน
ออนไลนดวยชุดเครื่องมือ g suite for education เชน google site google from เปนตน พัฒนาสื่อ
ตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบออนไลน เชน การถายทำวีดีทัศนแลวอัพโหลดขึ้นชองทางยูทูป เฟสบุค เว็บไซด
ที่พัฒนาขึ้นเอง พัฒนาส่ือแบบเรียนใหอยูในรูปแบบ E-Book มีการรายงานการจัดกิจกรรมผานชองทาง
เฟสบุค เว็บไซด ยทู ูป อยางสม่ำเสมอ

34


Click to View FlipBook Version