The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

17. occupation 1. 21003

17. occupation 1. 21003

44

บทท่ี 5
โครงการพัฒนาอาชีพใหม คี วามเขม แข็ง

สาระสําคัญ
โครงการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามเขม แขง็ เปน การวเิ คราะหความเปนไปไดของแผนการเขียนโครงการ

การตรวจสอบ และการปรับปรงุ แกไขโครงการพัฒนาอาชพี ใหม คี วามเขม แข็ง

ตวั ช้ีวัด
1. วิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนตา ง ๆ
2. เขียนโครงการการพฒั นาอาชีพ
3. ตรวจสอบความเปน ไปไดข องโครงการพฒั นาอาชพี
4. ปรบั ปรงุ โครงการพัฒนาอาชพี

ขอบขายเน้ือหา
เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหความเปน ไปไดข องแผนตาง ๆ
เรอ่ื งท่ี 2 การเขียนโครงการพัฒนาอาชพี ใหมคี วามเขม แขง็
เรอ่ื งท่ี 3 การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการ
เร่อื งท่ี 4 การปรับปรงุ แกไ ขโครงการพัฒนาอาชพี

สอ่ื การเรียนรู
ใบความรูที่ 1/ใบงาน การวิเคราะหค วามเปนไปไดข องแผน
ใบความรทู ี่ 2/ใบงาน การเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพใหมคี วามเขม แขง็
ใบความรูที่ 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดของโครงการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามเขม แขง็
ใบความรูท่ี 4 การปรบั ปรุงโครงการพฒั นาอาชพี
ใบงานท่ี 3 การตรวจสอบและปรับปรงุ โครงการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขมแข็ง

45

ใบความรูท่ี 1
การวิเคราะหค วามเปน ไปไดของแผน

การปฏบิ ัตงิ านขององคก ร กอนที่จะทาํ งานในเรื่องใด ไมวาจะเปนชวงเวลาที่ส้ันหรือยาวตองกําหนด
ลว งหนา วาอนาคตท้ังใกลและไกลตามสภาพความจําเปน ตาง ๆเราจะทาํ อะไรบาง มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล
เพอื่ ใหง านทีท่ ําบรรลุวตั ถปุ ระสงคเกดิ ประโยชนส ูงสุดตอ องคก รและประชาชนทุกดา นขององคก รจึงถกู กาํ หนด
และออกแบบไวล ว งหนาโดย “แผน” ขององคก ร แผนจงึ ตองผานการวเิ คราะหการประเมนิ อนาคต และกําหนด
วัตถุประสงคทพี่ ึงปรารถนา เพอ่ื เตรยี มรับสถานการณท ไี่ มแ นน อน และเพ่ือใหบคุ คลใชเ ปนแนวทางในการ
ปฏบิ ตั ิงานวาจะทําอะไร เพ่อื ใคร เพราะเหตุใดจึงตอ งทํา และจะทําเม่ือใด

1. ความหมายของการวเิ คราะหแ ผน
แผน หมายถงึ งานทกุ ดา นขององคก รท่ีถกู กาํ หนดข้นึ อยางมเี หตผุ ล เปนระเบียบวธิ ี หรอื ข้นั ตอนที่

เปนระบบทีบ่ คุ ลากรใชเปนคมู อื หรือแนวทางการดาํ เนนิ งานขององคกร
การวิเคราะห หมายถงึ การแยกแยะรายละเอยี ดความเปนไปไดแ ลว สงั เคราะหใหเหน็ ความสมั พันธ

และเกิดกจิ กรรมท่มี ีเปาหมายทิศทางไปสูความสาํ เร็จ
2. ประเภทของแผน
1. แผนระยะยาว เปน แผนที่มีขอบขา ยกวา งมีความยืดหยุนสงู มรี ะยะเวลาตง้ั แต 10 - 20 ป
2. แผนระยะปานกลาง เปนแผนที่มีความแนนอนและเฉพาะเจาะจงมากกวาแผนระยะยาว
มีระยะเวลา 4 - 6 ป
3. แผนระยะสน้ั เปน แผนทส่ี ามารถดาํ เนนิ การใหสําเร็จไดใ นเวลาอนั สั้นอยูท อ่ี งคก รกําหนด
การวิเคราะหค วามเปน ไปไดข องแผน ในเรอ่ื งนีเ้ ปนการนําแผนตาง ๆ ท่ีไดจัดทําไวในบทกอนหนาน้ี

ไดแก แผนการพัฒนาการตลาด แผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก นํามาวิเคราะห
อีกคร้ังหนง่ึ เพอื่ ตรวจสอบความเปนไปไดก อ นที่จะเขยี นเปน โครงการ เชน แผนพฒั นาการผลิตในการปลูก
ผักเกษตรอินทรีย มีตรวจสอบความเปนไปไดจากการทําปุยหมัก มาเปนการปลูกปุยพืชสดแลวไถกลบ
เนอื่ งจากมีความเปนไปไดม ากกวา เพราะไมต องจดั หาวัสดทุ าํ ปยุ หมกั ท่ไี มมีในทองถ่ิน ทั้งยังตองเสียคาขนสง
ทาํ ใหตน ทุนสูงขึ้น

46

ใบงานท่ี 1
การวเิ คราะหความเปน ไปไดของแผน

คําส่ัง ใหผูเ รยี นวเิ คราะหแ ผนพัฒนาอาชีพทีป่ ระกอบการอยูหรอื อาชพี ท่ีสนใจ เพอ่ื ตรวจสอบความเปน ไปได
อีกคร้งั หนง่ึ กอ นนาํ ขอมูลมาเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหม ีความเขมแข็ง

1. แผนพัฒนาการตลาด สิ่งท่ตี อ งปรบั ปรงุ มดี งั นี้
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. แผนพฒั นาการผลติ /การบรกิ าร ส่ิงทตี่ อ งปรบั ปรุง มดี ังนี้
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
3. แผนการพัฒนาธรุ กิจเชิงรกุ สง่ิ ทตี่ องปรบั ปรงุ มดี งั นี้
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

47

ใบความรทู ่ี 2
การเขียนโครงการพัฒนาอาชพี ใหม คี วามเขมแขง็

โครงการ
เปน การสรปุ การดําเนนิ งานของการพฒั นาอาชพี เพอื่ ใชเ ปนแผนการปฏิบตั ิงานตรวจสอบโครงการ

ไดวาบรรลุจุดประสงคข องโครงการทีก่ าํ หนดไวห รือไม

ความหมายของโครงการ
หมายถึง แผนงานยอยท่ปี ระกอบดวยกิจกรรมหลายกิจกรรม หรือหลายงานท่ีระบุรายละเอียดชัดเจน

ดงั นัน้ การเขยี นโครงการขน้ึ มารองรบั แผนงาน ยอ มเปน สง่ิ สาํ คญั และจําเปน ย่ิง เพราะจะทาํ ใหง ายตอการปฏบิ ตั ิ
และงา ยตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลุผลสําเร็จ นั่นยอมหมายความวา แผนงานและ
นโยบายนัน้ บรรลุผลสาํ เร็จดว ย

ความสาํ คัญของโครงการ
1. ชว ยชี้ใหเ หน็ ถงึ ปญหา และภมู หิ ลงั ของการทํางาน
2. ชว ยใหป ฏบิ ัติงานตามแผนเปน ไปอยางมีประสทิ ธิภาพ
3. ชว ยใหแผนงานมคี วามชัดเจน โดยบคุ คลที่เกีย่ วขอ งมคี วามเขาใจและรบั รถู ึงปญหารว มกัน
4. ชวยใหแผนงานมีทรัพยากรใชอยางเพียงพอ เหมาะสมกบั สภาพปฏบิ ัติจริง เพราะมีรายละเอียด
การใชท รพั ยากรท่ีชดั เจน
5. ชว ยใหแ ผนงานมีความเปน ไปไดสูงเพราะมผี ูรบั ผดิ ชอบ และมีความเขา ใจในการดาํ เนนิ งาน
6. ชว ยลดความขดั แยงและขจัดความซาํ้ ซอนในหนาทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของหนวยงาน เพราะแตล ะ
หนวยงานมีโครงการที่ไดรับผิดชอบเปนการเฉพาะ เหมาะสมกับความรูความสามารถของ
บุคคลในหนวยงาน
7. สรางทัศนคตทิ ีด่ ีตอ บุคลากรในหนว ยงาน เปนการเสริมสรา งความสามคั คีและความรับผิดชอบ
รว มกัน ตามความรู ความสามารถ และศักยภาพของแตล ะบคุ คลอยางเตม็ ท่ี
8. สรางความมนั่ คงใหก ับแผนงานและสรา งความม่ันใจในการดาํ เนินงานใหก บั ผมู ีหนา ที่รับผดิ ชอบ
9. สามารถควบคุมการทํางานไดสะดวก ไมซ้ําซอน เพราะงานไดแยกออกเปนสวนตาง ๆ ตาม
ลักษณะเฉพาะของงาน

48

ลักษณะสาํ คญั ของโครงการ
การเขยี นโครงการ มีลักษณะการเขียนแตกตางไปจากการเขียนประเภทอ่ืน ๆ โครงการที่ดีควรมี

ลกั ษณะดงั ตอ ไปน้ี
1. ตอ งมีระบบ โครงการตอ งประกอบดว ยสว นตา ง ๆ ทม่ี ีความสัมพันธเ ก่ยี วขอ งเปนกระบวนการ
ถา สวนใดเปลยี่ นแปลงไป จะเกดิ การเปล่ียนแปลงในสว นอ่นื ๆ ตามไปดวย
2. ตองมีวัตถุประสงคชัดเจน โครงการตองกําหนดวัตถุประสงคสอดคลองกับความเปนมาของ
โครงการ มีความเปนไปไดชัดเจน และเปา หมายของโครงการตอ งประกอบดวยเชิงปริมาณและ
เชิงคณุ ภาพ
3. ตอ งเปนการดําเนนิ งานอนาคต เนื่องจากการปฏิบัติงานท่ีผานมามีขอบกพรอง และควรแกไข
ปรบั ปรงุ โครงการจึงเปน การดําเนนิ งานเพ่ืออนาคต
4. เปนการทาํ งานชัว่ คราว โครงการเปน การทํางานเฉพาะกจิ เปนคราว ๆ เพ่ือแกไขปรับปรุง และ
พัฒนา ไมใชก ารทาํ งานที่เปนการทํางานประจาํ หรืองานปกติ
5. มีการกําหนดระยะเวลาที่แนน อนโครงการตองกาํ หนดระยะเวลาทแ่ี นนอน โดยกําหนดเวลาเรมิ่ ตน
และเวลาท่สี ิ้นสดุ ใหช ดั เจน ถาไมกําหนดเวลาหรือปลอยใหดําเนินไปเรื่อย ๆ ยอมไมสามารถ
ประเมนิ ผลสําเรจ็ ได ซึ่งจะกลายเปน การดาํ เนินงานตามปกติ
6. มีลักษณะเปนงานที่เรงดวน โครงการตองเปนกิจกรรมที่จัดข้ึน เพื่อสนองนโยบายเรงดวนที่
ตอ งการจะพฒั นางานใหกาวหนา อยางรวดเรว็ ทันตอเหตกุ ารณ หรือเปนงานใหม
7. ตอ งมตี น ทนุ การผลิตตํ่า การดําเนินงานตามโครงการตองมีการใชทรัพยากรหรืองบประมาณ
ซง่ึ โครงการจะมีประสทิ ธภิ าพ ก็ตอ เมอ่ื มีการลงทุนนอยแตไ ดร ับประโยชนส ูงสดุ
8. เปนการริเริ่มหรือพัฒนางาน โครงการตองเปนความคิดริเร่ิมที่แปลกใหมเพื่อแกปญหาและ
อุปสรรค และพฒั นางานใหเจริญกา วหนา

ลักษณะของโครงการท่ดี ี
โครงการทด่ี ีน้นั ควรมลี ักษณะดงั ตอ ไปน้ี
1. สามารถแกปญหาขององคก รหรือหนวยงานน้นั ได
2. มีรายละเอียด วัตถปุ ระสงค และเปา หมายตาง ๆ ชัดเจน สามารถดาํ เนนิ งานได
3. รายละเอียดของโครงการตอเน่ืองสอดคลองสมั พันธกนั
4. ตอบสนองความตอ งการของกลมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ
5. ปฏิบตั แิ ลว สอดคลองกบั แผนงานหลักขององคกร
6. กาํ หนดข้ึนอยา งมีขอมูลความจริงและเปน ขอ มูลทีไ่ ดรับการวเิ คราะหอ ยางรอบคอบ
7. ไดร ับการสนบั สนนุ จากผูบริหารทุกดา น โดยเฉพาะดา นทรพั ยากรที่จําเปน
8. มรี ะยะเวลาในการดําเนินงานแนนอน ระบุวันเวลาเรม่ิ ตนและสิ้นสุด
9. สามารถติดตามประเมนิ ผลได

49

โครงสรา งของโครงการ
1. ชอื่ โครงการ
2. ชือ่ ผทู ี่ทาํ โครงการหรอื ช่อื กลุมที่รว มทําโครงการ
3. ชื่อทปี่ รกึ ษาโครงการ
4. หลกั การและเหตผุ ล โดยใหอ ธบิ ายถึงสาเหตุท่เี ลอื กทําโครงการและบอกประโยชน
ของโครงการท่มี ีตอการพฒั นาอาชพี
5. วัตถปุ ระสงคข องโครงการ ใหบอกจดุ ประสงคในการทาํ โครงการใหชดั เจนวาเมอ่ื ทํา
โครงการนแี้ ลว จะสามารถนาํ ความรทู ไี่ ดร ับไปประยุกตใ ชพรอมพฒั นาอาชพี ได
อยางไร
6. เปา หมาย ควรระบุเปาหมายใหชัดเจนวาจะเกิดอะไรข้นึ กบั ใคร
7. ขัน้ ตอนการดําเนนิ งาน ใหอธบิ ายถงึ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานอยา งละเอยี ดตง้ั แต
การศกึ ษาขอมูล ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านตามลาํ ดบั ขนั้ กําหนดระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิ
ทกุ ขน้ั ตอน การประเมินผลในแตล ะขัน้ ตอนเพื่อหาทางแกไ ข
8. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ กาํ หนดวนั เริ่มตน ทาํ งาน จนถึงวันทป่ี ฏบิ ัติงานเสร็จ
9. สถานทปี่ ฏบิ ตั ิงาน ใหร ะบุสถานท่ปี ฏบิ ตั งิ านใหชดั เจน
10. งบประมาณคา ใชจ า ย คาใชจ ายถา มีควรระบใุ หชัดเจน เชน คา วัสดอุ ุปกรณ คา จา ง
(บริการ) เชน คาถายเอกสาร และระบแุ หลง ทมี่ าของเงินคาใชจายดว ย
11. ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ ใหร ะบุวาเมือ่ ทาํ โครงการน้ีเสรจ็ เรยี บรอยแลว ผเู รียนคาดวาจะ
ไดร ับอะไร
12. ตัวชว้ี ัดผลสําเรจ็ ของโครงการ
- ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ หมายถงึ ตัวชว้ี ัดที่แสดงผลงานเปน รปู ธรรมในเชงิ ปริมาณและ
หรือคุณภาพอันเกดิ จากงานตามวัตถปุ ระสงคข องโครงการ
- ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ หมายถึง ตวั ชว้ี ดั ที่แสดงถงึ ผลประโยชนจ ากผลผลติ ที่มตี อ
บุคคล ชุมชน ส่งิ แวดลอ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม

50

ตัวอยาง โครงการพฒั นาอาชีพใหมีความเขมแขง็

1. ช่ือโครงการ
การปลกู พืชสมุนไพรปอ งกนั กําจดั ศตั รูพชื

2. ชอ่ื ผรู บั ผิดชอบโครงการ นายเดน ดวงดี

3. ชอื่ ทป่ี รกึ ษาโครงการ ผูใ หญบ านแดง มคี วามสามารถ

4. เหตุผลความจาํ เปน
อาชีพการเกษตรในปจจุบันมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองตลอดเวลาในการทําใหพืชปลอดสารเคมี

เนอื่ งจากสารเคมที ี่ใชจะกอ ใหเ กดิ มลภาวะเปน พิษ กระทบตอสภาพแวดลอ มและชวี ิตความเปน อยูของเกษตรกร
คือ เสี่ยงตอการเปนมะเร็งสูงมาก จนเกษตรกรผูใชเองกเ็ ร่ิมตระหนกั ถงึ ผลที่เกดิ ขนึ้ กบั สมาชิกในครอบครวั ที่
มสี ขุ ภาพเส่ือมโทรม รวมทั้งสงผลตอผลผลิตการเกษตรท่ีเปนสินคาสงออกไปตางประเทศ เนื่องจากสารพิษ
ตกคางท่ีมีเกินกวาคาความปลอดภัย นอกจากน้ีแลว สารเคมีทางการเกษตรที่สังเคราะหข้ึน ยังทําใหศัตรู
ธรรมชาตลิ ดนอยลง และประสทิ ธิภาพในการทาํ ลายแมลงศัตรูพชื ก็ลดลง เนือ่ งจากเกดิ การตานทานของโรค
และแมลงศตั รพู ืช และทําใหต องเสยี คา ใชจายสูงในการซื้อสารเคมี ดังนนั้ เพ่อื เปน การแกป ญหาท่ีเกดิ ข้ึนจาก
การใชส ารเคมที างการเกษตรชนดิ สังเคราะห จงึ ตอ งหาสิง่ ทดแทน คือ สารธรรมชาติจากพืชที่มีศักยภาพใน
การปองกนั กาํ จดั ศตั รูพืช ซึ่งมีคณุ สมบัติ ดงั นี้

4.1 เกษตรกรสามารถทาํ ใชเองได
4.2 สามารถสลายตวั ไดเร็ว ไมกอ ปญ หาสารพษิ ตกคางในพชื และสง่ิ แวดลอม
4.3 ไมเ กดิ ปญ หาสิ่งแวดลอ มเปนพิษ
4.4 ไมท ําใหโ รคและแมลงสรางความตานทานไดเ รว็ กวาสารสงั เคราะห เรอ่ื งการปลูกพชื สมุนไพร

ปอ งกนั กําจัดศตั รพู ืช เพอ่ื นําสารธรรมชาติจากพืชสมนุ ไพรชนิดตาง ๆ มาสกัดสารออกฤทธิ์ที่
สามารถใชปองกนั กําจดั ศัตรูพืช แทนการใชสารเคมสี งั เคราะห

5. วตั ถุประสงค

เพอื่ ใหการพัฒนาอาชีพมีความเขมแขง็ โดยการปลกู พชื สมนุ ไพรมาใชป อ งกันกําจดั ศตั รูพชื ทําใหผล
ผลิตเปน ท่ีตองการของลูกคาสูง

6. เปา หมาย

ปลูกพืชสมนุ ไพรปอ งกนั กําจดั ศตั รูพชื 1 ไร สาํ หรบั ใชก ับพชื ทป่ี ลกู 10 ไร

51

7. การดําเนนิ งาน
7.1 ประชมุ ประสานงานทกุ ฝายท่ีเกี่ยวขอ ง จดั ทาํ รา งโครงการ
7.2 ศกึ ษาดูงานผทู ่ีประสบความสําเร็จหรือหนวยงานตา ง ๆ ท่เี ก่ียวกับการสกดั สารธรรมชาติ
7.3 เปด เวทสี ัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรซู ่งึ กนั และกนั
7.4 ดําเนินการโดยใหแ ตละคนไปปฏิบตั ิจรงิ ยังแปลงของตนเอง
7.5 นาํ ผลการดําเนนิ งานมาสัมมนาแลกเปลยี่ นเรยี นรซู ่ึงกนั และกนั
7.6 แตล ะคนบันทกึ สรุปเปนความรูข องตนเองเพ่ือพัฒนาตอไป

8. ระยะเวลาดําเนินการ วันท่ี 1 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2554
ถงึ วนั ท่ี 30 เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2554

9. พน้ื ท่ีดาํ เนนิ การ
หอ งประชุม กศน.ตาํ บล............อาํ เภอ........จังหวดั ...

10. งบประมาณ 5,000 บาท เปน คาใชจ า ย ดังนี้
10.1 การไปศกึ ษาดงู าน 4,000 บาท
10.2 คา วัสดุฝกในการสาธติ 1,000 บาท

11. ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร บั
11.1 มกี ารพฒั นาพชื สมนุ ไพรสาํ หรับปอ งกันกําจดั ศตั รพู ืช
11.2 สามารถใชสารธรรมชาตจิ ากพืชสมุนไพร
11.3 ใชพชื สมนุ ไพรในการปอ งกนั และกําจดั ศตั รพู ืชไดถ กู ตอ ง

12. ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ
สามารถใชพ ืชสมนุ ไพรกําจัดศตั รพู ืชในพนื้ ที่ 10 ไร

52

การเขยี นแผนปฏบิ ัตกิ าร
เมื่อจัดทาํ โครงการพฒั นาอาชีพใหม ีความเขม แข็งเสรจ็ แลว เพอ่ื ใหนาํ สูการปฏบิ ตั ิไดค วรทาํ แผน

ดําเนนิ การลําดบั งานกอน หลัง ตามภารกจิ ของงานน้ัน ๆ เชน การพฒั นาอาชพี โดยการปลกู พืชสมนุ ไพรใช
ปอ งกนั กําจดั ศตั รพู ืชในแปลงปลกู พืช

ตัวอยาง แผนปฏิบตั กิ าร

ที่ กิจกรรมดําเนนิ งาน ระยะเวลาดาํ เนนิ การป 2554

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1 จัดเตรียมปจจยั การปลูกพชื

สมุนไพร เพือ่ นาํ มาใชพ ฒั นา

อาชพี

2 เตรยี มดิน

3 ปลูกพืชสมนุ ไพร

4 ดแู ลรกั ษาพชื สมนุ ไพร

5 การทยอยเกบ็ เก่ียว

6 สกดั สารจากพชื สมุนไพร

7 นําไปใชในแปลงปลูกพชื

ฯลฯ

53

ใบงานที่ 2
การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหเ ขม แขง็

คาํ สัง่ ใหผเู รียนเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพใหเขม แขง็ ในอาชพี ของทา นหรืออาชพี ท่สี นใจ จํานวน 1 โครงการ

1. โครงการพัฒนาอาชีพใหเขมแข็ง......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
2. แผนปฏบิ ตั ิการ.............................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

54

ใบความรทู ่ี 3
การตรวจสอบความเปน ไปไดข องโครงการพัฒนาอาชีพใหม ีความเขมแขง็

1. ตรวจสอบความถูกตอ งของโครงการโดยการเชค็ ขอ มูลรายการตาง ๆ ที่เก่ยี วขอ งกบั การนาํ มาใชเ ขียน
โครงการ เชน ตรวจสอบหลกั การและเหตผุ ลวาสอดคลองกบั ส่ิงทีจ่ ะตองทาํ หรือไม เปนเหตุเปน ผลกนั หรือไม
หรือเขียนโครงการมคี วามชดั เจน เปนรูปธรรมหรอื ไม ดังตวั อยา ง

ตวั อยา ง แบบรายงานการตรวจสอบโครงการ

ช่อื โครงการ...............................................................................................

รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ

มี ไมมี

1. หลกั การและเหตผุ ล

1.1 มีขอ มูลยืนยันชัดเจน

1.2 มคี วามเปนเหตุเปนผลนา เชื่อถอื

1.3 มีความสอดคลองกบั นโยบายของหนว ยงาน

2. วัตถุประสงคข องโครงการ

2.1 มคี วามชัดเจนเฉพาะเจาะจง

2.2 มีความเปนไปไดในการดาํ เนินการ

2.3 สามารถวดั และประเมินได

3. มเี ปา หมายทีช่ ดั เจน

4. วิธกี ารดาํ เนนิ การของโครงการ

4.1 สอดคลอ งกับวตั ถุประสงค

4.2 ความสมั พันธต อเนอ่ื งระหวา งกิจกรรม

4.3 วิธดี ําเนนิ งานชดั เจนและเขาใจงาย

4.4 กิจกรรมเปนไปตามทฤษฎีหรือหลกั การท่เี หมาะสม

4.5 ชว งเวลาในการดาํ เนินงานมคี วามเหมาะสม

5 มีแผนการดาํ เนนิ งานทีช่ ดั เจน

6. คาใชจ ายเหมาะสมกับโครงการ

7. มกี ารกําหนดตวั ช้ีวัด

8. มรี ะบบการตดิ ตามและประเมนิ ทชี่ ดั เจน

รายการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบ 55
มี ไมมี ขอเสนอแนะ
9. มีความสัมพันธต อเน่อื งกนั ระหวา งองคป ระกอบตาง ๆ ของ
โครงการ หลกั การและเหตุผล วัตถปุ ระสงค วธิ ีการดําเนนิ การ
ระยะเวลาและงบประมาณ
10. เปนประโยชนต อกลมุ เปา หมายอยา งชดั เจน
11. แกไ ขปญ หาไดอ ยางชัดเจน
12. โครงการมคี วามสัมพนั ธก ับกจิ กรรมอน่ื ๆ

2. ตรวจสอบความคมุ ทุน โดยตรวจสอบจากบัญชีรายรับ – รายจายท่ีทําไววาควรเปลี่ยนแปลงรายการใด
เชน นาํ เครอ่ื งจกั รมาใชแ ทนแรงงานคน จะทาํ ใหป ระหยัดกวา และใชระยะเวลานอ ย

ประโยชนของการตรวจสอบโครงการพฒั นาอาชพี
1. ชวยใหข อ มลู และสารสนเทศตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจเก่ียวกับการวางแผนงานและ

โครงการ ตรวจสอบความพรอมของทรัพยากรตาง ๆ ที่จําเปนในการดําเนินโครงการ ตลอดจนตรวจสอบ
ความเปนไปไดในการจดั กจิ กรรม

2. ชว ยทาํ ใหการกําหนดวตั ถปุ ระสงคข องโครงการมคี วามชัดเจน
3. ชวยในการจดั หาขอ มลู เกี่ยวกับความกาวหนา ปญหาและอุปสรรคของการดาํ เนนิ โครงการ
4. ชวยใหข อมลู เกี่ยวกับความสําเรจ็ และความลมเหลวของโครงการเพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ
และวนิ ิจฉัยวา จะดําเนินโครงการในชวงตอ ไปหรอื ไม จะยกเลกิ หรอื ขยายการดาํ เนินโครงการตอ ไป
5. ชวยใหไ ดข อ มลู ที่บง บอกถงึ ประสิทธิภาพของการดําเนินงานโครงการวาเปนอยางไร คุมคากับ
การลงทนุ หรอื ไม
6. เปนแรงจูงใจใหผูปฏิบัติการงานโครงการ เพราะการประเมินโครงการดวยตนเอง จะทําให
ผูปฏิบัติงานไดทราบผลการดําเนินงาน จุดเดน จุดดอย และนําขอมูลไปใชในการปรับปรุงและพัฒนา
โครงการใหม ปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้ึน

56

ใบความรทู ี่ 4
การปรบั ปรงุ โครงการพฒั นาอาชพี

การปรบั ปรุงโครงการ
เปน การปรบั ปรงุ โครงการพัฒนาอาชีพทีไ่ ดจัดทําไวแลว เพ่อื ใหไดโครงการท่ีมีความเปนไปได

ใหม ากทส่ี ุด การกํากับติดตามเปนกิจกรรมของผูบริหาร เพื่อหาคําตอบและตอบคําถามการใชทรัพยากรไดครบ
ตรงตามวัตถุประสงคหรือไม โครงการเปนไปตามแผนท่ีกําหนดไวหรือไม งบประมาณเพียงพอและเปน
ประโยชนตอประชาชนเพียงใด ซงึ่ ขอ มูลท่ีไดมาจะเปนประโยชนอยางย่ิงตอการปรับปรุงโครงการดําเนินไป
ตามเปา หมายแลวเสรจ็ ภายในเวลา

ประโยชนของการปรับปรงุ โครงการ
การปรบั ปรงุ โครงการเปน กิจกรรมทสี่ าํ คญั ท่ีสุดในวงจรการวางแผนและการบรหิ ารโครงการ

พอสรปุ ไดดังนี้
1. ชวยใหต ดั สนิ ใจการใชท รัพยากรที่จาํ เปนและความเปนไปไดของกิจกรรมตา ง ๆ
ในโครงการ
2. ชวยใหก ารกําหนดวตั ถุประสงคข องโครงการมีความชดั เจน
3. ชว ยใหไดข อมลู ความกาวหนา ปญ หา อุปสรรคของโครงการ
4. ชวยใหรขู อมลู ความสําเรจ็ หรือลมเหลวของโครงการเพ่ือนาํ ไปใชในการตัดสินใจ
5. ชว ยบง บอกประสทิ ธภิ าพของการดาํ เนนิ โครงการวามีคุณคากบั การลงทุนหรือไม

57

ใบงานที่ 3
การตรวจสอบและปรับปรุงโครงการพฒั นาอาชีพใหมีความเขม แขง็

ใหผเู รียนตรวจสอบและปรบั ปรงุ โครงการพัฒนาอาชพี ใหม คี วามเขมแข็งทไี่ ดจ ดั ทําไวแ ลว แลวบันทกึ ดงั น้ี

1. โครงการพัฒนาอาชพี ใหม ีความเขมแขง็ ของทานมวี ธิ ีการตรวจสอบอยางไร พบขอบกพรอ งอะไรบาง
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. โครงการพัฒนาอาชพี ใหม ีความเขม แข็งของทาน เมอ่ื พบขอบกพรอ งแลวปรบั ปรงุ อยางไร
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

58

คณะผูจ ดั ทํา

ท่ปี รกึ ษา

1. นายประเสริฐ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชัยยศ อ่มิ สุวรรณ

3. นายวัชรินทร จาํ ป รองเลขาธิการ กศน.

4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ทีป่ รึกษาดานการพัฒนาหลกั สูตร กศน.

5. นางรักขณา ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอํานวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผูเขยี นและเรยี บเรยี ง

นายอทุ ยั หนแู ดง ขาราชการบาํ นาญ

ผูบรรณาธิการ และพฒั นาปรับปรงุ

1. นายพิชิต แสงลอย ผอู าํ นวยการ กศน. อาํ เภอนครชัยศรี จังหวดั นครปฐม

2. นางดุษฎี ศรีวฒั นาโรทยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

3. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวเยาวรตั น คําตรง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

คณะทํางาน

1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลอื งจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

ผ้พู ฒั นาและปรับปรุงครังที (วนั ที - พฤศจกิ ายน )

1. นางอญั ชลี ธรรมะวิธกี ลุ

2. นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทยั

3. นายสุธี วรประดษิ ฐ
4. นางสาวกฤษณา โสภี

5. นายสภุ าพ เมืองนอ ย
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน

59

ผูพิมพต น ฉบบั กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวปย วดี คะเนสม กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวชาลนิ ี ธรรมธษิ า

60

คณะผปู รบั ปรงุ ขอมูลเกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560

ท่ปี รกึ ษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ ปฏบิ ัติหนาทรี่ องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ สขุ สุเดช ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. นางตรนี ชุ
กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอมูล
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวอนงค เชื้อนนท กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี

4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ

5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพูนท สงั ขพชิ ัย


Click to View FlipBook Version