The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2.ประ

2.ประ

45

กจิ กรรมทายเรือ่ งที่ 5 การอนุรกั ษม รดกไทย
กิจกรรมท่ี 1 จงบอกความภาคภมู ใิ จในมรดกไทยพรอ มยกตัวอยาง อยา งนอ ย 3 ตวั อยาง
แนวคาํ ตอบ

ตวั อยา งท่ี 1 วดั ไชยวัฒนารามหรือวัดชัยวัฒนาราม เปนวัดเกาแกสมัยอยุธยา
ตอนปลายในจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา เปน วัดสรางขนึ้ ในสมยั พระเจาปราสาททอง พ.ศ. 2173
โดยเดิมบริเวณท่ีต้ังของวัดแหงนี้เคยเปนท่ีอยูของพระราชมารดาที่ไดส้ินพระชนมไปกอน
ที่พระเจาปราสาททองไดเ สวยราชสมบัติเปนกษัตริย เม่ือพระองคไดเสวยราชสมบัติ พระองค
จึงไดสรางวัดไชยวัฒนารามข้ึนเพ่ืออุทิศผลบุญนี้ใหกับพระราชมารดาของพระองค และ
อีกประการหนง่ึ วดั นอ้ี าจถกู สรางขึน้ เพอื่ เปนอนุสรณแหง ชัยชนะเหนือเขมร จึงควรอนรุ ักษไ วใ ห
ลูกหลานไดศ ึกษาประวตั ศิ าสตรต อ ไป

ตัวอยางท่ี 2 พระบรมมหาราชวัง เปน ทป่ี ระดิษฐานพระพุทธมหารตั นปฏมิ ากร
หรือพระแกว มรกต ภายในวัดพระแกวนี้มีส่ิงสําคัญและสวยงามอยูมากมาย เชน พระอุโบสถ
หรือโบสถ สรา งในสมัยรัชกาลที่ 1 ตัวอาคารเปนสถาปตยกรรมแบบไทย มีระเบียงเดินไดรอบ
พระอุโบสถ ผนังอุโบสถสวยงามมากเปนลายพุมขาวบิณฑปูนปนปดทองประดับกระจก
ซมุ ประตหู นาตา ง เปนทรงมณฑปปดทองประดับกระจก บานประตูหนา ตางทั้งหมดประดับมุก
โดยฝมือชางในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายในพระอุโบสถน้ีเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปที่สําคัญ
คบู า นคเู มอื ง เปนทีเ่ คารพนับถือของชาวไทย คือ พระพุทธมหามณรี ตั นปฏิมากร หรือท่ีคนไทย
เรียกกันจนติดปากวา พระแกวมรกต เปนพระพทุ ธรูปปางสมาธิ ซึ่งแกะสลกั มาจากหยกสีเขียวเขม
ที่มีคา และหายากมาก

ตัวอยา งที่ 3 วัดอรุณราชวราราม หรือวดั แจง เดมิ ช่อื วัดมะกอก เปนวัดโบราณ
ทม่ี ีมาตง้ั แตครงั้ กรุงศรอี ยธุ ยา มีความงดงามทางสถาปต ยกรรมอนั ประเมินคา ไมไ ด แถมยังต้ังเดน
เปนสงา รมิ แมน้าํ เจาพระยา กลายเปน สญั ลักษณค วามสวยงามประจกั ษตอสายตาชาวโลก และ
เปน วัดสําคญั คูบานคูเมืองมาชานาน บริเวณโดยรอบพระปรางคใหญวัดอรุณฯ ประกอบดวย
พระปรางคเลก็ 4 องค รอบ 4 ทศิ ภายในมรี ปู พระอินทรทรงชา งเอราวณั กาํ แพงแกว กั้น มีฐาน
ทกั ษิณ 3 ชั้น มรี ปู ปนมารและกระบแี่ บกฐานสลับกัน นอกจากน้ันมีซุม 4 ซุม มีพระนารายณ-
อวตาร เหนือข้นึ ไปเปนยอดปรางค มีเทพพนมนรสงิ หเพอ่ื ปราบยกั ษ

46

หนว ยการเรียนรูท่ี 3
บทเรยี นจากเหตกุ ารณทางประวตั ศิ าสตรในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 สงครามชา งเผอื ก
กจิ กรรมท่ี 1 บอกแนวทางการนาํ บทเรยี นจากเหตกุ ารณส งครามชา งเผือกทีน่ าํ มาปรบั ใช

ในการดาํ เนนิ ชีวิต
แนวคาํ ตอบ

หากมองตามสภาพเหตุการณสงครามครั้งนี้ พมาเปนผูมาหย่ังเชิงลองกําลัง
กรงุ ศรอี ยธุ ยากอ น จงึ ใชขออา งเร่ืองชา งเผอื ก แตเมือ่ นาํ กําลังมาลอมกรุงศรอี ยุธยาแลว กค็ งจะรวู า
ยากทจ่ี ะตีกรุงศรีอยุธยาไดงาย ๆ และหากแมจะพิชิตไดก็จะเกิดความเสียหายอยางมหาศาล
ดังนนั้ หากจะตกี รุงศรอี ยุธยาใหไดตอ งกลับไปเตรยี มทัพมาใหด ีกวา ทเี่ ปนอยู ส่งิ ท่ีทําไดคือไมหักหนา
กรุงศรีอยุธยาจนเกินไป จึงยกเอาแคเงื่อนไขในระดับที่กรุงศรีอยุธยายังรับได เพ่ือท่ีจะสราง
ภาพลกั ษณเกียรติยศศักดศ์ิ รีใหท งั้ สองฝา ย ทางดา นกรงุ หงสาวดกี ็ไดรับผลประโยชนท่ีตองการ
หรอื แมก ระท่งั กรุงศรอี ยุธยาเองจะสามารถรักษาตวั เองเอาไวไ ดแมจ ะตองเสียอะไรไปบาง แตก็
ไมไดต กเปนประเทศราชและไมถ งึ ขั้นแพส งคราม

กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 2 การเสยี กรุงศรีอยุธยา ครง้ั ที่ 1
กิจกรรมที่ 2.1 เลาเหตุการณก ารเสียกรุงศรีอยุธยา คร้ังที่ 1
แนวคาํ ตอบ

หลงั จากเสร็จสิ้นสงครามชางเผือกสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิไดปรับปรุงบานเมือง
เพ่ือเตรียมรับศึก รวมทั้งสรางสัมพันธไมตรีกับพระเจาไชยเชษฐาธิราช แหงอาณาจักรลานชาง
ซ่ึงเปนเหตุใหพระมหินทร พระราชโอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เกิดความขัดแยงกับ
พระมหาธรรมราชา เจา ผูครองเมืองพษิ ณโุ ลก พระมหนิ ทร จึงไดใหพระเจาไชยเชษฐาธิราชสง
กองทพั มาชว ยตีเมอื งพิษณุโลก แตพระมหาธรรมราชาสามารถปอ งกนั เมืองไวไ ด พระเจา บเุ รงนอง
ทรงทราบเหตุการณทเี่ กิดขึน้ ทรงสถาปนาพระมหาธรรมราชา เปนเจาประเทศราชของกรุงหงสาวดี
ปกครองเมืองพิษณุโลกและหัวเมืองฝายเหนือโดยไมข้ึนตอกรุงศรีอยุธยา จากการขัดแยงระหวาง
พระมหาธรรมราชากับพระมหนิ ทร ทาํ ใหกรุงศรีอยุธยาออ นแอลง

ในป พ.ศ. 2111 พระเจาบุเรงนองยกทัพใหญม าหมายตีกรุงศรีอยุธยาใหแตกพาย
กองทัพพมาลอ มกรุงศรอี ยธุ ยาอยูหลายเดอื น แตกย็ งั ไมสามารถเขายดึ ไดเพราะทหารกรุงศรีอยุธยา
ไดต อสอู ยา งเขม แขง็ เพอ่ื รอใหถ งึ ฤดนู ้าํ หลากซ่ึงจะทําใหกองทพั พมา ตั้งคายอยูไมได ระหวางท่ี
ศึกมาประชิดกรุงนน้ั สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิประชวรและเสด็จสวรรคตในเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. 2111 พระมหินทร เสด็จข้ึนครองราชยเปนกษัตรยิ  พระนามวา สมเด็จพระมหินทราธริ าช

47

และทรงตอสูปองกันกรุงศรีอยุธยาตอไป หลังจากนั้นทางพมาไดใชกลอุบายใหพระยาจักรี
มาเปน ไสศกึ กรุงศรอี ยธุ ยาจงึ เสยี แกพมา ในป พ.ศ. 2112

จากเหตุการณใ นครง้ั น้ี ทําใหสมเด็จพระมหินทราธริ าชถกู จบั ไปเปนเชลยที่หงสาวดี
รวมทั้งขาราชบรพิ ารอกี จํานวนหน่ึง ทําใหก รงุ ศรีอยุธยากลายเปนประเทศราชของกรุงหงสาวดี
นบั แตน้ันมา ซึง่ นบั เปน การสูญเสียอสิ รภาพของคนไทยเปน คร้งั แรก

กิจกรรมที่ 2.2 บอกแนวทางการนําบทเรียนจากเหตกุ ารณก ารเสียกรุงศรีอยุธยาคร้งั ที่ 1
ทน่ี าํ มาปรับใชในการดาํ เนินชวี ติ

แนวคําตอบ
การเสียกรงุ ครัง้ ที่ 1 โดยสาเหตุใหญมาจากความรูสึกแตกแยกแบงเขาแบงเรา

ของบรรดาขุนนางผูมีอํานาจของหัวเมืองใหญท่ีตางแกงแยงชิงดี กอบโกยอํานาจสูตนเอง
รวมทั้งการขาดความเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกันของพลเมือง จึงทําใหไมอาจตานทานกองกําลัง
แสนยานภุ าพของขา ศึกศตั รไู ด

กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 3 สงครามยุทธหตั ถขี องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
กิจกรรมท่ี 1 เลาเหตุการณท เี่ กิดขึ้นจากภาพน้ี
แนวคําตอบ

ในป พ.ศ. 2135 พระเจา นนั ทบเุ รง โปรดใหพระมหาอุปราชา นํากองทัพทหาร
240,000 คน มาตีกรุงศรีอยุธยาหมายจะชนะศึกในคร้ังน้ี สมเด็จพระนเรศวร ทรงทราบวา
พมา จะยกทพั ใหญม าตี จึงทรงเตรยี มไพรพลมีกําลัง 100,000 คน เดนิ ทางออกจากบานปาโมก
ไปสพุ รรณบรุ ี ขามนาํ้ ตรงทา ทา วอทู อง และตัง้ คายหลวงบรเิ วณหนองสาหราย

เชาของวันจันทร แรม ๒ คํ่า เดือนยี่ ปมะโรง พ.ศ. 2135 สมเด็จพระนเรศวร
และสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงเคร่ืองพชิ ยั ยุทธ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงชา ง นามวา เจา พระยา-
ไชยานภุ าพ สว นพระสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงชางนามวา เจาพระยาปราบไตรจักร ชางทรง
ของท้งั สองพระองคน้ันเปนชางชนะงา คือ ชางมีงาที่ไดรับการฝกใหรูจักการตอสูมาแลวหรือ
เคยผานสงครามชนชางชนะชางเชือกอื่นมาแลว ซึ่งเปนชางท่ีกําลังตกมัน ในระหวางการรบ
จึงว่ิงไลตามพมาหลงเขาไปในแดนพมา มีเพียงทหารรักษาพระองคและจาตุรงคบาทเทานั้น
ที่ติดตามไปทนั

สมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชาทรงพระคชสารอยูใน
รมไมกับเหลา ทา วพระยา จึงทราบไดว า ชางทรงของสองพระองคหลงถลําเขามาถงึ กลางกองทพั
และตกอยูในวงลอมขา ศกึ แลว แตด ว ยพระปฏิภาณไหวพรบิ ของสมเดจ็ พระนเรศวร ทรงเห็นวา
เปนการเสียเปรียบขาศึกจึงไสชางเขาไปใกล แลวตรัสถามดวยคุนเคยมากอนแตวัยเยาววา

48

“พระเจาพี่เราจะยืนอยูใยในรมไมเ ลา เชิญออกมาทาํ ยทุ ธหัตถดี วยกนั ใหเปนเกยี รติยศไวใน
แผน ดินเถดิ ภายหนา ไปไมมีพระเจา แผน ดินท่จี ะไดย ุทธหตั ถีแลว ” พระมหาอุปราชา ไดยินดังน้ัน
จงึ ไสชางนามวา พลายพัทธกอ เขา ชนเจาพระยาไชยานุภาพเสียหลกั พระมหาอุปราชาทรงฟน
สมเด็จพระนเรศวรดวยพระแสงของาว แตสมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงหลบทัน จึงฟนถูก
พระมาลาหนังขาด จากนนั้ เจาพระยาไชยานุภาพชนพลายพทั ธกอเสยี หลัก สมเดจ็ พระนเรศวร
ทรงฟน ดว ยพระแสงของาวถูกพระมหาอุปราชาเขา ที่อังสะขวา สิ้นพระชนมอยูบนคอชาง สวน
สมเด็จพระเอกาทศรถทรงฟนเจาเมืองจาปะโรเสียชีวิตเชนกัน ทหารพมาเห็นวาแพแนแลว
จึงใชปนระดมยิงใสสมเด็จพระนเรศวรไดรับบาดเจ็บ ทันใดน้ัน ทัพหลวงไทยตามมาชวยทัน
จงึ รับทั้งสองพระองคกลบั พระนคร พมา จึงยกทพั กลบั กรุงหงสาวดีไป นับแตน นั้ มาก็ไมม ีกองทพั ใด
กลา ยกทพั มากลํ้ากรายกรุงศรีอยธุ ยาเปนระยะเวลาอีกยาวนาน

ในมหายาชะเวงหรือพงศาวดารของพมา ระบวุ า การยุทธหัตถีครั้งน้ี ชางทรงของ
สมเดจ็ พระนเรศวรบกุ เขาไปในวงลอมของฝา ยพมา ฝา ยพมาก็มีการยืนชางเรียงเปนหนากระดาน
มที ้งั ชา งของพระมหาอปุ ราชา ชางของเจาเมืองชามะโรง ทหารฝายสมเด็จพระนเรศวรก็ระดม
ยิงปนใสฝายพมา เจาเมืองชามะโรงสั่งเปดผาหนาราหูชางของตน เพ่ือไสชางเขากระทํายุทธหัตถี
กบั สมเดจ็ พระนเรศวร เพ่อื ปองกันพระมหาอุปราชา แตปรากฏวา ชางของเจาเมืองชามะโรง
เกดิ วงิ่ เขาใสชา งของพระมหาอปุ ราชาเกดิ ชลุ มุนวนุ วาย กระสนุ ปนลูกหนง่ึ ของทหารฝายสมเดจ็
พระนเรศวรกย็ งิ ถูกพระมหาอุปราชาสน้ิ พระชนม

กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 4 การเสยี กรงุ ศรีอยุธยา ครง้ั ที่ 2
กิจกรรมท่ี 4.1 เลาเหตุการณการเสยี กรุงศรอี ยุธยาครั้งท่ี 2
แนวคาํ ตอบ

หลังจากไดวา งเวนจากการศึกสงครามภายนอกมาเปน เวลานาน ทําใหก รุงศรีอยุธยา
ไมไดเตรียมพรอมสําหรับการปองกันพระนคร ในป พ.ศ. 2295 พระเจาอลองพญาข้ึนครองราชย
เปน กษัตริยพ มา และมพี ระราชประสงคจะขยายอาณาเขต ทรงยกกองทพั มาตี ไมสําเรจ็ จงึ ถอย
ทัพกลับไป และสิ้นพระชนมในระหวางทางในป พ.ศ. 2303 พระเจา มังระ ซ่ึงเปน พระราชโอรส
ของพระเจาอลองพญาขึ้นครองราชย พระองคทรงสั่งเดินทัพเขามา 2 ทาง โดยทัพแรกมอบให
เนเมียวสีหบดี เปน แมท ัพยกทัพมาตีหัวเมอื งฝายเหนือของกรุงศรีอยุธยา แลวใหยอนกลับมาตี
กรุงศรีอยุธยาสว นทพั ที่ 2 มอบใหมังมหานรธา เปนแมทัพยกทัพมาตเี มอื งทวายและกาญจนบุรี
แลว ใหม าสมทบกบั เนเมยี วสีหบดี เพอ่ื ลอ มกรงุ ศรอี ยธุ ยาพรอมกนั กองทพั พมา ลอ มกรุงอยนู าน
1 ป 2 เดอื น ทาํ ใหร าษฎรในเมืองอดอยากและหมดกาํ ลงั ใจตอสู

ในท่ีสุดฝายพมาท่ีต้ังทัพลอมกรุงศรีอยุธยาอยูนั้นก็สามารถตีกรุงศรีอยุธยาได
สําเร็จเปน ครง้ั ท่ี 2 ในป พ.ศ. 2310

49

จากเหตกุ ารณในครัง้ นี้ ทําใหบานเมืองสูญเสยี ครั้งย่งิ ใหญ เพราะพมาไดทําลาย
บา นเรือนและวัดตาง ๆ ดวยการจุดไฟเผา รวมท้ังกวาดตอนผูคนไปเปนเชลย และนําทรัพยสมบัติ
ตาง ๆ กลับไปเปนจํานวนมาก กรงุ ศรอี ยธุ ยาท่เี คยเจรญิ รุงเรอื งในอดีตเหลือเพยี งซากปรกั หักพัง

กิจกรรมที่ 4.2 บอกแนวทางการนําบทเรียนจากเหตุการณการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
ทน่ี ํามาปรบั ใชใ นการดาํ เนนิ ชีวติ

แนวคําตอบ
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เกิดจากเพราะการขาดความสามัคคี ความ

ออนแอของกองทัพ กระท่ังคนในชาติเอง อกี ท้ังสวนหน่งึ มาจากการท่ีผูบริหารบานเมืองยึดติด
อยูกบั การแสวงหาผลประโยชนใสตวั และหลงเพอ กับภาพลวงตาของความมั่งค่ังจนมองไมเห็น
ปญ หาที่สะสมอยู ถาเปรียบไปก็คลา ยกบั ไมใหญท่ภี ายนอกดูแขง็ แกรงมั่นคง แตภายในผุกรอน
จากแมลงชอนไช ครั้นเม่ือถูกลมพายุพัดก็หักโคนลงอยางงายดาย และที่สําคัญจะเห็นไดจาก
ความเขมแข็งของผรู กุ รานคอื พมา ซึง่ มกี องกาํ ลงั ทฮ่ี กึ เหมิ พรอ มท่จี ะรบทกุ เม่อื จงึ สง ผลใหพมา
สามารถตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาและกวาดตอ นผูคน พรอมทั้งทําลายสิ่งท่ีเปนทรัพยสินของชาติไทยไป
อยางนาเสยี ดาย

กิจกรรมทา ยเรือ่ งท่ี 5 การกอบกูเอกราชของสมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช
กิจกรรมท่ี 1 เลาถึงการสถาปนากรงุ ธนบุรีเปนราชธานี
แนวคาํ ตอบ

เมอ่ื พระเจาตากสนิ ทรงขับไลพ มา ออกไปจากกรุงศรีอยุธยาแลว ก็ทรงรวบรวม
ผคู น และทรัพยสมบัติ ซึ่งสุก้ีพระนายกองยังมิไดสงไปยังเมืองพมา และไดนํามาเก็บรักษาไวใน
คา ยน้นั มีแมทพั นายกอง ขาราชการ และเจานายหลายพระองคในพระราชวงศแหงกรุงศรีอยุธยา
ตกคา งถกู คุมขังอยใู นคาย พระเจาตากสินไดป ระทานอุปการะเลยี้ งดูตามสมควร สวนเมืองลพบุรี
ก็ยอมออนนอ ม ปรากฏวา ท่ลี พบุรมี ีพระบรมวงศานวุ งศข องพระเจาเอกทัศนลภ้ี ยั มาพาํ นักอยูมาก
พระเจาตากสินทรงส่ังใหคนไปอัญเชิญไวยังเมืองธนบุรี และกระทําการขุดพระบรมศพของ
สมเด็จพระเจา เอกทัศนขึน้ มาถวายพระเพลงิ ตามโบราณราชประเพณี ตอจากน้ันพระเจาตากสิน
ไดเ สด็จออกตรวจตราดูความพินาศเสยี หายของปราสาทราชมณเฑียรและวดั วาอารามทั้งปวงแลว
กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหอพยพผูคนเคลอ่ื นยายลงมาทางใต ตั้งราชธานขี นึ้ ใหมท เี่ มืองธนบุรี
เรียกนามราชธานนี ้ีวา กรงุ ธนบรุ ีศรมี หาสมทุ ร

50

หนวยการเรยี นรทู ี่ 4
ความสมั พันธกบั ตา งประเทศในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี

กิจกรรมทายเรื่องท่ี 1 ความสมั พนั ธก ับตา งประเทศในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรุงธนบรุ ี
กจิ กรรมท่ี 1.1 ใหผ เู รยี นอธบิ ายความสมั พนั ธข องรัฐเพ่อื นบา นในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาและกรุงธนบุรี

รฐั เพื่อนบา น สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา

สโุ ขทยั ลักษณะความสมั พนั ธ
มคี วามสัมพนั ธทางการเมือง (สโุ ขทัยเปนเมืองประเทศราชของอยุธยาในสมัย
ลานนา ของสมเด็จพระอินทราชา)
พมา มีความสมั พันธแบบสงคราม (เผชิญหนา ทางทหาร)
หวั เมืองมอญ แบบศกึ สงคราม
ดา นการคา และการเมอื ง
เขมร มีความสัมพันธทางดานการเมือง ดานการทําสงคราม และดานวัฒนธรรม
อยธุ ยาไดรับวฒั นธรรมหลายอยางจากเขมร เชน รูปแบบศิลปกรรม ศาสนา
ลา นชา ง พราหมณ - ฮินดู ภาษา การปกครองแบบจตุสดมภ แนวคิดสมมติเทพที่ยก
ญวน ยองฐานะของกษตั ริยวา สงู สงประดจุ เทพเจา
มลายู ผกู มิตรเช่ือมสมั พนั ธไมตรตี อกนั
การทาํ สงครามแยง ชิงความเปน ใหญเหนอื เขมร
พมา ความสัมพนั ธทางดานการคา และการทาํ สงคราม
ลานนา
กมั พูชา สมัยกรุงธนบุรี
ลานชา ง
มลายู ความสัมพนั ธแบบความขดั แยง การทําสงคราม
เปนเมอื งประเทศราชของไทยอยูภ ายใตการคมุ ครองของกรงุ ธนบุรี
ความสมั พันธแบบสงคราม
ความสัมพนั ธแบบสงคราม
มีความสัมพันธแบบหวังผลประโยชนทางดา นเศรษฐกจิ และการคา

51

กิจกรรมที่ 1.2 ใหผ ูเรียนอธิบายความสัมพนั ธร ะหวา งอาณาจักรกรุงศรอี ยุธยากับทวีเอเชีย

แนวคาํ ตอบ

1. การท่ีกรงุ ศรอี ยธุ ยาสงคณะทตู และเครอื่ งบรรณาการไปประเทศจนี เปนประจําสงผลให
ไทยเปน อยา งไร
ตอบ ไทยไดสทิ ธิพิเศษทางการคากับจีน เพราะคณะทูตไดนําสินคาจากกรุงศรีอยุธยา
มาขายที่จีน และตอนขากลับก็นําสนิ คาจากจีนมาขายทก่ี รุงศรอี ยธุ ยา

2. กรุงศรีอยุธยามีความสัมพันธกับญ่ีปุนอยางเปนทางการในสมัยของพระมหากษัตริย
พระองคใด
ตอบ สมเด็จพระเอกาทศรถ

3. ความสัมพันธระหวางกรุงศรีอยุธยากับญ่ีปุนในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางเสื่อมลง
เพราะเหตใุ ด
ตอบ ชาวญ่ีปุนเขามามีสวนเกี่ยวของกับการเมืองการปกครองในอาณาจักรกรุงศรี
อยุธยาและสรางปญหาทางการเมือง อีกท้ังในสมัยพระเจาปราสาททองไดสงคณะทูต
ไปญป่ี นุ แตญี่ปุนไมใ หการตอนรับ และญีป่ ุน เองมีนโยบายทีจ่ ะอยูอยางโดดเดยี่ ว

52

กจิ กรรมท่ี 1.3 ใหผเู รียนวิเคราะหค วามสมั พันธร ะหวางกรุงศรีอยุธยากับชาตติ ะวนั ตก
(ทวปี ยุโรป)

แนวคาํ ตอบ
1. ชาตติ ะวันตกทีเ่ ขามาตดิ ตอ กบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เพอื่ จุดประสงคอะไร
ตอบ เพอื่ การคา การทตู และการเผยแพรศาสนา
2. ชาตติ ะวันตกเขามาติดตอและมคี วามสมั พนั ธก ับกรุงศรอี ยุธยาไดแ กชาติใดบาง
ตอบ โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสเปน
3. ใครคอื ทูตของโปรตุเกสทม่ี าเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี บั กรุงศรอี ยุธยา
ตอบ ดูอารเ ต เฟอรน นั เดส
4. ชาตติ ะวันตกใดทม่ี าตดิ ตอ กับกรงุ ศรอี ยธุ ยาเพ่อื ตอ งการเผยแพรค รสิ ตศาสนาเพยี งอยา งเดียว
ตอบ ฝร่งั เศส
5. ความสัมพนั ธร ะหวา งกรุงศรีอยธุ ยากบั ชาติตะวนั ตกยตุ ิลงดวยสาเหตใุ ด
ตอบ 1. ชาติตะวนั ตกบางชาตติ องการมีอํานาจเหนอื ไทย
2. ชาตติ ะวันตกกําลังทาํ สงครามกันอยจู ึงไมส นใจที่จะสรางสมั พนั ธไมตรี
กับกรุงศรอี ยุธยา
3. กรงุ ศรีอยธุ ยาเสียกรงุ แกพมา

กจิ กรรมทา ยเรือ่ งท่ี 2 ความสัมพันธก บั ตา งประเทศในสมยั กรุงธนบรุ ี
กิจกรรมท่ี 2.1 ใหผเู รยี นวิเคราะหค วามสมั พนั ธระหวา งกรุงธนบุรกี ับประเทศเพอ่ื นบาน
แนวคาํ ตอบ

1. กรงุ ธนบรุ ที ําสงครามกบั พมา ถงึ 10 คร้ัง การรบครัง้ ไหนเปนการรบครั้งท่ีสาํ คัญทีส่ ุด
ตอบ ศกึ อะแซหวนุ กีต้ เี มอื งเหนอื (พ.ศ. 2318)

2. เหตุใดสมเด็จพระเจาตากสนิ มหาราชจงึ ตองยกทพั ไปตีเมืองจําปาศกั ด์ิ
ตอบ เจา เมืองนางรองคดิ กบฏตอ ไทยและไปขอข้นึ กับเจาโอ ซึ่งเปนเจาเมอื งจาํ ปาศกั ด์ิ

3. เหตุใด สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราชจงึ ปลอยใหห ัวเมืองมลายอู ยเู ปนรัฐอิสระ
ตอบ กองทพั มกี ําลงั ไมเพยี งพอ จึงไมย กทัพไปปราบ

4. พระยาโยธาถกู ตดั ศรี ษะเสียบประจาน เนอื่ งจากสาเหตุใด
ตอบ พระยาโยธา ขัดรับสั่งสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชโดยการแวะเขาบาน
(ในการรบกับพมาทบ่ี างแกว ราชบุรี ในขณะเดินทัพ สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราชตรัสวา
“อยา ใหผูใดแวะบา นเรือนเดด็ ขาด”)

5. สถานท่ีทีก่ องทัพพมา ใชเปนทเ่ี กบ็ คลังเสบียงทุกคร้งั ทเี่ ดินทางมารบกับไทยในสมยั
กรุงธนบุรี คอื ท่ีใด
ตอบ เมอื งลา นนา

53

กจิ กรรมที่ 2.2 ใหผ เู รียนวิเคราะหค วามสมั พนั ธก บั ตางประเทศในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยากบั
กรุงธนบรุ ี ท่ีเกยี่ วกับความมั่นคงของประเทศมา 5 ประเทศ

เชน ความสมั พันธกบั จนี ในสมยั กรุงศรอี ยุธยาไดมกี ารสง คณะทตู ไทยไปประเทศจีนหลายครงั้ ทําให
ประเทศมคี วามม่นั คง นอกจากน้ียังไดรับความรวมมือจากจีนในการติดตอคาขายทําใหเศรษฐกิจ
เจริญรุงเรอื ง
แนวคาํ ตอบสมัยกรุงศรีอยธุ ยา

1. ประเทศพมา สมัยกรุงศรีอยุธยา ไทยมีความสัมพันธกบั พมาในลักษณะของ
การทําศึกสงคราม ซึ่งสวนใหญพมาจะเปนฝายเขามารุกรานกรุงศรีอยุธยา แตในบางสมัยกรุงศรีอยุธยา
ไดดําเนินความสัมพันธกับพมาในลักษณะประนีประนอม เพ่ือรักษาความมั่นคงของอาณาจักร
เปนการรักษาชวี ิตและทรัพยสนิ ของคนไทย

2. ประเทศโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสไดสงทูตมาเจริญสัมพันธไมตรี โดยให
ชาวโปรตุเกสมาทําการคาและเผยแผศาสนาคริสตในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทั้งยังมีการเชิญชาวโปรตุเกส
เขามาเปนทหารอาสาในไทย เพื่อชว ยรบพมา เปนการแลกเปลีย่ นท่ีใหโ ปรตเุ กสเขามาคาขายเก่ียวกับ
ปน ไฟ กระสุนปน และดินปน นอกจากนที้ หารโปรตเุ กสมคี วามชาํ นาญในการใชอ าวุธเหลา นีอ้ ยแู ลว

3. ประเทศฝรั่งเศส ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีการสงทูตไปประเทศฝรั่งเศส โดย
ยอมใหฝรั่งเศสเผยแพรศาสนาคริสตและขยายการคา ตลอดจนไดมีการศึกษาถึงความเจริญใน
ดานตาง ๆ ของฝร่ังเศส จึงทําใหในสมัยน้ันไดน ําความเจริญในดานตาง ๆ เขามาหลายดาน เชน
การแพทย สรา งหอดดู าว ดานการทหารมกี ารสรางปอมแบบตะวนั ตก

4. ประเทศฮอลันดา ความผูกพันระหวางกรุงศรีอยุธยากับฮอลันดาท่ีมีตอกัน
เร่มิ มีปญหาในสมัยพระเจาปราสาททอง เน่ืองจากฮอลันดาไมชวยไทยปราบกบฏ จึงทําใหพระเจา
ปราสาททองตองเขมงวดกับฮอลันดามากข้ึน ซ่ึงกรุงศรีอยุธยาเคยใหสิทธิพิเศษในการคาขายมาก
ความบาดหมางใจเร่ิมรุนแรงในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ฮอลันดาถึงกับไดสงเรือรบมา
ปดอาวไทย และเรียกรองสิทธิพิเศษตาง ๆ จากไทยมากมาย เชน การพิจารณาพิพากษาคดี คือ
ชาวฮอลนั ดากระทําผิดไมต องขึ้นศาลไทย ทําใหไทยตองสญู เสยี ผลประโยชน แตด วยความสามารถ
ของไทยกย็ ังสามารถรกั ษาความเปนเอกราชได

แนวคําตอบสมัยกรุงธนบุรี
ประเทศมลายู ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี มกี ารออกอบุ ายขอยืมเงินเมืองตาง ๆ ของมลายู เพอื่ ดทู า ทีของเมือง
เหลา นนั้ แตเมืองเหลา นน้ั ก็ไมย อมใหข อยมื แตส มเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช ก็มิไดย กทพั ไปตีหวั
เมอื งมลายู เพราะทรงคดิ วา เกนิ กําลงั ของพระองค จงึ ขอรกั ษาอาณาจกั รไวก อน

54

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ง 11. ข 21. ค
2. ง 12. ข 22. ง

3. ก 13. ง 23. ง

4. ง 14. ข 24. ค

5. ก 15. ค 25. ก
6. ค 16. ข 26. ข

7. ก 17. ค 27. ก

8. ง 18. ข 28. ก

9. ค 19. ง 29. ง
10. ก 20. ข 30. ง

คณะทป่ี รกึ ษา 55

นายกฤตชยั อรุณรตั น คณะผจู ัดทาํ
นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ
นางรุงอรณุ ไสยโสภณ เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
คณะทาํ งาน ผอู าํ นวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นางกมลวรรณ มโนวงศ
นายปวติ ร พุทธริ านนท ขาราชการบํานาญ
นายจริ พงศ ผลนาค โรงเรยี นฤทธิณรงคร อน กทม.
นางสารอรพร อนิ ทรนัฎ ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทยั
นางมณั ฑนา กาศสนกุ ผอู ํานวยการ กศน. อาํ เภอบา นผือ จงั หวดั อดุ รธานี
ผูอาํ นวยการ กศน. อาํ เภอเมืองแมฮ องสอน
นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล จงั หวดั แมฮ องสอน
นางสาวพจนีย สวัสดริ์ ตั น ศนู ยว งเดอื นอาคมสรุ ทณั ฑ จังหวดั อทุ ยั ธานี
นายโยฑนิ สมโณนนท กศน.อาํ เภอเมอื งกาํ แพงเพชร จงั หวดั กําแพงเพชร
นางมยรุ ี ชอนทอง กศน.อาํ เภอสนั ปาตอง จงั หวดั เชียงใหม
นางสาวหทัยรตั น ศริ แิ กว กศน.อําเภอเมืองอาํ นาจเจริญ จงั หวดั อาํ นาจเจริญ
นางสาววรรณพร ปทมานนท กศน.อําเภอเมอื งอาํ นาจเจริญ จงั หวัดอาํ นาจเจรญิ
นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางเยาวรตั น ปนมณวี งศ กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
นางกมลทิพย ชวยแกว กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางสุกัญญา กุลเลศิ พิทยา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบแ ละการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นางสาววยิ ะดา ทองดี กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

56

คณะทาํ งาน (ตอ ) กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน
นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ิชยั ขา ราชการบาํ นาญ
ขาราชการบํานาญ
คณะบรรณาธกิ าร ขา ราชการบาํ นาญ
ขา ราชการบํานาญ
นางสาวพมิ พาพร อนิ ทจกั ร ขา ราชการบาํ นาญ
นางสาวชนติ า จติ ตธรรม ขา ราชการบํานาญ
นางนพรตั น เวโรจนเสรวี งศ ขาราชการบาํ นาญ
นางสาวประภารสั ม์ิ พจนพมิ ล ขาราชการบํานาญ
นางสาวสภุ รณ ปรชี าอนนั ต ขาราชการบาํ นาญ
นางสาวชนดิ า ดยี ่ิง ผทู รงคุณวุฒิกลุมจังหวัดมรดกโลกทางวัฒนธรรม
นางพรทิพย เข็มทอง รางวัลวฒั นคณุ าธร กระทรวงวฒั นธรรม 2557
นางดษุ ฎี ศรีวฒั นาโรทยั ผอู าํ นวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ
นายววิ ฒั นไชย จนั ทนส คุ นธ ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวัดสุโขทัย
นายสมชาย เดอื นเพญ็ ศนู ยวงเดอื นอาคมสรุ ทณั ฑ จังหวัดอุทัยธานี
กศน.อาํ เภอเมืองกําแพงเพชร จงั หวดั กําแพงเพชร
นางสาวจริ าภรณ ตันติถาวร สาํ นกั งาน กศน.อาํ เภอสนั ปาตอง จงั หวดั เชียงใหม
นายจริ พงศ ผลนาค สํานกั งาน กศน. อาํ เภอบางแพ จงั หวดั ราชบุรี
นางสาวอนงค ชชู ยั มงคล กศน.เขตบางเขน
นางสาวพจนยี  สวัสดร์ิ ตั น
นายโยฑนิ สมโณนนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นางพรทพิ ย เอ้อื ประเสริฐ
นางสาวอนงค เช้อื นนท

ผอู อกแบบปก
นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป


Click to View FlipBook Version